นางสาวลิลิน ทรงผาสุก ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 นางสาวลิลิน ทรงผาสุก ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 สาระสำคัญ องค์ประกอบของการประเมิน ระยะเวลาการประเมิน คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 5/2559 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ รอบที่ 1 (รายงาน 2-12 เม.ย. 61) 1) Function Base ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 รอบ 6 เดือน 2) Agenda Base ให้มีการประเมินส่วนราชการและข้าราชการพลเรือนในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร รอบที่ 2 (รายงาน 1-12 ต.ค. 61) ตั้งแต่1 เม.ย. 61 ถึงวันที่ 30 ก.ย. 61 3) Area Base รอบ 12 เดือน ผู้รับการประเมิน : ส่วนราชการระดับกรมและกระทรวง/ข้าราชการพลเรือนประเภทบริหารระดับสูง ผู้ประเมิน : 1) นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ หรือรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง 3) เลขาธิการ ก.พ.ร. (กรณีประเมินส่วนราชการ) / และเลขาธิการ ก.พ. (กรณีประเมินข้าราชการ) 4) Innovation Base สรุปผลการประเมิน จากสำนักงาน ก.พ.ร. 5) Potential Base รอบแรก แนวทางการประเมิน 1. แต่ละองค์ประกอบ ประเมินใน 3 ระดับ คือ ระดับต่ำกว่าเป้าหมาย ระดับเป็นตามเป้าหมาย และระดับสูงกว่าเป้าหมาย 2. สรุปภาพรวมการประเมินในแต่ละองค์ประกอบ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับต้องปรับปรุง ระดับมาตรฐาน และระดับคุณภาพ รอบสอง ให้มีกรอบอัตรากำลังชั่วคราวเป็นกรณีพิเศษในสำนักงาน ก.พ. จำนวน 50 อัตรา
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ การประเมินส่วนราชการตามคำสั่ง คสช.ที่ 5/2559 การประเมินข้าราชการพลเรือนในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารตามคำสั่ง คสช.ที่ 5/2559 การประเมินผลลผู้บริหารองค์การ ตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี (นร0405/00746)
คณะกรรมการพิจารณาตัวชี้วัดของกระทรวงศึกษาธิการ รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ รศ.ดร.นพ.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ ศ.ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ดร.สีลาภรณ์ บัวสาย นายมนูญ สรรค์คุณากร ผู้แทนสำนักงาน ก.พ.ร. ผู้แทนสภาพัฒนฯ ผู้แทนสำนักงบประมาณ
การรายงานการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ( ) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 ( ) ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 องค์ประกอบที่ 1 Function Base องค์ประกอบที่ 2 Agenda Base องค์ประกอบที่ 3 Area Base องค์ประกอบที่ 4 Innovation Base องค์ประกอบที่ 5 Potential Base 1.1 ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ (3-5ปี/6-11ปี/12-14ปี/15-17ปี) [สนผ.] 4.1 การพัฒนานวัตกรรม (ตัวชี้วัดบังคับ) [สทร.] 5.1 การจัดทำและดำเนินการตามแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (ตัวชี้วัดบังคับ) [หลายสำนัก] 2.1 การสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน(ตัวชี้วัดบังคับ) 2.1.1 ร้อยละการดำเนินการตามแผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน 2.1.2 ร้อยละการชี้แจงประเด็นสำคัญที่ทันต่อสถานการณ์ (ถ้ามี) [สอ.] 1.2 ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทยจากรายงาน (IMD 2018) 1.2.1 อันดับตามรายงานด้านการศึกษา (Education) 1.2.2 อันดับตามรายงานด้านที่เกี่ยวข้องกับบทบาทภารกิจของส่วนราชการ สพฐ. ไม่ต้องดำเนินการ 4.2 การพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (ตัวชี้วัดบังคับ) [หลายสำนัก] 5.2 การดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ (ตัวชี้วัดบังคับ) [กพร.] การยกระดับภาษาอังกฤษ (Boot camp) [ศนฐ.] 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-NET [สทศ.] 1.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการพัฒนาครูรูปแบบใหม่ [สพค.] ไม่เกิน 6 ตัวชี้วัด ไม่เกิน - ตัวชี้วัด ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด
KRS ARS ระบบ KRS / ARS / AMSS / AMSS++ / SMSS AMSS SMSS AMSS++ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โปรแกรมสนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษา ระบบรายงานผลตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ระบบรายงานผลตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (ม.44) KRS (KPI Report System) ARS (Actin plan Report System) AMSS (Area Management Support System) AMSS++ SMSS (School Management Support ย้ายภารกิจกับ สตผ. (e-mes) พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
หลักทางการประเมินส่วนราชการ ตัวอย่างการประเมินส่วนราชการ แนวทางการประเมินตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ 2561 หลักทางการประเมินส่วนราชการ ตัวอย่างการประเมินส่วนราชการ เปรียบเทียบจำนวนตัวชี้วัดที่สามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายต่อตัวชี้วัดทั้งหมดในแต่ละองค์ประกอบ ในแต่องค์ประกอบจะได้ระดับผล ประเมินในระดับ “เป็นไปตาม เป้าหมาย” ต่อเมื่อ ผ่าน 1 ตัวชี้วัดจาก 2 ตัวชี้วัด (50%) ผ่าน 2 ตัวชี้วัดจาก 3 ตัวชี้วัด (67%) ผ่าน 2 ตัวชี้วัดจาก 4 ตัวชี้วัด (50%) ผ่าน 3 ตัวชี้วัดจาก 5 ตัวชี้วัด (60%) กำหนดค่าเป้าหมายแต่ละ องค์ประกอบ จากร้อยละตัวชี้วัดที่ ดำเนินการบรรลุเป้าหมายต่อ ตัวชี้วัดทั้งหมด ดังนี้ ต่ำกว่าเป้าหมาย ต่ำกว่า 50% เป็นไปตามเป้าหมาย ระหว่าง 50-67% สูงกว่าเป้าหมาย สูงกว่า 67% 4. กำหนดให้ทุกตัวน้ำหนักเท่ากัน เพราะถือว่าต่างเป็น core functions ที่ต้องมีความสำคัญเท่า ๆ กัน กรม X องค์ประกอบที่ 1: Functional Based ประเด็นการประเมิน เป้าหมาย ผลดำเนินงาน ผ่าน ไม่ผ่าน ตัวชี้วัด ก เพิ่มขึ้น 10% เพิ่มขึ้น 12% ตัวชี้วัด ข 50,000 49,999 ตัวชี้วัด ค ลดลง 5% ลดลง 4% ตัวชี้วัด ง 100 ตัวชี้วัด จ ผ่าน 3 ตัวชี้วัดจาก 5 ตัวชี้วัด องค์ประกอบการประเมิน ผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน ต่ำกว่าเป้าหมาย (<50%) เป็นไปตามเป้าหมาย (50-67%) สูงกว่าเป้าหมาย (>67%) 1. Functional Based ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน ระดับต้องปรับปรุงด้าน..... 2. Agenda Based 3. Area Based 4. Innovation Based 5. Potential Based
แนวทางการประเมินส่วนราชการ และจังหวัด ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ 2561 ระดับการประเมิน สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน ระดับต้องปรับปรุง เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย ทุกองค์ประกอบที่ประเมิน 1 เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายไม่ครบทุกองค์ประกอบที่ประเมิน แต่ไม่มีองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งได้รับการประเมินในระดับต่ำกว่าเป้าหมาย ส่วนราชการ/จังหวัด (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที่ 5 เมษายน 2559) เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมายในองค์ประกอบในองค์ประกอบหนึ่ง (แม้ว่าจะได้รับการประเมินในองค์ประกอบอื่นในระดับเป็นไปตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมาย) 2 องค์ประกอบ สูงกว่าเป้าหมาย เป็นไปตามเป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมาย มีผลคะแนนสูงกว่าร้อยละ 67 มีผลคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ 50 - 67 มีผลคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 50 Functional Based Agenda Based Area Based Innovation Based Potential Based 3 ผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย หรือ สูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผ่าน ตัวชี้วัด ไม่ผ่าน ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ การประกาศผล การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ของ สพท. ปิดระบบรายงานผลรอบ 12 เดือน ระดับคุณภาพ เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย ทุกองค์ประกอบที่ประเมิน สรุปผลการประเมินส่วนราชการฯ ของ สพท. จากระบบ KRS ระดับมาตรฐาน เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายไม่ครบทุกองค์ประกอบที่ประเมิน แต่ไม่มีองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งได้รับการประเมินในระดับต่ำกว่าเป้าหมาย เสนอ คกก./คณะทำงานพิจารณาพิจารณาผลการประเมินส่วนราชการฯ ระดับต้องปรับปรุง เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมายในองค์ประกอบในองค์ประกอบหนึ่ง (แม้ว่าจะได้รับการประเมินในองค์ประกอบอื่นในระดับเป็นไปตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมาย) เสนอเลขาธิการ กพฐ. ลงนามในประกาศ สพฐ. ประกาศ สพฐ. และแจ้งเวียนทุกหน่วยงาน **การประกาศผลการประเมินส่วนราชการ มิได้นำผลที่เป็นค่าคะแนนมาใช้ประกาศเป็นหลัก ดังนั้น ค่าคะแนนจึงไม่ได้เป็นผลลัพธ์สำคัญสำหรับประเมินส่วนราชการฯ ของ สพท. แต่การกำหนดค่าคะแนนเป็นเพียงการดำเนินการคู่ขนานเพื่อพิจารณารายละเอียดสำหรับการปรับปรุงพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป
ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ของ สพท. สพท. ระดับคุณภาพ (เขต) ระดับมาตรฐาน ระดับปรับปรุง สพป. 66 117 สพม. 30 12 รวม 96 129 สพท. ระดับคุณภาพ (%) ระดับมาตรฐาน ระดับปรับปรุง สพป. 36.06 63.93 สพม. 71.42 28.57 รวม 42.66 57.33
PSDG OBEC