การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Are you a student ? Yes, I am or No , I’m not .
Advertisements

ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Experimental Research
Study Design ผศ.( พิเศษ ) น. พ. นภดล สุชาติ พ. บ. M.P.H.
ผศ.(พิเศษ)นพ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
รูปแบบการวิจัย Research Design
Practical Epidemiology
The Effect of Angiotensin II Receptor Blocker on Peritoneal Membrane Transports in Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis Patients นางสาวมนสิชา บัวอ่อน.
ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
MAP TA PHUT HEALTH DATABASE (RAYONG COHORT STUDY).
วิจัย Routine to Research ( R2R )
EXPERIMENTAL RESEARCH NON-EXPERIMENTAL RESEARCH
อาจารย์ ดร.ศุภะลักษณ์ ฟักคำ
การสืบค้นเอกสารวิชาการและการ ให้คุณค่าผลงานวิชาการ นายแพทย์เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค มกราคม
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Measures of Association and Impact for HTA
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
การจัดการองค์ความรู้ วิธีการผลิตผลงานSystematic review
ทบทวนสถิติสำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การออกแบบปัญหาการวิจัย
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
Burden of disease measurement
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
นพ.เฉวตสรร นามวาท กรมควบคุมโรค
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
การทดสอบสมมติฐาน.
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา (Study design)
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
อ.จงกล โพธิ์แดง ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล 2559
แบบทดสอบ ความพร้อมทางอาชีพ
การกระจายของโรคในชุมชน
Review of the Literature)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การกำหนดประเด็นปัญหา
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
การสอบสวนโรค เฉพาะราย
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
Training for SPSS BY Assist. Prof. Benchamat Laksaniyanon, Phd
Inventory Control Models
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
สมมติฐานการวิจัย.
Introduction to Public Administration Research Method
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal) นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร นพ.ไผท สิงห์คำ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค วันที่ 12 ตุลาคม 2555

รูปแบบการศึกษา (Study designs) มาตรการ / สิ่งทดลอง YES เชิงทดลอง (experimental) NO เชิงสังเกต (Observational) กลุ่มเปรียบเทียบ (comparison group) Randomized Controlled Trial (RCT) Quasi-experiment Analytic Descriptive Cohort study Case-control Cross-sectional Case report Case series Randomization

คำถามพื้นฐานเมื่อศึกษาโรค/ปัญหาสุขภาพ Basic Questions for Disease Study ปัญหาอะไร? (What) โรค ปัญหาเกิดกับผู้ใด? (Who) บุคคล ปัญหาเกิดขึ้นที่ไหน? (Where) สถานที่ ปัญหาเกิดขึ้นเมื่อใด? (When) เวลา ปัญหาเกิดได้อย่างไร? (Why/How) ปัจจัย/สาเหตุ

ระบาดวิทยา (Epidemiology) ศึกษาอะไร เวลา (Time) การกระจายของโรค บุคคล (Person) สถานที่ (Place) ระบาดวิทยา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโรค สาเหตุ (Cause) ปัจจัยเสี่ยง (Risk factor)

ระบาดวิทยาเชิงพรรณนาและเชิงวิเคราะห์ ระบาดวิทยาเชิงพรรณนาDescriptive study การกระจายของโรค ระบาดวิทยา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโรค ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์Analytic study

10 QUESTIONS TO ASK WHEN CRITICALLY APPRAISING A RESEARCH ARTICLE 1. Is the study question relevant? (คำถามเหมาะสมสอดคล้อง) 2. Does the study add anything new? (ได้ความรู้ใหม่) 3. What type of research question is being asked? (คำถามชนิดใด) 4. Was the study design appropriate for the research question? (เลือกรูปแบบการศึกษาเหมาะสมหรือไม่) 5. Did the study methods address the most important potential sources of bias? (วิธีการศึกษาคำนึงถึงอคติหรือไม่) Source: Young JM, Solomon MJ, Nature 2009

10 QUESTIONS TO ASK WHEN CRITICALLY APPRAISING A RESEARCH ARTICLE 6. Was the study performed according to the original protocol? (ทำการศึกษาตามแผนที่วางไว้) 7. Does the study test a stated hypothesis? (ทดสอบสมมติที่ตั้ง) 8. Were the statistical analyses performed correctly? (ใช้สถิติวิเคราะห์ถูกต้อง) 9. Do the data justify the conclusions? (สรุปถูกหรือไม่) 10. Are there any conflicts of interest? (มีทับซ้อนผลประโยชน์) Source: Young JM, Solomon MJ, Nature 2009

ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์

ไม่เป็นโรค (Disease -) ไม่เป็นโรค (Disease -) Cohort Study เป็นโรค (Disease +) ไม่เป็นโรค (Disease -) มีปัจจัย (E+) เป็นโรค (Disease +) ไม่เป็นโรค (Disease -) ไม่มีปัจจัย (E-) เป็นการศึกษาจากเหตุไปหาผล ส่วนใหญ่จะเป็น Prospective Cohort Study แต่บางครั้งอาจเป็น Retrospective Cohort Study คำนวณ Risk ratio (RR) เพื่อหาความสัมพันธ์

กลุ่มประชากรที่ศึกษา Cohort study Risk ratio = Risk 1 Risk 0 กลุ่มประชากรที่ศึกษา ไม่กิน กิน ไม่ป่วย Risk1 กิน = ป่วย = Risk 0 ไม่กิน ไม่ป่วย ป่วย

Prospective cohort study แบบที่ 1 เวลาที่เริ่มการศึกษา ปัจจัยที่ศึกษา เกิดโรค เวลา เช่น การสูบบุหรี่กับการเกิดมะเร็งปอด เพศกับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ แบบที่ 2 เวลาที่เริ่มการศึกษา ปัจจัยที่ศึกษา เกิดโรค เวลา เช่น การรับวัคซีนกับการเกิดผลข้างเคียง การใส่รองเท้าบู๊ตกับการเกิดโรคฉี่หนู

Retrospective cohort study แบบที่ 3 เวลาที่เริ่มการศึกษา ปัจจัยที่ศึกษา เกิดโรค เวลา เช่น การกินหอยแครงลวกกับการป่วยเป็นอหิวาตกโรค การฉีดวัคซีนกับการป่วยเป็นโรคหัด Cohort study ในการสอบสวนโรค เป็น Retrospective cohort study

การคำนวณหา Risk ratio RR = Risk1=(A/A+B) Risk0 (C/C+D) ป่วย ไม่ป่วย มีปัจจัย ไม่มีปัจจัย A B C D RR = Risk1=(A/A+B) Risk0 (C/C+D) Risk1 ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มทีมีปัจจัย = A/(A+B) Risk0 ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มทีไม่มีปัจจัย = C/(C+D) Risk ratio = Risk1 / Risk0

เป็นการศึกษาจากผลย้อนกลับไปที่สาเหตุ Case-control Study มีปัจจัย (E+) ไม่มีปัจจัย (E-) Disease + (Cases) มีปัจจัย (E+) ไม่มีปัจจัย (E-) Disease - (Controls) เป็นการศึกษาจากผลย้อนกลับไปที่สาเหตุ คำนวณ Odds ratio (OR) เพื่อหาความสัมพันธ์

Case-control study ประชากรที่ศึกษา Odds ratio = ป่วย ไม่ป่วย กิน กิน Oddcase = Oddcontrol= ไม่กิน ไม่กิน Odds ratio = Oddcase Oddcontrol

การคำนวณหา Odds ratio OR = (A/C)/(B/D) = AD/BC A B C D ป่วย ไม่ป่วย มีปัจจัย ไม่มีปัจจัย A B C D OR = (A/C)/(B/D) = AD/BC odds of exposure among cases = A/C odds of exposure among the controls = B/D odds ratio is a ratio of 2 odds

Cross-sectional study ประชากรที่ศึกษา ป่วย ไม่ป่วย กิน กิน ไม่กิน ไม่กิน ป่วย ไม่ป่วย PR = (A/A+B) (C/C+D) มีปัจจัย ไม่มีปัจจัย A B C D POR = AD/BC

RR, OR, PR, POR and 95%CI Risk ratio (RR), Odds ratio (OR), Prevalence ratio (PR), Prevalence odds ratio (POR) การแปลความหมาย The ratio = 1 (Null value) ไม่เป็นปัจจัยเสี่ยง และไม่เป็นปัจจัยป้องกัน The ratio > 1 เป็นปัจจัยเสี่ยง The ratio < 1 เป็นปัจจัยป้องกัน 95% Confidence Interval หมายถึง ช่วงเชื่อมั่น 95% ที่ค่า ratio ที่แท้จริงจะอยู่ในช่วงที่คำนวณได้นี้

ขอขอบคุณ