งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2

3 1) Function Based 2) Agenda Based 3) Area Based 4) Innovation Based
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 สาระสำคัญ องค์ประกอบของการประเมิน ระยะเวลาการประเมิน คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 5/2559 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ รอบแรก 1) Function Based ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 2) Agenda Based ให้มีการประเมินส่วนราชการและข้าราชการพลเรือนในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร รอบสอง ตั้งแต่1 มีนาคม 2560 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 3) Area Based ผู้รับการประเมิน : ส่วนราชการระดับกรมและกระทรวง/ข้าราชการพลเรือนประเภทบริหารระดับสูง ผู้ประเมิน : 1) นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ หรือรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง 3) เลขาธิการ ก.พ.ร. (กรณีประเมินส่วนราชการ) / และเลขาธิการ ก.พ. (กรณีประเมินข้าราชการ) 4) Innovation Based สรุปผลการประเมิน จากสำนักงาน ก.พ.ร. 5) Potential Based รอบแรก แนวทางการประเมิน 1. แต่ละองค์ประกอบ ประเมินใน 3 ระดับ คือ ระดับต่ำกว่าเป้าหมาย ระดับเป็นตามเป้าหมาย และระดับสูงกว่าเป้าหมาย 2. สรุปภาพรวมการประเมินในแต่ละองค์ประกอบ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับต้องปรับปรุง ระดับมาตรฐาน และระดับคุณภาพ รอบสอง ให้มีกรอบอัตรากำลังชั่วคราวเป็นกรณีพิเศษในสำนักงาน ก.พ. จำนวน 50 อัตรา

4  คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ที่มา: คณะกรรมการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ได้มีข้อสังเกตในเรื่องการกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด แผนบูรณาการ และเป้าหมาย ตัวชี้วัดการให้บริการกระทรวง หน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ เพื่อให้ตัวชี้วัดในแต่ละระดับสามารถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ ประโยชน์ต่อประชาชน และเชื่อมโยงสู่เป้าหมายระดับชาติ สามารถนำมาติดตามประเมินผลการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ได้เห็นชอบกับรายงานสรุปผลการทบทวน การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และตัวชี้วัดความสำเร็จของกระทรวง/หน่วยงาน และแผนงานบูรณาการ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ชาติ/แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ นโยบายรัฐบาล คำสั่ง/ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี ยุทธศาสตร์กระทรวง/ภารกิจ/เป้าประสงค์ จุดมุ่งเน้น (Positioning) ยุทธศาสตร์จัดสรร ปี 60 10 ยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการน้ำและสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ คำรับรองการปฏิบัติราชการ แบบประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44) 25 แผนบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ การบูรณาการตัวชี้วัดของหน่วยงานกลางตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนฯ 12

5

6

7 องค์ประกอบการประเมิน
กรอบการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สพฐ. องค์ประกอบการประเมิน ประเด็นการประเมิน องค์ประกอบที่ 1 ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามภารกิจหลักพื้นฐาน งานประจำงานตามหน้าที่ปกติ หรองานตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก งานตามกฎหมาย กฎ นโยบายของรัฐบาล หรือมติคณะรัฐมนตรี (Functional base) 1.1 ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ (3-5 ปี/6-11 ปี/ 12-14 ปี/15-17 ปี) 1.2 ขีดความสามรถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศ ไทยจากรายงาน (IMD 2017) 1.2.1 อันดับตามรายงานด้านการศึกษา (Education) 1.2.2 อันดับตามรายงานด้านที่เกี่ยวข้องกับบทบาท ภารกิจของส่วนราชการ 1.2.3 ระดับความสำเร็จของโครงการปรับปรุงและพัฒนา แนวทางการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการ ประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA) 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-Net 14 ระดับความสำเร็จในการประเมินคุณภาพสถานศึกษา 1.5 ระดับความสำเร็จของพัฒนาครู

8 องค์ประกอบการประเมิน
กรอบการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สพฐ. องค์ประกอบการประเมิน ประเด็นการประเมิน องค์ประกอบที่ 2 ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิรูปภาครัฐ นโยบายเร่งด่วน หรือภารกิจที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda base) 2.1 การสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน 2.1.1 ร้อยละการดำเนินการตามแผนการ สร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ ประชาชน 2.1.2 ร้อยละการชี้แจงประเด็นสำคัญที่ทัน ต่อสถานการณ์ 2.2 ระดับความสำเร็จในการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของสถานศึกษา 2.3 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการแก้ไขปัญหา โรงเรียนในโครงการ ICU

9 องค์ประกอบการประเมิน
กรอบการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สพฐ. องค์ประกอบการประเมิน ประเด็นการประเมิน องค์ประกอบที่ 3 ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจพื้นที่/ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด หรือการบูรณาการการดำเนินงานหลายพื้นที่หรือหลายหน่วยงาน (Area base) ไม่มีตัวชี้วัดในองค์ประกอบนี้ องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ (Innovation Base) 4.1 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบประมาณ 4.2 โครงการพัฒนาระบบบัญชีการศึกษาขั้น พื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์ประกอบที่ 5 ศักยภาพในการเป็นส่วนราชการที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ นโยบายของรัฐบาล (Potential base) 5.1 การจัดทำและดำเนินการตามแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ

10 องค์ประกอบที่ 1 ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามภารกิจหลักพื้นฐาน งานประจำงานตามหน้าที่ปกติ หรองานตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก งานตามกฎหมาย กฎ นโยบายของรัฐบาล หรือมติคณะรัฐมนตรี (Functional base)

11 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ (3-5 ปี / 6-11 ปี / 12-14 ปี / 15-17 ปี)
เป้าหมายปี ร้อยละผู้เรียนระดับปฐมวัย (3-5 ปี) % ร้อยละผู้เรียนระดับประถมศึกษา (6-11 ปี) % ร้อยละผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น % (12-14 ปี) ร้อยละผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย % (15-17 ปี) (มัธยมปลาย/ปวช.)

12 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ (3-5 ปี / 6-11 ปี / 12-14 ปี / 15-17 ปี)
เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 เป้าหมายรวมทั้งปี 1. สรุปผลร้อยละการเข้าเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา 2559 2. แผนการดำเนินงานด้านการขยายโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในปีงบประมาณ 2560 1. ดำเนินการตามแผนได้ร้อยละ 100 2. สรุปผลร้อยละการเข้าเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา 1/2560 ถึงสิ้นเดือน ก.ค. 60 โดยจำแนกนักเรียนไทยและที่ไม่ใช่นักเรียนไทยให้ชัดเจน 2. สรุปผลร้อยละการเข้าเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา 1/2560 ถึงสิ้นเดือน ก.ย. 60 โดยจำแนกนักเรียนไทยและที่ไม่ใช่นักเรียนไทยให้ชัดเจน

13 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ (3-5 ปี / 6-11 ปี / 12-14 ปี / 15-17 ปี)
เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน มีผู้เข้าเรียนระดับปฐมวัย (3-5 ปี) เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 74.24 มีผู้เข้าเรียนระดับปฐมวัย (3-5 ปี) น้อยกว่าร้อยละ 74.24 มีผู้เข้าเรียนระดับประถมศึกษา (6-11 ปี) ร้อยละ 100 มีผู้เข้าเรียนระดับประถมศึกษา (6-11 ปี) น้อยกว่าร้อยละ 100 มีผู้เข้าเรียนระระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (12-14 ปี) เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 95.08 มีผู้เข้าเรียนระระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (12-14 ปี) น้อยกว่าร้อยละ 95.08 มีผู้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (15-17 ปี) (มัธยมปลาย/ปวช.) เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 72.02 มีผู้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (15-17 ปี) (มัธยมปลาย/ปวช.) น้อยกว่าร้อยละ 72.02

14 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ (3-5 ปี / 6-11 ปี / 12-14 ปี / 15-17 ปี)
แนวทางการดำเนินการ ให้สถานศึกษารายงานข้อมูลพื้นฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2559 ตามระบบ DMC ผ่านเว็บไซต์ ระบบออนไลน์ 24 ชั่วโมง ดังนี้ รอบที่ 1 ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน รายงาน ภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2560 รอบที่ 2 ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 รายงาน ภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 รอบที่ 3 ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 รายงาน ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2561

15 ตัวชี้วัดที่ 1.2 ขีดความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการศึกษาของประเทศจากรายงาน (IMD 2017) ตัวชี้วัดที่ อันดับตามรายงานด้านการศึกษา (Education) ตัวชี้วัดที่ อันดับตามรายงานด้านที่เกี่ยวข้องกับบทบาทภารกิจของส่วนราชการ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของโครงการปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA)

16 สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้
ตัวชี้วัดที่ อันดับตามรายงาน ด้านการศึกษา (Education เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้ การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 - ดีขึ้น 2 อันดับ จากปี 2559

17 สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้
ตัวชี้วัดที่ อันดับตามรายงานด้านที่ เกี่ยวข้องกับบทบาทภารกิจของส่วนราชการ เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้ การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 - ดีขึ้น 2 อันดับ จากปี 2559

18 ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 ระดับความสำเร็จของโครงการปรับปรุง
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของโครงการปรับปรุง และพัฒนาแนวทางการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA) เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมิน รอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 1. โรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย 3,531 โรงเรียน (50 % ของ 7,063 โรงเรียน) กรอกข้อมูลเพื่อนำมาใช้ประเมินศักยภาพความพร้อมในการช่วยเหลือเสร็จ 1. โรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย (7,063 โรงเรียน) กรอกข้อมูลครบร้อยละ 100 2. ติดตามผลการใช้สื่อการเรียนการสอนแบบ PISA ของโรงเรียนนำร่อง ครบ 20 โรงเรียน 3. นำผลการวิเคราะห์จากการติดตามผลฯ มาปรับปรุงการเรียนการสอนใหม่ และปรับปรุงสื่อ จำนวน 15 คู่มือ และเผยแพร่สื่อไปยังโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ

19 เกณฑ์การให้คะแนน : ผ่าน ไม่ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของโครงการปรับปรุง และพัฒนาแนวทางการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA) เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรอกข้อมูลเพื่อนำมาใช้ประเมินศักยภาพความพร้อมในการช่วยเหลือได้ครบถ้วน โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรอกข้อมูลเพื่อนำมาใช้ประเมินศักยภาพความพร้อมในการช่วยเหลือไม่ครบ

20 ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 ระดับความสำเร็จของโครงการปรับปรุง
และพัฒนาแนวทางการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA) จำนวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรอกข้อมูลเพื่อนำมาใช้ประเมินศักยภาพความพร้อมในการช่วยเหลือของแต่ละ สพป./สพม. ตามคู่มือหน้า

21 ตัวชี้วัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เป้าหมายปี 60 ตัวชี้วัด หน่วยวัด ค่าเป้าหมาย สพฐ. สพท. ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาษาไทย ร้อยละ 50.81 51.88 ภาษาอังกฤษ 41.52 31.11 คณิตศาสตร์ 44.77 38.76 วิทยาศาสตร์ 43.87 40.27 สังคมศาสตร์ 50.66 45.08

22 ตัวชี้วัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เป้าหมายปี 60 ตัวชี้วัด หน่วยวัด ค่าเป้าหมาย สพฐ. สพท. มัธยมศึกษาปีที่ 3  ภาษาไทย ร้อยละ 43.92 46.81 ภาษาอังกฤษ 31.46 31.39 คณิตศาสตร์ 33.37 29.53 วิทยาศาสตร์ 38.76 35.12 สังคมศาสตร์ 47.63 47.36

23 ตัวชี้วัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เป้าหมายปี 60 ตัวชี้วัด หน่วยวัด ค่าเป้าหมาย สพฐ. สพท. มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาษาไทย ร้อยละ 50.84 50.09 ภาษาอังกฤษ 25.73 27.35 คณิตศาสตร์ 27.39 24.90 วิทยาศาสตร์ 34.40 31.77 สังคมศาสตร์ 40.90 36.17

24 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จากคะแนนค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ในปีการศึกษาปี 2559
ตัวชี้วัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 - เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จากคะแนนค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ในปีการศึกษาปี 2559

25 ตัวชี้วัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน ผลคะแนน O-net มีค่าคะแนนเท่ากับหรือมากกว่าค่าเป้าหมาย สพท. 2560 (ซึ่งเป็นค่าคะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ. ในปีการศึกษา 2559) ผลคะแนน O-net ค่าคะแนนน้อยกว่า ค่าเป้าหมาย สพท. 2560 (ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ.

26 ตัวชี้วัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แนวทางการดำเนินการ สพท. ดำเนินการตามแนวทางที่ สพฐ. กำหนด โดยไม่ต้องแนบไฟล์/รายงานผ่านระบบ KRS แต่...ให้เช็คค่าคะแนนในระบบ KRS ว่าถูกต้องหรือไม่ สทศ. จะส่งผลคะแนนรายเขตให้ กพร. เพื่อลงคะแนนในระบบ KRS

27 ตัวชี้วัดที่ 1.4 ระดับความสำเร็จในการประเมิน
คุณภาพสถานศึกษา เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 1. ประกาศใช้หลักเกณฑ์ใหม่ 2. เอกสารคู่มือการประเมินมาตรฐานการประเมินคุณภาพสถานศึกษา จำนวนสถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณภาพสถานศึกษาระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 90

28 ตัวชี้วัดที่ 1.4 ระดับความสำเร็จในการประเมิน
คุณภาพสถานศึกษา เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน สถานศึกษาที่รายงานผลการประเมินตนเองครบร้อยละ 100 ของจำนวนสถานศึกษาในสังกัดทั้งหมด *สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับดีขึ้นไป เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 90 สถานศึกษาที่รายงานผลการประเมินตนเองไม่ครบร้อยละ 100 ของจำนวนสถานศึกษาในสังกัดทั้งหมด *สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินคุณภาพภายในระดับดีขึ้นไป น้อยกว่าร้อยละ 90 หมายเหตุ : *กรณีสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอนทั้งระดับปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน ต้องผ่านในระดับดีขึ้นไปทั้งสองระดับ จึงจะถือว่าผ่านตามที่ระบุในเกณฑ์การให้คะแนน (*)

29 ให้ สพท. รายงานสรุปตามแบบฟอร์มอ้างอิง ที่ 1.4 และรายงานในระบบ KRS
ตัวชี้วัดที่ 1.4 ระดับความสำเร็จในการประเมิน คุณภาพสถานศึกษา แนวทางการดำเนินการ ให้ สพท. รายงานสรุปตามแบบฟอร์มอ้างอิง ที่ 1.4 และรายงานในระบบ KRS

30

31

32 เน้นย้ำ!! หมายเหตุ: ให้ทุกเขตแนบไฟล์เอกสารเพิ่มเติมในระบบรายงานผล KRSโดยกำหนดให้แนบไฟล์ของสถานศึกษาจำนวน 3 แห่ง แบ่งตามขนาดสถานศึกษา (ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่) ขนาดละ 1 แห่งโดยให้แนบไฟล์เอกสารเพิ่มเติม ดังนี้ 1) รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา (SAR) 2) เอกสารรายงานผลการสังเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาในสังกัด

33 ตัวชี้วัดที่ 1.5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาครู
ตัวชี้วัดที่ 1.5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาครู เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 เป้าหมายรวมทั้งปี 1. ดำเนินงานตามแผนงานโครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community - PLC) ได้ 100% 2. มีแนวทางในการดำเนินการติดตามผลโครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ วิชาชีพ (Professional Learning Community - PLC) 2. มีครูที่เข้าร่วมโครงการนำกระบวนการตามกรอบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ดำเนินงานตามแผนงานโครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community - PLC) ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน จำนวน 10,000 คน 2. มีครูที่เข้าร่วมโครงการนำกระบวนการตามกรอบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(Professional Learning Community - PLC) ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน จำนวน 13,500 คน 3. มีรายงานสรุปผลการพัฒนาตามกรอบ PLC ในภาพรวมของประเทศ

34 อยู่ระหว่างพิจารณาเกณฑ์การให้คะแนนในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 1.5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาครู เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อยู่ระหว่างพิจารณาเกณฑ์การให้คะแนนในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

35 องค์ประกอบที่ 2 ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
ตามหลักภารกิจยุทธศาสตร์หรือภารกิจที่ได้ รับมอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda base)

36 ตัวชี้วัดที่ 2.1 การสร้างความรับรู้ความเข้าใจ
แก่ประชาชน ตัวชี้วัดที่ ร้อยละการดำเนินการตามแผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน ตัวชีวัดที่ ร้อยละการชี้แจงประเด็นสำคัญที่ทันต่อสถานการณ์

37 ตัวชี้วัดที่ 2.1.1 ร้อยละการดำเนินการตาม
แผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ่าน ไม่ผ่าน สามารถดำเนินได้ตามแผนร้อยละ 100 ดำเนินการตามแผน < ร้อยละ 100

38 ตัวชี้วัดที่ 2.1.1 ร้อยละการดำเนินการตาม
แผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน เขตพื้นที่การศึกษามีการดำเนินกิจกรรมการประชาสัมพันธ์ในเรื่อง 1. โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 2. การรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560 3. นโยบายอื่น ๆ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้องกับ สพฐ. ระหว่างเดือนตุลาคม 2559-เดือนกรกฎาคม 2560 และส่งหลักฐานครบตามที่กำหนด คือ ประชาสัมพันธ์อย่างน้อยรวม 10 ชิ้น ผ่านสื่อต่างๆ อย่างน้อย 3 ช่องทาง 3. นโยบายอื่น ๆ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้องกับ สพฐ. ระหว่างเดือนตุลาคม 2559-เดือนกรกฎาคม 2560 แต่ส่งหลักฐานไม่ครบตามที่กำหนด คือ ประชาสัมพันธ์รวมไม่ครบ 10 ชิ้น หรือประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ไม่ครบ 3 ช่องทาง

39 ให้ สพท. รายงานสรุปตามแบบฟอร์มอ้างอิงที่ 2.2.1 และรายงานในระบบ KRS
ตัวชี้วัดที่ ร้อยละการดำเนินการตาม แผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน แนวทางการดำเนินการ ให้ สพท. รายงานสรุปตามแบบฟอร์มอ้างอิงที่ และรายงานในระบบ KRS

40

41 เน้นย้ำ!! สพท. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ใน 3 เรื่อง คือ
สพท. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ใน 3 เรื่อง คือ 1. โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 2. การรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560 3. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวกับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เก็บข้อมูล หลักฐาน การประชาสัมพันธ์ เป็นภาพถ่ายการประชาสัมพันธ์ในช่วงเดือนตุลาคม 2559 ถึงเดือนกรกฎาคม 2560 จำนวน 10 ชิ้น เผยแพร่ผ่านสื่ออย่างน้อย 3 ช่องทาง โดย - การประชาสัมพันธ์ที่ผ่านรายการวิทยุ ให้ส่งไฟล์สคริปเป็นหลักฐาน - การประชาสัมพันธ์ที่ผ่านรายการโทรทัศน์ ให้ส่งภาพในรายการ 3 ภาพ ลงในไฟล์ Word 1 หน้า หรือสคริปรายการ

42 สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้
ตัวชีวัดที่ ร้อยละการชี้แจงประเด็นสำคัญ ที่ทันต่อสถานการณ์ เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 สำนักโฆษก PMOC ประชาสัมพันธ์แจ้งประเด็นข่าวระยะเวลาการชี้แจง และหน่วยงานที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องแก่ส่วนราชการ ส่วนราชการรับทราบ รับปฏิบัติ ตามประเด็นข่าวที่จะต้องชี้แจง ส่วนราชการชี้แจงประเด็นข่าว -ประเด็น -รายละเอียดการชี้แจง -วัน เวลา ที่ชี้แจง รอบที่ 1 รอบที่ 2 เป้าหมายรวมทั้งปี ร้อยละ 100

43 สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้ คะแนนเต็มตัวชี้วัดย่อยที่ 2
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละการชี้แจงประเด็นข่าวที่ทันต่อสถานการณ์ สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้ ด้าน 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน 1. ตรงเวลา ชี้แจงได้ตรงเวลาภายใน 1 วัน - ไม่สามารถชี้แจงได้ภายใน 1 วัน หรือไม่ชี้แจง 2. เนื้อหาการชี้แจงตรงประเด็น ครบถ้วนทุกประเด็น ตรงบางประเด็น ไม่ตรงประเด็น 3. ช่องทางการเผยแพร่ 3 ช่องทางหรือมากกว่า 1 – 2 ช่องทาง ไม่มีการเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ คะแนนเต็มตัวชี้วัดย่อยที่ 2 3 คะแนน

44 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตาม
นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของสถานศึกษา เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมิน รอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 เป้าหมายรวมทั้งปี 1. ประกาศหลักเกณฑ์การเข้าร่วมโครงการของสถานศึกษาจากเขตการศึกษาพื้นที่ทั่วประเทศ 2. จัดทำและเผยแพร่คู่มือประเมินและแนวทางประกอบโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 3. มีเครื่องมือประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน 1. ผู้ปกครองและนักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการเฉลี่ย ร้อยละ 85 2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ร้อยละ 50 ร้อยละ 85 ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการที่นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย O-net (เฉลี่ยรวมทุกวิชาทุกระดับชั้นสูงขึ้น)

45 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตาม
นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของสถานศึกษา เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน 1. ผู้ปกครองและนักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 85 2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 50 1. ผู้ปกครองและนักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 85 2. ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนต่ำกว่าร้อยละ 50

46 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตาม
นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างสำหรับการเก็บข้อมูลโดย Smart Trainer แก้ไขเมื่อ 12 เม.ย. 60 การวัด ประชากรผู้ตอบแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง ความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการ ผู้ปกครอง นักเรียน เก็บจากผู้ปกครองและนักเรียนในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ครอบคลุมทุกขนาด (เล็ก กลาง ใหญ่) จำนวน 10 โรง แต่ละโรงเก็บข้อมูลจากผู้ปกครองและ/หรือนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 10 รุ่นที่ 2 จำนวน 15,897 การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน เก็บจากนักเรียนในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ครอบคลุมทุกขนาด (เล็ก กลาง ใหญ่) จำนวน 6 โรง รุ่นที่ 1 จำนวน 3,831 โรง

47 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตาม
นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของสถานศึกษา แนวทางการดำเนินการ ให้ สพท. รายงานสรุปตามแบบฟอร์มอ้างอิงที่ และรายงานในระบบ KRS

48

49

50

51

52

53

54

55 สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการ แก้ไขปัญหาโรงเรียนในโครงการ ICU เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้ การประเมิน รอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 เป้าหมายรวมทั้งปี โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ICU (3,000 โรงเรียน) ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาและประเด็นการแก้ไขของโรงเรียน 3,000 แห่ง เสนอ สพฐ. และคณะรัฐมนตรี โรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย 3,000 แห่ง ออกจาก ICU

56 ไม่มีตัวชี้วัดในองค์ประกอบนี้
องค์ประกอบที่ 3 ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจพื้นที่/ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด หรือการบูรณาการการดำเนินงานหลายพื้นที่หรือหลายหน่วยงาน (Area base) ไม่มีตัวชี้วัดในองค์ประกอบนี้

57 องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ (Innovation Base)

58 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 เป้าหมายรวมทั้งปี ร้อยละ 45 ร้อยละ 80 ร้อยละ 96

59 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน ผลการเบิกจ่ายงบประมาณเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 96 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณน้อยกว่าร้อยละ 96

60 ตัวชี้วัดที่ 4.1 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
แนวทางการดำเนินการ สพท. รายงานการเบิกจ่ายในระบบ GFMIS หลังจากนั้น กพร.สพฐ. จะดึงคะแนนจากระบบ GFMIS มาลงในระบบ KRS

61 ตัวชี้วัดที่ 4.2 ข้อเสนอประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมของส่วนราชการ
ประเด็นเรื่อง การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลการใช้จ่ายด้านการศึกษาของสถานศึกษา เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 ให้ส่วนราชการจัดทำข้อเสนอประสิทธิภาพและการพัฒนานวัตกรรมของส่วนราชการ และให้รายงานมาพร้อมกับการรายงานตัวชี้วัดอื่น ๆ ในรอบการประเมินที่ 1 ให้ส่วนราชการจัดทำข้อเสนอประสิทธิภาพและการพัฒนานวัตกรรมของส่วนราชการ และให้รายงานมาพร้อมกับการรายงานตัวชี้วัดอื่น ๆ ในรอบการประเมินที่ 2

62 ตัวชี้วัดที่ 4.2 การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลการใช้จ่ายด้านการศึกษาของสถานศึกษา
เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผ่าน ไม่ผ่าน สถานศึกษารายงานข้อมูลครบถ้วน สมบูรณ์ร้อยละ 100 สมบูรณ์น้อยกว่าร้อยละ 100

63 ตัวชี้วัดที่ 4.2 การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลการใช้จ่ายด้านการศึกษาของสถานศึกษา
แนวทางการดำเนินการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขตแจ้งสถานศึกษาให้ รายงานข้อมูลตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ.04006/ว1966 ลงวันที่ 4 เมษายน 2560 เรื่องโครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บ ข้อมูลการใช้จ่ายด้านการศึกษาของสถานศึกษา (โครงการพัฒนา ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐานเดิม) สถานศึกษาทุกแห่งรายงานข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตาม กำหนดเวลา

64 องค์ประกอบที่ 5 ศักยภาพในการเป็นส่วนราชการ ที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ นโยบายของรัฐบาล (Potential base)

65 สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้
ตัวชี้วัดที่ 5.1 การจัดทำและดำเนินการตามแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เกณฑ์การให้คะแนน : ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพท.ไม่ต้องดำเนินการตัวชี้วัดนี้ การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 เป้าหมายรวมทั้งปี ดำเนินการตามแผนฯ ถึงเดือน ก.พ. 60 ได้ครบถ้วนร้อยละ 100 ดำเนินการตามแผนฯ ถึงเดือน ก.ค. 60 ได้ครบถ้วนร้อยละ 100 ดำเนินการตามแผนฯ ถึงเดือน ก.ย. 60 ได้ครบถ้วนร้อยละ 100

66 หลักทางการประเมินส่วนราชการ ตัวอย่างการประเมินส่วนราชการ
แนวทางการประเมินส่วนราชการ และจังหวัด ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ 2560 หลักทางการประเมินส่วนราชการ ตัวอย่างการประเมินส่วนราชการ เปรียบเทียบจำนวนตัวชี้วัดที่สามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายต่อตัวชี้วัดทั้งหมดในแต่ละองค์ประกอบ ในแต่องค์ประกอบจะได้ระดับผล ประเมินในระดับ “เป็นไปตาม เป้าหมาย” ต่อเมื่อ ผ่าน 1 ตัวชี้วัดจาก 2 ตัวชี้วัด (50%) ผ่าน 2 ตัวชี้วัดจาก 3 ตัวชี้วัด (67%) ผ่าน 2 ตัวชี้วัดจาก 4 ตัวชี้วัด (50%) ผ่าน 3 ตัวชี้วัดจาก 5 ตัวชี้วัด (60%) กำหนดค่าเป้าหมายแต่ละ องค์ประกอบ จากร้อยละตัวชี้วัดที่ ดำเนินการบรรลุเป้าหมายต่อ ตัวชี้วัดทั้งหมด ดังนี้ ต่ำกว่าเป้าหมาย ต่ำกว่า 50% เป็นไปตามเป้าหมาย ระหว่าง 50-67% สูงกว่าเป้าหมาย สูงกว่า 67% 4. กำหนดให้ทุกตัวน้ำหนักเท่ากัน เพราะถือว่าต่างเป็น core functions ที่ต้องมีความสำคัญเท่า ๆ กัน กรม X องค์ประกอบที่ 1: Functional Based ประเด็นการประเมิน เป้าหมาย ผลดำเนินงาน ผ่าน ไม่ผ่าน ตัวชี้วัด ก เพิ่มขึ้น 10% เพิ่มขึ้น 12% ตัวชี้วัด ข 50,000 49,999 ตัวชี้วัด ค ลดลง 5% ลดลง 4% ตัวชี้วัด ง 100 ตัวชี้วัด จ ผ่าน 3 ตัวชี้วัดจาก 5 ตัวชี้วัด องค์ประกอบการประเมิน ผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน ต่ำกว่าเป้าหมาย (<50%) เป็นไปตามเป้าหมาย (50-67%) สูงกว่าเป้าหมาย (>67%) 1. Functional Based ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน ระดับต้องปรับปรุงด้าน..... 2. Agenda Based 3. Area Based 4. Innovation Based 5. Potential Based

67 แนวทางการประเมินส่วนราชการ และจังหวัด ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ 2560
ระดับการประเมิน สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน  ระดับต้องปรับปรุง เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย ทุกองค์ประกอบที่ประเมิน 1 เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายไม่ครบทุกองค์ประกอบที่ประเมิน แต่ไม่มีองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งได้รับการประเมินในระดับต่ำกว่าเป้าหมาย ส่วนราชการ/จังหวัด (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที่ 5 เมษายน 2559) เป็นส่วนราชการที่มีผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับต่ำกว่าเป้าหมายในองค์ประกอบในองค์ประกอบหนึ่ง (แม้ว่าจะได้รับการประเมินในองค์ประกอบอื่นในระดับเป็นไปตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมาย) 2 องค์ประกอบ สูงกว่าเป้าหมาย เป็นไปตามเป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมาย มีผลคะแนนสูงกว่าร้อยละ 67 มีผลคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ มีผลคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 50 Functional Based Agenda Based Area Based Innovation Based Potential Based 3 ผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย หรือ สูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผ่าน ตัวชี้วัด ไม่ผ่าน ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้

68


ดาวน์โหลด ppt การเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google