ง 33101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 1. การดำรงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2. การออกแบบและเทคโนโลยี
วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นในรูปของกระบวนการ หรือรูปแบบของเครื่องมือ ก่อนการได้เทคโนโลยีจะต้องผ่าน “ระบบเทคโนโลยี” ก่อนเสมอ
หน่วยที่ 2.2 ระบบเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Technological Process) กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) ตัวป้อน (Input) ผลลัพธ์/ผลิตภัณฑ์ (Output) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวางต่อระบบเทคโนโลยี (Consideration) ระบบที่ประกอบด้วยกระบวนการทำงานร่วมกันขององค์ประกอบทางเทคโนโลยี ซึ่งองค์ประกอบของเทคโนโลยีแต่ละส่วนจะทำงานสอดคล้องกัน
Bacteria Gram + => E. coli หน่วยที่ 2.2 ตัวป้อน (Input) ความต้องการด้านต่างๆของมนุษย์/ ปัญหาของมนุษย์ที่ต้องการการแก้ไขเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข ตัวป้อนของกล้องจุลทรรศน์ ต้องการเครื่องมือที่สามารถใช้ศึกษาโครงสร้างและรายละเอียดต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า Bacteria Gram + => E. coli Bacteria Gram - => S. typhi
กระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 กระบวนการทางเทคโนโลยี การกำหนดปัญหาหรือความต้องการ การเลือกวิธีการแก้ปัญหา การรวบรวมข้อมูล การปรับปรุงแก้ไข และพัฒนา การออกแบบและปฏิบัติ การทดสอบ การประเมินผล
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 ทรัพยากรทางเทคโนโลยี 1. คน >>> ความรู้เฉพาะด้าน เช่น พันธุวิศวกรรม 2. ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ >>> รายงานวิชาการ มี Impact factor สูง 3. วัสดุ >>> ธรรมชาติ , มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น 4. เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ 5. พลังงาน 6. ทุน/ ทรัพย์สิน 7. เวลา
ศาสนา, กฎหมาย , ความเชื่อ, วัฒนธรรมท้องถิ่น, ทุน และข้อจำกัดทางเวลา หน่วยที่ 2.2 ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวางต่อเทคโนโลยี ศาสนา, กฎหมาย , ความเชื่อ, วัฒนธรรมท้องถิ่น, ทุน และข้อจำกัดทางเวลา
หน่วยที่ 2.2 ศาสนา และ วิทยาศาสตร์
ผลผลิตของระบบเทคโนโลยี หน่วยที่ 2.2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ สิ่งที่ได้จากการทำงานร่วมกันขององค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีโดยอยู่ในรูปของสิ่งของ หรือวิธีการ ผลผลิตของระบบเทคโนโลยี เทคโนโลยีการแพทย์ เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีอวกาศ
กระบวนการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หน่วยที่ 2.2 ตัวอย่างระบบเทคโนโลยี Materials Input ต้องการอุปกรณ์ช่วยในการเกษตร กระบวนการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Consideration ปัจจัยขัดขวาง : ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ปัจจัยเอื้อ : ทรัพยากรการผลิตพร้อม
หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบทางเทคโนโลยี มลพิษ (Pollution) สาร วัตถุ หรือสิ่งต่างๆ ที่ทำให้สภาพแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ อากาศ น้ำ ดิน เกิดความเสื่อมโทรม มีสภาพเปลี่ยนแปลงจนไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบทางเทคโนโลยี มลพิษ (Pollution) มลพิษทางอากาศ มลพิศทางเสียง มลพิษทางน้ำ ปรากฎการณ์เรือนกระจก
หน่วยที่ 2.2 มลพิษทางอากาศ Japan smog เกิดในเมืองใหญ่ที่มีความเจริญด้านเทคโนโลยีสูง ประชากรหนาแน่น การจราจรคับคั่ง สารตะกั่วจากการเผาไม้ไม่สมบูรณ์ของรถยนต์ ทำให้เกิดการปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน คอแห้ง เกิดการสะสมในร่างกาย อาจทำให้หมดสติและตายได้
หน่วยที่ 2.2 พิษจากสารตะกั่ว เหงือกบวม มีสีคล้ำ กล้ามเนื้อเป็นตะคริว Wrist-drop in adult with lead poisoning and renal failure การสะสมของตะกั่วตามข้อ ก่อเกิดอาการปวดตามข้อ
หน่วยที่ 2.2 มลพิษทางเสียง dB – การวัดระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง dBA – การวัดระดับความดังเสียงโดยหูของมนุษย์ซึ่งจะรับความดังของเสียงได้น้อยกว่าความเป็นจริง ซึ่งกำหนดว่า - กลางวัน ไม่เกิน 55 dBA - กลางคืน ไม่เกิน 45 dBA
หน่วยที่ 2.2 มลพิษทางน้ำ DO – ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำเพื่อให้สิ่งมีชีวิตใช้ในกระบวนการหายใจ ปกติ ต้องมี 8 มิลลิกรัม/ลิตร ที่ 30 องศาเซลเซียส BOD – ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายภายใต้สภาวะที่มีออกซิเจน ปกติ ในเวลา 5 วัน ไม่ควรเกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร
หน่วยที่ 2.2 ปรากฎการณ์เรือนกระจก
ผลกระทบของ Greenhouse Effect หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบของ Greenhouse Effect ด้านระบบนิเวศ - การละลายของน้ำแข็งที่ขั้วโลก
ผลกระทบของ Greenhouse Effect หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบของ Greenhouse Effect ด้านระบบนิเวศ – ปะการังฟอกขาว เพราะ สูญเสียการอยู่ร่วมแบบ symbiosis กับ สาหร่ายบางชนิด
ผลกระทบของ Greenhouse Effect หน่วยที่ 2.2 ผลกระทบของ Greenhouse Effect ด้านเศรษฐกิจ
หน่วยที่ 2.2 การแก้ไขปัญหา Can we save our homeland? 1. ลดอัตราการเผาไม้ของเชื้อเพลิง 2. ลดปริมาณก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก 3. การยอมรับในสภาพที่เกิดขึ้นและปรับตัว Can we save our homeland?