การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข (MoPH ITA) สู่การพัฒนาองค์กร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2 ลำดับจังหวัดกล้องแผนงาน 15- มิ. ย.30- มิ. ย. ร้อยละเพิ่มขึ้น 1 นครสวรรค์ *** 2 8,6005,8067, , อุบลราชธานี *** 3 12,9004,2295, ,
Advertisements

สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 12 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
แผนงานสำรวจรังวัดแปลงเกษตรกรรมและปิดพื้นที่ ปีงบประมาณ 2557 ภาค / จังหวัด ช่าง สำรวจ จว. จำนวน กล้อง จว. แผนปิดอำเภอ ปี 57 ( ไร่ ) แผนรังวัด เกษตร ( ไร่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สรุปผลการปิดอำเภอ เป้าหมาย ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
รายงานสถานการณ์อุทกภัย กรมทางหลวงชนบท. จำนวนสายทาง การสัญจร (สายทาง) ภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ สถานการณ์น้ำท่วมปัจจุบัน.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
โดย มณเฑียร ม่วงศรีศักดิ์. เขต สุจริต สพฐ. ใส สะอาด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
อัตราพื้นที่ใช้สอยในแต่ละหน่วยงาน ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
หลักสูตรเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการ : สำนึกข้าราชการไทยไม่โกง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ผังพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment) (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ อันดับที่ 69 ของหน่วยราชการ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข (MoPH ITA) สู่การพัฒนาองค์กร

CPI : Corruption Perception Index 2015 Transparency International On 27 January 2016 Rank in World (168) Rank in Asian Country CPI 2558 2557 8 1 Singapore 85 84 54 2 Malaysia 50 52 76 (85 : 2014) 3 Thailand 38 88 4 Indonesia 36 34 95 5 Philippines 35 112 6 Vietnam 31 139 7 Laos 26 25 147 Myanmar 22 21 150 9 Cambodia

Corruption Perception Index (CPI) 8 แหล่งข้อมูล ตารางแสดง คะแนนจาก 8 แหล่งข้อมูล ที่องค์การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (TI) ใช้ประเมินเพื่อจัดอันดับ ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (CPI) ของประเทศไทย Corruption Perception Index (CPI) 8 แหล่งข้อมูล 2555 2556 2557 2558 Change 2557-2558 1 Bertelsmann Foundation Transformation Index 2012; BF (BTI) เน้นเรื่อง การลงโทษทางกฎหมายต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ใช้อำนาจหรือตำแหน่งในทางที่ผิด ความสำเร็จของภาครัฐในการควบคุมการทุจริตคอร์รัปชั่นและการมีกลไกเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตอยู่ในระบบ 45 40 = 2 IMD World Competitiveness Year Book 2012 ; (IMD) การติดสินบนและการทุจริตมีอยู่หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด 38 36 33 3 Political Risk Services International Country Risk Guide ; (ICRG) ผู้มีอำนาจหรือตำแหน่งทางการเมืองมีการทุจริตโดยใช้ระบบอุปถัมภ์และระบบเครือญาติ และภาคการเมืองกับภาคธุรกิจมีความสัมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด 31 4 World Economic Forum Executive Opinion Survey (EOS) 2012 ; (WEF) ภาคธุรกิจต้องจ่ายเงินสินบนในกระบวนการต่างๆ มากน้อยเพียงใด 35 39 43 5 World Justice Project Rule of Law Index 2012 ; (WJP) เจ้าหน้าที่รัฐมีพฤติกรรมการใช้ตำแหน่งหน้าที่ในทางมิชอบมากน้อยเพียงใด 44 26 6 Economist Intelligence Unit Country Risk Assessment ; (EIU) ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ในการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ 7 Global Insight Country Risk Ratings ; (GI) การดำเนินการทางธุรกิจต้องเกี่ยวข้องกับการทุจริตมากน้อยเพียงใด (วิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม 6 ประการที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของเศรษฐกิจมหภาคและเศรษฐกิจแต่ละสาขา ได้แก่ เสี่ยงด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย ด้านภาษี ด้านความมั่นคง และความผิดพลาดในกำรบริหารจัดการ ) 42 32 8 Political and Economic Risk Consultancy Asian Intelligence 2012 ; (PERC) ระดับการรับรู้ว่าการทุจริตเป็นปัญหาทีส่งผลกระทบต่อสถาบันต่างๆ ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองมากน้อยเพียงใด

ตัวชี้วัดที่ประเทศไทยได้คะแนนลดลง World Justice Project (WJP) : Rule of Law Index ปี 57 44 คะแนน ปี 58 26 คะแนน ประเมินโดยใช้หลักนิติรัฐ รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย และถูกตรวจสอบได้ กฎหมายต้องเปิดเผย ชัดเจน มั่นคง ปกป้องเสรีภาพของประชาชน กระบวนการทางกฎหมายมีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ การตัดสินคดีต้องมีความเป็นธรรม มีจริยธรรม มีความเป็นกลาง ปัจจัยสำคัญ คือ สภาพความขัดแย้งทางการเมืองที่ผ่านมามีอิทธิพล ต่อตัวชี้วัดนี้ ซึ่ง WJP จะเก็บข้อมูล ทุกปีระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม

คะแนนที่เพิ่มขึ้นของ 3 ตัวชี้วัด เป็นผลจากมุมมองของผู้บริหารระดับสูงและนักธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ ที่กลับมามีความเชื่อมั่นประเทศไทยมากขึ้น เกิดจาก รัฐบาลชุดปัจจุบันเข้ามาแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง เกิดเสถียรภาพ ความเสี่ยงทางการเมืองลดลง มีนโยบายชัดเจนในการให้ความสำคัญกับนโยบายคอร์รัปชั่น ส่งผลต่อการรับรู้ในระดับนานาชาติในทางที่ดีขึ้น การเผยแพร่ พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสทุกหน่วยงานภาครัฐ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนกับประชาชน นักลงทุน หน่วยงาน/องค์กร สื่อมวลชนทั้งในและต่างประเทศ เร่งสร้างภาพลักษณ์ ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง

ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 ทุจริตสังคมไทยลดลง ความเชื่อมโยงตามกรอบการดำเนินการตามแผนบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 และแผนปฏิบัติการด้านการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 คำสั่ง คสช. 69/2557 18 มิ.ย. 57 เรื่องมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 “สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่ยอมรับในระดับสากล” ทุจริตสังคมไทยลดลง CPI สูงขึ้น 50 คะแนน ในปี 2560 มาตรการ ปลุกจิตสำนึก ป้องกัน สร้างเครือข่าย นโยบายรัฐมนตรีฯ ข้อ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับ ฯ วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นคุณธรรม ป้องปรามการทุจริต เป็นองค์กรใสสะอาด มีธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปลูกและปลุกจิตสำนึกการต่อต้านการทุจริต เน้นการปรับเปลี่ยนฐานความคิดของคนในทุกภาคส่วนในการรักษาประโยชน์สาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการการทำงานของหน่วยงานในการต่อต้านการทุจริตและพัฒนาเครือข่ายในประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความร่วมมือกับองค์กรต่อต้านการทุจริตและเครือข่ายระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารและเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ฯ กระทรวงสาธารณสุข แนวทางที่ 1 สร้างกลไกการป้องกันการทุจริตให้เข้มแข็ง และมีประสิทธิภาพ แนวทางที่ 2 สร้างความตระหนักรู้ในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต แผน บูรณาการฯ กระทรวงสาธารณสุข เสริมสร้างและสนับสนุนให้ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กร ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐยึดถือปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ ดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานภาครัฐ (ITA : Integrity & Transparency Assessment) - พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ตามกฎหมาย ป.ป.ช. (Conflict of Interest มาตรา 100 /มาตรา 103 ,103/7 ,มาตรา 103/8) ความเสี่ยงการบริหารพัสดุ/เตรียมความพร้อมรับ พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้างฯ พ.ศ. .... สนับสนุนให้ประชาชนทั่วประเทศมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริต สร้างจิตสำนึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมสุจริตให้ตระหนักรู้เรื่องความซื่อสัตย์สุจริตและการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในทุกภาคส่วน พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชน โครงการเสริมสร้างศักยภาพ อสม. ด้านการเฝ้ารัวังและป้องกันการทุจริตในระดับชุมชน) สนับสนุนและเชิดชูข้าราชการที่มีค่านิยมในการต่อต้านการทุจริต งบประมาณกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 จำนวน 44,895,500 บาท ร่วมบูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรม ที่สอดรับกับหลักเกณฑ์การจัดทำโครงการตามยุทธศาสตร์/ โครงการที่สอดคล้องกับองค์ประกอบของค่า CPI

งบประมาณแผนงานบูรณาการ การป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ วงเงิน 44,895,500 บาท หน่วยงาน งบประมาณ (บาท) ร้อยละ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8,315,700 18.5 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 26,256,800 58.5 กรมควบคุมโรค 4,417,000 9.8 กรมอนามัย 2,737,000 6.1 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก 1,846,000 4.2 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1,323,000 2.9 กรมการแพทย์** - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์** กรมสุขภาพจิต** กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ** รวม 44,895,500   ** ใช้งบประมาณส่วนราชการเอง

งบประมาณของส่วนราชการ ที่ต้องดำเนินการตามแนวทางบูรณาการ การป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ วงเงิน 7,517,320 บาท หน่วยงาน งบประมาณ (บาท) ร้อยละ กรมการแพทย์** 4,096,000 54.49 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์** 290,000 3.86 กรมสุขภาพจิต** 1,460,000 19.42 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ** 1,671,320 22.23 รวม 7,517,320   ** ใช้งบประมาณส่วนราชการเอง

รวมงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ การป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐ กระทรวงสาธารณสุข วงเงิน 52,412,820 บาท หน่วยงาน งบประมาณ (บาท) แนวทางบูรณาการฯ จำนวนโครงการ/กิจกรรม สร้างกลไก สร้างความตระหนักรู้ฯ โครงการ กิจกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8,315,700  5 19 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 26,256,800 1 4 กรมควบคุมโรค 4,417,000 8 กรมอนามัย 2,737,000 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1,846,000 10 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1,323,000 - รวม 44,895,500 กรมการแพทย์** 4,096,000 6 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์** 290,000 2 กรมสุขภาพจิต** 1,460,000 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ** 1,671,320 7,517,320 52,412,820

กรอบแนวคิดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน EIT และ EBIT การดำเนินงานขององค์กร ความโปร่งใส (Transparency) EIT และ EBIT ระบบการร้องเรียนขององค์กร ความรับผิดชอบตามการปฏิบัติ หน้าที่ ความพร้อมรับผิด (Accountability) EIT การรับรู้ข้อมูลการทุจริต (Corruption Perceived) EIT Integrity & Transparency Assessment คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) ประสบการณ์ตรง (Experience) EIT วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) IIT วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) หมายเหตุ : EIT คือ External Integrity & Transparency Assessment (การประเมินจากมุมมองภายนอกองค์กร) IIT คือ Internal Integrity & Transparency Assessment (การประเมินจากมุมมองภายในองค์กร) EBIT คือ Evidence-Based Integrity & Transparency Assessment (การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์) การต่อต้านการทุจริตขององค์กร (Anti-Corruption Practices) IIT และ EBIT การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) IIT คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) การบริหารงบประมาณ (Budget Execution) IIT ความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน (Fairness in Work Assignment) IIT

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) เป็นการประเมินผลเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐรับทราบถึงสถานะระดับคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐแต่ละแห่งว่ามีการดำเนินงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเจ้าหน้าที่ในองค์กรในภาพรวมปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมหรือไม่ ระดับใด มีข้อควรพัฒนาปรับปรุงใดบ้างเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตการประเมินจะเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่จะไปสู่การเพิ่มค่าดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทย (Corruption Perception Index : CPI) ให้ได้ 50 คะแนน ในปี 2560 ตามเป้าหมายที่กำหนดในยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560) (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ได้กำหนดเป้าดังกล่าวไว้ในปี 2559) ดัชนี 5 ด้าน ใช้แบบสำรวจ ดังนี้ IIT : Internal Integrity & Transparency Assessment การประเมินมุมมอง การรับรู้ภายในองค์กร EIT : External Integrity & การรับรู้ภายนอกองค์กร EBIT : Evidence-Based Integrity & การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ความโปร่งใส (Transparency) ความพร้อมรับผิด (Accountability) คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) คุณธรรม การทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity)

ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 KPI 21 ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ประเมินรอบ 9 เดือน และ 12 เดือน ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่าน เกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประเมินเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Integrity and Transparency Assessment) จำนวน 11 ข้อ (42 ข้อย่อย) ประเมินรอบ 9 เดือน และ 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 10 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 30 40 50 60 70

ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) รอบ 12 เดือน ตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน N = 85 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ ไม่ส่งรายงาน ระดับคะแนน ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) 85 84 98.82 1 1.18 - 5.0000 หมายเหตุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กำหนดให้ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ร้อยละ 50 (ช่วงปรับค่าคะแนน +/- 10)  

ค่าคะแนนระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ ลำดับ เขตสุขภาพ จังหวัด ค่าคะแนน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 54 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน 60 70 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน 36 71 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง 63 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน 64 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ 7 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย 8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา 65 9 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก 85 10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย 75 11 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ 72 12 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ 67 13 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก 14 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี 76 78 15 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยนาท 79 88 16 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร 61 17 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร ไม่รายงาน 18 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ 90

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ ค่าคะแนน 19 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 19 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก ไม่รายงาน 91 20 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี 70 21 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี 92 22 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 23 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี 88 24 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี 95 25 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี 96 26 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง 27 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี 98 28 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม 94 29 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 30 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี 89 31 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี 32 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม 33 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร 80 34 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 87

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ ค่าคะแนน 35 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 35 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี 97 95 36 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง 92 37 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี 94 38 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด 69 80 39 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว 91 40 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี 73 75 41 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา 98 42 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ 85 43 7 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น 93 44 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม 71 45 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด 87 46 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ ค่าคะแนน 47 8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 47 8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ 58.5 89.75 48 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 59 94.75 49 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 57 92.75 50 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย 60 89.50 51 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม 84.75 52 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย 67 76.4 53 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองบัวลำภู 70 83.75 54 9 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 83 78.50 55 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ 83.5 83.50 56 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ 79.5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 75 58 10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 68 88 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 66 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 82 85 61 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ 62 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร 94 97

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ ค่าคะแนน 63 11 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 63 11 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต 83 64 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง 75 65 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา 74 66 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช 70 67 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่ 68 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชุมพร 69 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี 41 71 12 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไม่รายงาน 82 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส 73 72 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี 54 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา 40 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา 76 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล 58

ค่าคะแนนระดับกรม ลำดับ จังหวัด ค่าคะแนน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1 รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 86.5 98.5 2 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 91 95 3 กรมควบคุมโรค 100 4 กรมอนามัย 70 5 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 61 6 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 97 7 กรมการแพทย์ N/A 8 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 84 9 กรมสุขภาพจิต 86 88

SAR ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 KPI 7 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงาน IIT : Internal Integrity & Transparency Assessment การประเมินมุมมอง การรับรู้ภายในองค์กร EIT : External Integrity & การรับรู้ภายนอกองค์กร EBIT : Evidence-Based Integrity & การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์ SAR เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม และจังหวัด ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 การประเมินมิติภายใน “การพัฒนาองค์กร” รายงาน SAR รอบ 6/9/12

ลำดับ ส่วนราชการ ค่าคะแนน ระดับคุณธรรมฯ ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ลำดับ ส่วนราชการ ค่าคะแนน ระดับคุณธรรมฯ 1 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 82.47 สูงมาก 2 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) 81.86 3 กรมควบคุมโรค 81.79 4 กรมอนามัย 80.66 5 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 79.00 สูง 6 กรมสุขภาพจิต 78.23 7 กรมการแพทย์ 76.12 8 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนภูมิภาค)* (ค่าเฉลี่ย) 74.41 9 กรมการแพทย์กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 74.15 10 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 72.23

ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ลำดับ เขตสุขภาพ จังหวัด คะแนน ระดับคุณธรรม 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 74.81 สูง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน 75.54 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแม่ฮ่องสอน 78.50 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง 81.81 สูงมาก 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน 71.06 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ 72.31 7 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย 77.64 8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา 81.80 9 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก 74.24 10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย 77.49 11 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ 72.84 12 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ 73.30 13 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก 70.39 14 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี 84.59 15 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยนาท 74.54 16 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร 80.12 17 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร 79.23 18 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ 76.81

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ คะแนน 19 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก 20 ระดับคุณธรรม 19 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก 78.76 สูง 20 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี 80.62 สูงมาก 21 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี 82.26 22 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 68.65 23 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี 70.20 24 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี 76.57 25 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี 77.32 26 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง 71.86 27 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี 74.36 28 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม 65.03 29 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 78.02 30 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี 74.64 31 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี 75.10 32 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม 74.95 33 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร 82.99 34 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี 74.78

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ คะแนน 35 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี 36 ระดับคุณธรรม 35 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี 74.77 สูง 36 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง 65.31 37 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี 78.00 38 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด 79.11 39 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว 72.44 40 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี 77.90 41 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา 76.54 42 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ 76.82 43 7 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น 73.33 44 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม 77.06 45 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด 72.84 46 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ 81.04 สูงมาก

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ คะแนน 47 8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ 48 ระดับคุณธรรม 47 8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ 71.81 สูง 48 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 79.42 49 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 74.90 50 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย 73.51 51 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม 69.74 52 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย 68.94 53 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองบัวลำภู 71.14 54 9 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 75.75 55 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ 78.37 56 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ 78.89 57 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 81.13 สูงมาก 58 10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 77.90 59 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 78.49 60 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 80.89 61 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ 75.01 62 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร 72.75

จังหวัด ลำดับ เขตสุขภาพ คะแนน 63 11 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต 64 ระดับคุณธรรม 63 11 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต 78.71 สูง 64 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง 70.05 65 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา 81.10 สูงมาก 66 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช 75.62 67 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่ 72.16 68 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชุมพร 74.12 69 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี 59.78 ปานกลาง 70 12 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง 73.54 71 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส 73.22 72 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี 71.27 73 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง 80.51 74 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา 75.57 75 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา 68.21 76 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล 78.47

64.15 63.06 Integrity & Transparency Assessment EIT และ EBIT การดำเนินงานขององค์กร ความโปร่งใส (Transparency) EIT และ EBIT ระบบการร้องเรียนขององค์กร Integrity & Transparency Assessment ความรับผิดชอบตามการปฏิบัติ หน้าที่ ความพร้อมรับผิด (Accountability) EIT การรับรู้ข้อมูลการทุจริต (Corruption Perceived) คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) EIT ประสบการณ์ตรง (Experience) EIT 64.15 วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) IIT วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) การต่อต้านการทุจริตขององค์กร (Anti-Corruption Practices) IIT และ EBIT การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) IIT คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) การบริหารงบประมาณ (Budget Execution) IIT 63.06 ความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน (Fairness in Work Assignment) IIT

KPI 21 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT)

ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT) ประเมินเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Integrity and Transparency Assessment) จำนวน 11 ข้อ (42 ข้อย่อย) ประเมินรอบ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 65 70 75 80 85 IPA

KPI 21 & IPA 3 เดือน 9 เดือน 6 เดือน 12 เดือน พฤษภาคม 59 จัดส่ง Evidence-Based พร้อมหลักฐานประกอบ จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (นับจากวันประทับตราไปรษณีย์) 3 เดือน ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (ม.ค. 59) EB 1 9 เดือน 1. ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (ก.ค. 59) EB 1 - EB11 2. ส่วนราชการระดับกรม และจังหวัดรายงานผล ตาม KPI 21 (ก.ค. 59) EB 1 - EB11 6 เดือน 1. ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (เม.ย. 59) EB 1 - EB11 2. ส่วนราชการระดับกรม และจังหวัดรายงานผล ตาม KPI 21 (เม.ย. 59) EB 1 - EB11 12 เดือน 1. ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (ก.ย. 59)EB 1 - EB11 2. ส่วนราชการระดับกรม และจังหวัดรายงานผล ตาม KPI 21 (ก.ย. 59) EB 1 - EB11

KPI 8 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ IIT : Internal Integrity & Transparency Assessment การประเมินมุมมอง การรับรู้ภายในองค์กร EIT : External Integrity & การรับรู้ภายนอกองค์กร EBIT : Evidence-Based Integrity & การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์ SAR เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม และจังหวัด ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2559 การประเมินมิติภายใน “การพัฒนาองค์กร” รายงาน SAR รอบ 6/9/12

ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน KPI 8 เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์ ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน 80-100 สูงมาก 60-79.99 สูง 40-59.99 ปานกลาง 20-39.99 ต่ำ 0-19.9 ต่ำมาก

Population for Internal KPI 8 Population for Internal ข้อมูลบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ พนักงานราชการ ลูกจ้าง ฯลฯ สังกัดหน่วยงานที่เข้ารับการประเมิน เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานนั้นๆ ไม่น้อยกว่า 1 ปี นับจนถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 ให้หน่วยงานจัดส่งข้อมูลบุคลากร จำนวน 500 ราย (หากมีน้อยกว่า 500 ราย ให้ส่งข้อมูลทั้งหมด) โดยนักวิจัยจะสำรวจโดยสุ่มตัวอย่าง (Sample Survey Research) ด้วยขนาดตัวอย่างที่สอดคล้อง เหมาะสม และมีลักษณะของความเป็นตัวแทนที่ดี

Population for Internal KPI 8 Population for Internal สสจ. รพศ. รพท. 500

Population for External KPI 8 Population for External ข้อมูลผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้รับบริการ หมายถึง ผู้ที่ติดต่อราชการกับหน่วยงาน เช่น ผู้ใช้บริการ ผู้มาติดต่อขออนุมัติ/อนุญาต ตามภารกิจของหน่วยงาน ฯลฯ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง ผู้เป็นคู่สัญญา ผู้ซื้อซอง ผู้ยื่นประมูล ฯลฯ ตลอดจนผู้ได้รับผลกระทบจากภารกิจของหน่วยงาน ในระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2558 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 (วงรอบต่อจากการประเมิน ITA ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558) ให้หน่วยงานจัดส่งข้อมูลผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 500 ราย (หากมีน้อยกว่า 500 ราย ให้ส่งข้อมูลทั้งหมด) โดยนักวิจัยจะสำรวจโดยสุ่มตัวอย่าง (Sample Survey Research) ด้วยขนาดตัวอย่างที่สอดคล้อง เหมาะสม และมีลักษณะของความเป็นตัวแทนที่ดี

Population for External KPI 8 Population for External สสจ. รพศ. รพท. 500/ 500 งาน คบ. และ พัสดุ พัสดุ วันที่ 1 เมษายน 58 ถึงวันที่ 31 มกราคม 59

ปฏิทินของ ศปท.สธ. วันที่ กิจกรรม รายละเอียด 23-24 กุมภาพันธ์ 2559 ประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข (MoPH ITA) สู่การพัฒนาองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท ปทุมธานี 11 มีนาคม 59 อบรมพัฒนาและเพิ่มพูนทักษะผู้ตรวจประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ระดับเขตสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โรงแรม ที เค พาเลซ กรุงเทพ 5 เมษายน 2559 ส่งคำตอบตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) พร้อมหลักฐานประกอบ จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (ประเมินตาม KPI ที่ 21 รอบ 6 เดือน) ส่งให้ผู้ตรวจประเมินระดับเขตสุขภาพ เมษายน 59 ศปท. รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 6 เดือน - PA ปลัดกระทรวงฯ - ระบบข้อมูลตัวชี้วัดสำคัญ (Key Performance Indicators) สนย.

ปฏิทินของ ศปท.สธ. วันที่ กิจกรรม รายละเอียด 5 กรกฎาคม 2559 ส่งคำตอบตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) พร้อมหลักฐานประกอบ จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (ประเมินตาม KPI ที่ 21 รอบ 9 เดือน) ส่งให้ผู้ตรวจประเมินระดับเขตสุขภาพ กรกฎาคม 59 ศปท. รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 9 เดือน - PA ปลัดกระทรวงฯ - ระบบข้อมูลตัวชี้วัดสำคัญ (Key Performance Indicators) สนย. 15 กันยายน 2559 (ประเมินตาม KPI ที่ 21 รอบ 12 เดือน) 30 กันยายน 2559 ศปท. รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 12 เดือน

ปฏิทินของ Third Party วันที่ กิจกรรม รายละเอียด 31 พฤษภาคม 2559 สิ้นสุดการส่งคำตอบตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) พร้อมหลักฐานประกอบ จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (นับจากวันประทับตราไปรษณีย์) สถานที่จัดส่ง สำนักงานโครงการ ITA เลขที่ 457/33 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 35 แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 (ไม่ต้องสำเนาส่งสำนักงาน ป.ป.ท.)   30 มิถุนายน 2559 แจ้งผลคะแนนเบื้องต้นตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ให้แก่หน่วยงาน หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม - ติดตามรายละเอียดการดำเนินงานและ Download เอกสารทางเว็บไซต์ www.itapacc.com กรณีกระทรวงสาธารณสุข Download เอกสารทางเว็บไซต์ www.stopcorruption.moph.go .th เมนู ITA ปี 2559 15 กรกฎาคม 2559 สิ้นสุดการส่งคำร้องอุทธรณ์ผลคะแนน 30 กันยายน 2559 ที่ปรึกษาจัดส่งรายงานสรุปผลการประเมิน ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ให้แก่สำนักงาน ป.ป.ท.

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงาน “เป็นการประเมินเชิงบวก เพื่อการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน” “ไม่ใช่การจับผิด แต่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะนำไปสู่ การสร้างความร่วมมือและเพื่อปรับปรุงการทำงาน ของหน่วยงานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น”