ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
การจัดการองค์ความรู้
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
Health Promotion & Environmental Health
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เขตสุขภาพ ที่11.
รร.มุกดารา เขาหลัก พังงา
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีผลงาน วิจัย/R2R/KM ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง ทันตแพทย์หญิงสุณี วงศ์คงคาเทพ ทันตสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ(ด้านทันตสาธารณสุข)
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
The Association of Thai Professionals in European Region
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
สร้างเครือข่ายในชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา เอกสารหมายเลข 4 ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา 3.2 ร่างประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ ของ 6 Cluster และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 1

ข้อเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพประชาชน พันธกิจ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน 1.พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กเพื่อแม่ปลอดภัย เด็กสูงดีสมส่วนและพัฒนาการสมวัย/สร้างเด็กไทยสูงดีสมส่วนและพัฒนาการสมวัย 2. ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 3.การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 5.สร้างเสริมพฤติกรรมวัยทำงานที่พึงประสงค์ 4. เด็กไทยสูงดีสมส่วน 6. การบริหารจัดการนโยบาย ยุทธศาสตร์การดูแลผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม THAI ACTIVE AGING สูงวัยอย่างมีสุขภาวะ 80 ปี ยังแจ๋ว 9. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 7. การบริหารจัดการนโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน Long Term Care in Community 10.ส่งเสริมการยกระดับคุณภาพมาตรฐานการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่น 8. การเสริมสร้างขีดความสามารถและสัมพันธภาพที่ดีกับเครือข่ายให้เกิดพันธะสัญญาในการขับเคลื่อนนโยบาย เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (Age-Friendly Cities) 11. เพิ่มประสิทธิภาพการอภิบาลระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม 12.การบริหารการเปลี่ยนแปลง

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กเพื่อแม่ปลอดภัย เด็กสูงดีสมส่วนและพัฒนาการสมวัย หรือสร้างเด็กไทยสูงดีสมส่วนและพัฒนาการสมวัย A10 เด็กอายุ 0-5ปี มีพัฒนาการ รวมสมวัย A11 เด็กอายุ 0-2ปี มีพัฒนาการด้าน ภาษาและ กล้ามเนื้อมัดเล็ก A12 เด็กอายุ 3-5 ปี มีพัฒนาการด้าน ภาษาและกล้ามเนื้อมัดเล็ก A13 ลดฟันผุในเด็กปฐมวัย A1 ลดการตายของมารดา A2 น้ำหนักทารกแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม A3 ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ A4 ลดภาวะโลหิตจางในหญิงก่อนตั้งครรภ์ A5 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน A6 ลดเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ที่มีภาวะเตี้ย A7 ลดเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม A8 ลดเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน A9 เด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน B1 มาตรฐานบริการการฝากครรภ์คุณภาพและการคลอดคุณภาพ (ANC & LR คุณภาพ) B2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการด้านโภชนาการครบถ้วนและได้มาตรฐาน B3 เด็กทุกคนได้รับบริการโภชนาการที่ครบถ้วนและได้มาตรฐาน B4 มีคลินิกนมแม่คุณภาพในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ B5 ศูนย์เด็กเล็กต้นแบบวัยเตาะแตะคู่มุมนมแม่ในสถานประกอบกิจการ B6 มาตรฐานบริการแผนกหลังคลอดคลินิกสุขภาพเด็กดี และโรงเรียน พ่อแม่คุณภาพ (PP&WCC &Parent skills คุณภาพ) B7 รพ.สต.ให้บริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างมีคุณภาพ B8 ชุมชนมีระบบการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย B9 ศพด.มีระบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็ก ปฐมวัย คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล C1 ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา C2 ตำบลส่งเสริมโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์และ หญิงตั้งครรภ์ C3 เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านโภชนาการ C4 มีระบบการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กในหมู่บ้าน และศูนย์เด็กเล็ก C5 ตำบลส่งเสริมเด็กมีสูงดีสมส่วน (อยู่ใน 100 ตำบล) C6 ระบบเฝ้าระวังการควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็ก เล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง C7 ระบบเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก C8 ศูนย์เด็กเล็กมีผู้ดูแลเด็กมีมาตรฐานตามวิชาชีพ C9 เจ้าหน้าที่ในรพ.สต.ได้รับการพัฒนาเรื่องส่งเสริมสุขภาพช่องปาก C10 เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาฟันผุเด็กในชุมชน C11 ท้องถิ่นสนับสนุนแปรงสีฟัน/ยาสีฟันที่มีคุณภาพให้เด็ก D1 ระบบการจัดสรรงบประมาณสอดคล้องนโยบายและแผนงาน/โครงการ D2 มีบุคลากรสหวิชาชีพเพียงพอ ในการทำงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย D3 บุคลากรได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัย D4 มีงานวิจัย/สำรวจ/นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัย D5 มีระบบสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน ครบถ้วน เข้าถึงได้ง่าย (เชื่อมโยงKIS) 2

ข้อเสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ cluster แม่และเด็ก ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ

ข้อเสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ cluster วัยเรียน ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด

ข้อเสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ cluster วัยรุ่น .การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาวะทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น (Adolescence Reproductive Health Behavior ) ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น (Adolescence Appropriate Reproductive Health Behavior )

ข้อเสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ cluster วัยทำงาน สร้างเสริมพฤติกรรมวัยทำงานที่พึงประสงค์ ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์

ข้อเสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ cluster วัยสูงอายุ การบริหารจัดการนโยบาย ยุทธศาสตร์การดูแลผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม THAI ACTIVE AGING สูงวัยอย่างมีสุขภาวะ 80 ปี ยังแจ๋ว ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม ( THAI ACTIVE AGING : strong social and security )

ข้อเสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน ส่งเสริมความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนและเมืองอย่างยั่งยืน

ข้อเสนอแนะประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การบริหารการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาระบบสนับสนุน (HR, FIN, KISS) - การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาระบบบริหารและองค์การ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาระบบบริหารองค์การ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาระบบบริหาร

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด B1 กำหนดมาตรฐานการบริการส่งเสริม สุขภาพเด็กวัยเรียน B2 มีองค์ความรู้การดูแลสุขภาพแบบ องค์รวม A1 เด็กวัยเรียนสูงสมส่วน A2 ฟันดี A3 ป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็กวัยเรียน A4 สายตาดี A5 ปลอดเหา A6 สมรรถภาพทางกาย A7 มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (อาหาร ออกกำลังกาย ฟัน อนามัยส่วนบุคคล) คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล D1 มีแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสหวิชาชีพ D2 มีระบบฐานข้อมูลภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียน D3 พัฒนางานวิจัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน C1 มีกระบวนการในการกำหนด มาตรฐานการบริการสุขภาพเด็ก วัยเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ C2 มีกระบวนการในการจัดทำองค์ความรู้ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 3

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น A1 ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล 4

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : เด็กไทยสูงดีสมส่วน A1 เด็กไทยสูงดีสมส่วน คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล 5

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างเสริมพฤติกรรมวัยทำงานที่พึงประสงค์ A1 คนวัยทำงาน มีรอบเอว และ BMI ปกติ A2 คนวัยทำงานอายุ 25-59 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม คุณภาพการ ให้บริการ การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติ ประสิทธิผล D1 บุคลากรกรมอนามัยมีองค์ความรู้และทักษะ ในการสื่อสารองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง 6

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : การบริหารจัดการนโยบาย ยุทธศาสตร์การดูแลผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม THAI ACTIVE AGING สูงวัยอย่างมีสุขภาวะ 80 ปี ยังแจ๋ว A1 มีข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุของประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพสูงเพื่อผู้สูงอายุไทยเป็นหลักชัยของสังคมจากฐานข้อมูลที่มีคุณภาพและการมีส่วนร่วม และบริหารทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและคุ้มค่า เกิดผลสัมฤทธิ์แก่ ประชาชน THAI ACTIVE AGING สูงวัยอย่างมีสุขภาวะ 80 ปียังแจ๋ว คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล 7

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 : การบริหารจัดการนโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน Long Term Care in Community A1 มีนวัตกรรมองค์ความรู้และสารสนเทศสุขภาพที่มีคุณภาพที่สามารถชี้นำและรองรับการตัดสินใจของผู้บริหารและการพัฒนาระบบ Long Term Care ของประเทศ A2 ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลจากผู้ดูแลที่มี คุณภาพตามมาตรฐานการดูแล คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล 8

(Age-Friendly Cities) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8: การเสริมสร้างขีดความสามารถและสัมพันธภาพที่ดีกับเครือข่ายให้เกิดพันธะสัญญาในการขับเคลื่อนนโยบาย เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (Age-Friendly Cities) A1 เครือข่ายสุขภาพมีความผูกพัน มีพันธะสัญญาร่วมที่เข้มแข็งสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานเมืองที่เป็นมิตรกับผู้ สูงอายุ (Age-Friendly Cities) ในพื้นที่ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล 9

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9: สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน A1 ชุมชน/ตำบลเข้มแข็ง จัดการ อวล.ได้ด้วยตนเอง B1 รพ.สต. สามารถสร้างความเข้าใจ/ สื่อสาร/และมีส่วนร่วมจัดทำแผน ชุมชนด้าน อวล. คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล D1 ข้อมูลความรู้เพื่อการ สื่อสารสาธารณะด้าน อวล. มีความทันสมัย ถูกต้อง ใช้ได้จริง D2 บุคลากรกรมอนามัย (ส่วนกลางและศูนย์อนามัย) มีทักษะและความ สามารถในการวิจัยและพัฒนาวิชาการ C1 มีระบบสนับสนุนการดำเนินงาน อวล. อย่างไร้รอยต่อถึงชุมชน 10

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 10 : ส่งเสริมการยกระดับคุณภาพมาตรฐานการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่น A1 อปท. มีการจัดบริการ อวล. ได้ตาม มาตรฐานที่กำหนด A2 อปท. สามารถจัดบริการด้าน อวล. ในสถานที่ดูแลเด็กเล็ก นักเรียน วัยรุ่น และผู้สูงอายุในชุมชนได้คุณภาพมาตรฐาน A3 อปท. สามารถชี้ประเด็นปัญหา อวล.ที่สำคัญของพื้นที่และ พัฒนาระบบเฝ้าระวังได้ B1 จังหวัดมีระบบและกลไกการกำกับ ติดตามและสนับสนุนการบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุขสำหรับท้องถิ่น B2 ระบบสนับสนุนทางวิชาการและการ บังคับใช้กฎหมายมีความชัดเจน ต่อเนื่อง แก้ไขปัญหาอวล. ที่ สำคัญของพื้นที่ได้ คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล C1 ระบบประเมินรับรองมาตรฐาน EHA ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือและ สร้างคุณค่าให้ อปท.ได้ C2 มีกระบวนการสนับสนุนการบังคับ ใช้กฎหมาย (อสธจ. กฎกระทรวง ประกาศ คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข) C3 ระบบสนับสนุนทางวิชาการและการบังคับใช้กฎหมายที่มีประสิทธิภาพ C4 มีระบบติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ D1 กรมอนามัยมีฐานข้อมูลอวล.ท้องถิ่นเพื่อชี้ประเด็นการพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 11

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 11 : เพิ่มประสิทธิภาพการอภิบาลระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม A1 ระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพ สอดคล้องแนวทางสากล B1 หน่วยงานภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแนวทางที่ได้กำหนดร่วมกัน คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล C1 ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ด้านอวล. ที่เชื่อมโยงทุกระดับ ทันสมัย ใช้งานสะดวก C2 มีระบบพัฒนาและบริหารการวิจัยและ KM C3 การบริหารความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย อวล. ระดับนโยบาย มีประสิทธิภาพ C4 มีระบบติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ D1 บุคลากรกรมอนามัยมีสมรรถนะด้าน อวล. 12

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 12 : การบริหารการเปลี่ยนแปลง A1 3 L (Lead, Lean, Learn) คุณภาพการให้บริการ การพัฒนาองค์การ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล 12

สรุปการประชุมประเด็นยุทธศาสตร์ 1 แม่และเด็ก ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 2 วัยเรียน ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 3 วัยรุ่น ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น(Adolescence Appropriate Reproductive Health Behavior ) 4 วัยทำงาน ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 5 วัยสูงอายุ ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม ( THAI ACTIVE AGING : strong social and security ) 6 อนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนและเมืองอย่างยั่งยืน 7 การพัฒนาระบบบริหารองค์การ