ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคลและระหว่างบุคคล ( Individual Health Promotion Theories)
ความหมายของทฤษฎี ทฤษฎี หมายถึง ข้อความที่แสดงความคิดรวบยอด (Concepts) หรือข้อสันนิษฐานที่บ่งบอกปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างมีระบบโดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพื่ออธิบาย และคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น (Kerlinger:1973)
ทฤษฎี ประกอบด้วยชุดความคิดรวบยอดแบบนามธรรม (Abstract concept) และข้อความทั่วไปที่ช่วยอธิบายปรากฏการณ์ในโลกแห่งความเป็นจริง(Chafet:1978 อ้างใน ธวัชชัย วงพงศธร,2538:)
ทฤษฎี คือ ข้อความที่มีคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งอธิบายเหตุการณ์ต่างๆเพื่อตอบคำถามที่ว่า ทำไม้เหตุการณ์นั้นๆจึงเกิดขึ้น (Turner:1978 อ้างใน ธวัชชัย วงพงศธร,2538:)
จากคำจำกัดความข้างต้นนี้ สามารถแยกแยะความหมายของทฤษฎีได้ 3 อย่าง คือ ทฤษฎี คือ กลุ่มของข้อความหรือปัญหาที่จะต้องพิสูจน์หรือแสดงหรืออีกนัยหนึ่งก็คือสมมติฐาน 2. ทฤษฎี เริ่มทำให้มีความสัมพันธ์กันในระหว่างตัวแปร (แนวคิด) และเมื่อปฏิบัติแล้วแสดงให้เห็นอย่างเป็นระบบถึงปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น 3. ทฤษฎี อธิบายปรากฎการณ์ต่าง ๆ ทั้งนี้ทำได้โดยเจาะจงลงไปว่าตัวแปรอะไรสัมพันธ์กับตัวแปรอะไร
1. กรอบอ้างอิง (frame of reference) 2. ฐานคติ (assumptions) ทฤษฎีควรประกอบด้วยอย่างน้อย 4 องค์ประกอบ 1. กรอบอ้างอิง (frame of reference) 2. ฐานคติ (assumptions) 3. แนวคิด (concepts) 4. ข้อทฤษฎี (theoretical propositions)
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ(Maslow’s Hierarchical Theory of Motivation)
ทฤษฎีแรงจูงใจป้องกันโรค กล่าวว่า “การที่บุคคลใดจะมีการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคหรือไม่ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 4 อย่าง 1.การรับรู้อันตรายหรือความรุนแรงของโรคนั้น 2.การรับรู้ว่าตนเองเสี่ยงต่อการเป็นโรคนั้นหรือไม่ 3.ความคาดหวังในความสามารถของตนเองที่จะปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคนั้น 4.ความคาดหวังในผลของการปฏิบัติ
ทั้ง 4 องค์ประกอบจะร่วมกันสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้น ถ้ามีแรงจูงใจมากก็จะผลักดันให้บุคคลนั้นมีการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคเป็น
แนวคิดของสุขศึกษาแนวใหม่ สอดคล้องกับ lifestyles สิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ กระบวนการ จัด ปรับพฤติกรรม สุขภาพของตน เรียนรู้ เข้าใจ มั่นใจ จัดการกับตนเอง/ สิ่งแวดล้อม ตัดสินใจ ร่วมคิด/ทำ
ทำอย่างไร ให้คนเปลี่ยนแปลง ทำไมต้องทฤษฎี ? อยู่ดี มีสุข ทำอย่างไร ให้คนเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมสุขภาพ? EXPLAIN อย่างไร? ทำไม? เพราะ อะไร? ทฤษฎี CHANGE
ข้อควรคิดเมื่อจะใช้ทฤษฎี ทฤษฎีที่เหมาะ ต้องให้แนวคิด พฤติกรรม ปัญหาสุขภาพ เงื่อนไข/สภาพ แวดล้อม เป็นเหตุเป็นผล คงที่ ใช้ได้ผล มีงานวิจัย สนับสนุน หน่วยที่จะ เปลี่ยน กฎข้อ 1 คิดก่อน ขึ้นกับ ปัญหา/ ชนิด ของพฤติกรรม No one theory will be right in all cases
ทฤษฎีอะไรบ้าง Policy Media/Society-at-large Community Organization Inter-Personal Intra-Personal
ทฤษฎีมี 3 ระดับ นโยบายสาธารณะที่กำกับ สนับสนุน การมีสุขภาพดี Social network, norms,มาตรฐาน ระดับชุมชน สังคม กฎ, ระเบียบ, นโยบาย, ไม่เป็นทางการ กระบวนการระหว่างบุคคล จากครอบครัว เพื่อน support, social identity, role definition ระหว่างบุคคล คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ เจตคติ ความเชื่อ ฯลฯ ระดับบุคคล
การกระทำ ปัญญา (ความรู้ ความคิด ความรู้สึก) ทฤษฎีระดับบุคคล แนวคิด พื้นฐาน ทฤษฎีระหว่างบุคคล อิทธิพลของกระบวนการทาง ปัญญา สังคม สิ่งแวดล้อม มีบทบาทสำคัญ
ทฤษฎีที่ใช้ปรับเปลี่ยนระดับบุคคล ทักษะ ประสบการณ์ ความรู้ การรับรู้ ตนเอง ความเชื่อ แรงจูงใจ เจตคติ การรับรู้
ทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล 1. แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) 2. ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล ( Theory of Reasoned Action) 3. ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน ( Theory of Planned Behavior )
ทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล 4. ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stage of Change / Transtheoretical Theory) 5. การสร้างพลังอำนาจ ( Empowerment) 6. ทฤษฎีปัญญาสังคม ( Social Cognitive Theory )
ทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล 7. ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support)
ทำตามมีข้อดี > ข้อเสีย แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM) HBM ถ้าจะทำให้บุคคล ป้องกันโรค ปรับที่ความเชื่อ โอกาสเกิดโรค ความรุนแรง ฉันทำได้ ทำตามมีข้อดี > ข้อเสีย PMT การออกแบบสาร Fear arousal
การวิเคราะห์องค์ประกอบของทฤษฎี แนวคิด: บุคคลจะแสวงหาแนวทางเพื่อจะปฏิบัติตามคำแนะนำเพื่อการป้องกันและฟื้นฟูสภาพตราบเท่าที่การปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคนั้นเป็นสิ่งที่มีค่าเชิงบวกมากกว่าความยากลำบากที่จะเกิดขึ้น จากการปฏิบัติตามคำแนะนำดังกล่าวบุคคลจะต้องมีความรู้สึกกลัวต่อโรคหรือรู้สึกว่าโรคคุกคามตน และจะต้องมีความรู้สึกว่าตนเองมีพลังที่จะต่อต้านโรคได้
องค์ประกอบ 1. การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค (Perceived Susceptibility) 2. การรับรู้ความรุนแรงของโรค (Perceived Severity) 3. การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค (Perceived Benefits) 4. การรับรู้ต่ออุปสรรค (Perceived Barriers) 5.
5. สิ่งชักนำให้เกิดการปฏิบัติ (Cues to Action) 6. ปัจจัยร่วม (Modifying Factors) 7. แรงจูงใจด้านสุขภาพ (Health Motivation)
ความหมาย (Definition) แนวทางปฏิบัติ ( Application) เนื้อหา (Concepts) ความหมาย (Definition) แนวทางปฏิบัติ ( Application) การรับรู้โอกาสเสี่ยง (Perceived susceptibility) จะต้องมีโอกาสรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงต่อโรคนั้นๆ ศึกษาประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยง, ระดับความเสี่ยง: ความเสี่ยงของบุคคลโดยยึดตามฐานบุคลลลิกลักษณะหรือพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกในการรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค (Perceived Seriousness) จะต้องรับรู้ถึงความรุนแรงและผลที่ได้รับจากการเป็นโรคนั้นๆ ระบุผลของการเป็นโรคตลอดจนเงื่อนไขต่างๆที่จะได้รับจากการเป็นโรค การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ (Perceived Benefits) จะต้องรับรู้ถึงผลประโยชน์และประสิทธิผลในการปฏิบัติเพื่อป้องกันและรักษาเกี่ยวกับโรคนั้นๆ หาวิธีการปฏิบัติว่าควรทำอย่างไร ทำเมื่อไหร่ ทำที่ไหน และประสิทธิผลที่คาดว่าจะได้รับ การรับรู้ถึงอุปสรรค/ปัญหา (Perceived Barriers) จะต้องรับรู้อุปสรรคตลอดจนปัญหาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ วิเคราะห์ถึงปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะเกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขและลดการเกิดปัญหาตลอดจนวิธีการให้ความช่วยเหลือ แนวทางในการปฏิบัติ (Cues to Action) แนวทางในการปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรคจะขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงและความรุนแรงของโรค มีขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องชัดเจน เกี่ยวกับการป้องกันการรักษาตลอดจนการแก้ไขปัญหาต่างๆแก่ทุกคนที่เกี่ยวข้อง ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง (Self-Efficacy) ผู้ปฏิบัติมีความมั่นใจในการปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง มีการให้ความรู้ การฝึกอบรม การให้สุขศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการปฏิบัติดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตารางวิเคราะห์ทฤษฎีทางพฤติกรรม ทฤษฎี แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ประเด็น รายละเอียด กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้ แนวคิด ( Concept ) “การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรคจะต้องมีความเชื่อว่า เขามีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค, โรคนั้นมีความรุนแรงและมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต รวมทั้งการปฏิบัตินั้นจะเกิดผลดีในการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือช่วยลดความรุนแรงของโรค โดยไม่ควรมีอุปสรรคด้านจิตวิทยามาเกี่ยวข้อ ง เช่น ค่าใช้จ่าย ความไม่สะดวกสบาย ความเจ็บป่วยและความอาย เป็นต้น โปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพโดยการ ประยุกต์ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้าน สุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม องค์ประกอบ ( Construct ) 8 องค์ประกอบ การรับรู้โอกาสเสี่ยง (Perceived susceptibility) การให้ความรู้ คำแนะนำแบบมีส่วนร่วม สนทนา ซักถาม การรับรู้ความรุนแรงของโรค (Perceived Seriousness) การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ (Perceived Benefits) สาธิตและสาธิตย้อนกลับการออกกำลัง กาย นำเสนอตัวอย่างอาหารที่ถูกต้องและ เหมาะสม การรับรู้ถึงอุปสรรค/ปัญหา (Perceived Barriers)
กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้ ประเด็น รายละเอียด กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้ แรงจูงใจด้านสุขภาพ (Health motivation) -แจกเอกสารเกี่ยวกับความรู้ในการดูแลตนเอง -การร่วมกันกำหนดเป้าหมายในการ ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง -การเยี่ยมบ้านเพื่อกระตุ้นเตือนและให้ ความข้อมูล คำปรึกษา ปัจจัยร่วม (Modifying factors) -นำเสนอตัวอย่างอาหารที่ถูกต้องและ เหมาะสม พฤติกรรมเป้าหมาย 1. แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ 1.1 การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค ความดันโลหิตสูง 1.2 การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดัน โลหิตสูง 1.3 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติตัว เพื่อควบคุมโรคความดันโลหิตสูง 2. พฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อควบคุม โรคความดันโลหิตสูงในเรื่อง 2.1 การรับประทานอาหาร 2.2 การออกกำลังกาย 2.3 การผ่อนคลายความเครียด
ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล (Theory of Reasoned Action : TRA)
ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล (Theory of Reasoned Action : TRA) ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผลสร้างขึ้นโดยนักจิตวิทยาสังคมชื่อ Martin Fishbein และ Icek Ajzen (1975) แนวคิดของทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล เชื่อว่า “การที่มนุษย์ จะแสดงพฤติกรรมใดๆจะต้องมีความตั้งใจหรือเจตนาใช้เป็นระบบเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จจากการตัดสินใจกระทำพฤติกรรมของตน”
ความตั้งใจหรือเจตนาของมนุษย์ขึ้นกับตัวกำหนด 2 ประการ คือ (Ajzen and Fishbein. 1980 อ้างถึงใน สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ. 2538 : 32) 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เจตคติต่อพฤติกรรมหรือการประเมินทางบวกและทางลบของบุคคลต่อการกระทำ 2. ปัจจัยทางสังคม ได้แก่ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (ความคาดหวังทางสังคม) ส่วนตัวแปรภายนอกอื่นๆ เช่น ตัวแปรทางชีวสังคม ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ สถานภาพสมรส ศาสนา เจตคติต่อบุคคล เจตคติต่อสถานที่ ลักษณะ บุคลิกภาพ จะมีผลต่อพฤติกรรมก็เมื่อตัวแปรนั้นมีอิทธิพลต่อเจตคติต่อพฤติกรรม มีอิทธิพลต่อความคาดหวังทางสังคมหรือมีอิทธิพลต่อน้ำหนักความสัมพันธ์ของตัวแปร ทั้งสองนี้ขึ้นอยู่กับเจตคติพฤติกรรม
องค์ประกอบ 1. เจตคติต่อการกระทำพฤติกรรม (Attitude toward performing Behavior) 2. บรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง ( Subjective norm)
ข้อจำกัดของทฤษฎี (ธีระพร อุวรรณโณ. ม.ป.ป. : 2) 1. ในบางพฤติกรรมทฤษฎีนี้ใช้อธิบายไม่ได้ เช่น การระบายอารมณ์ทันทีทันใด หรือพฤติกรรมในการทำงานของคนที่มีทักษะอยู่แล้ว เช่น การขับรถ การเปิดหน้าหนังสือ 2. ในบางคนทฤษฎีนี้ใช้อธิบายไม่ได้ เช่น คนที่มีการตัดสินใจโดยกระบวนการที่แตกต่างไปจากแนวของทฤษฎีนี้ หรือคนที่แสดงพฤติกรรมโดยไม่ได้คิดไตร่ตรองเลย
3. การวัดการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงอาจจะยังไม่เป็นวิธีที่ดีที่สุด 4. อาจมีองค์ประกอบอย่างอื่นที่มีความสำคัญอีก แต่ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานเพียงพอจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ตัวแปรต่างๆ ในทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล
ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล (Theory of Reasoned Action : TRA) และทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (Theory of Planned Behavior : TPB TRA เจตคติ ต่อพฤติกรรม พฤติกรรม เจตนา การรับรู้ การควบคุม พฤติกรรม TPB อิทธิพลของ กลุ่มอ้างอิง
แบบจำลองการเปลี่ยนแปลง/ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง (Transtheoretical Model/Stages of Change) PRECONTEMPLATION ไม่สน / ไม่รับรู้ PREPARATION เอาล่ะ เริ่มละนะ ACTION ลองทำดูซิ relapse MAINTENANCE ทำจนเป็นชีวิต ประจำวัน CONTEMPLATIONเอ๊ะ
ทำอย่างไรให้คนเปลี่ยนแปลงระดับ PRECONTEMPLATION เพิ่มความตระหนัก โอกาสเสี่ยง/ รุนแรง ประเมินผลดี/เสีย CONTEMPLATION จูงใจ/แรงสนับสนุน เพิ่มความ มั่นใจ ฝึกทักษะ PREPARATION เพิ่มความชำนาญ ตั้งเป้าหมาย การควบคุมตน เสริมแรง ACTION ให้กำลังใจ/ชมเชย เพิ่มความ มั่นใจ เสริมแรง MAINTENANCE
ทฤษฎีระหว่างบุคคล สิ่งแวดล้อม 1.ทฤษฎีปัญญา สังคม 2.เครือข่ายสังคม 3.แรงสนับสนุน ทางสังคม สิ่งแวดล้อม
การเรียนรู้จากการสังเกต การรับรู้ความสามารถตน ทฤษฎีปัญญาสังคม (Social Cognitive Theory : SCT) การเรียนรู้จากการสังเกต P การรับรู้ความสามารถตน B E การกำกับตนเอง
SELF- EFFICACY OUTCOME EXPECTATIONS ACTION PLANS ACTION CONTROL RISK PERCEPTIONS GOALS INTENTIONS HEALTH ACTION BARRIERS
พัฒนาอย่างไร ประสบความสำเร็จด้วยตนเอง ใช้ตัวแบบ จูงใจด้วยคำพูด กระตุ้นทางอารมณ์
เครือข่ายทางสังคม/แรงสนับสนุนทางสังคม (Social Networks/Social Supports) สนับสนุนด้าน ข้อมูล อารมณ์ วัตถุ HEALTH ACTION
การเสริมสร้างพลัง (Empowerment)
ทฤษฎีระดับชุมชน การสร้างพลัง อำนาจ สร้างความตระหนัก การมีส่วนร่วม ผ่านผู้นำ ทางความคิด ใช้นโยบาย
Ecological Model Policy ใช้การปรับบุคคล และสิ่งแวดล้อม เน้นนโยบายสาธารณะ Media/Society-at-large Community Organization Inter-Personal Intra- Personal
บทสรุป ประโยชน์ของทฤษฎี ผ่านการทดสอบ สอดคล้องกับปัญหา สาเหตุ เลือกใช้ ประโยชน์ของทฤษฎี สอดคล้องกับปัญหา สาเหตุ สอดคล้องกับหน่วย ที่จะศึกษา ทดลองใช้
แนวทางการนำ ทฤษฎีสู่การประยุกต์ ใช้กระบวน การเรียนรู้ งานวิจัย สนับสนุน ปัจจัยภายใน แนวทางการนำ ทฤษฎีสู่การประยุกต์ ใช้ Positive consequences สิ่งแวดล้อม ใช้การ ลงมือทำ ความสัมพันธ์ ทางสังคม Norms Active responders
ขอบคุณค่ะ