Social Development 01460443 การพัฒนาสังคม คณะวิทยาการจัดการ อาจารย์พรเทพ พัฒธนานุรักษ์ อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ และคณะ คณะวิทยาการจัดการ 13 : 25 พ.ย. 61
ขั้นตอนการพัฒนา ขั้นที่ 1 : การศึกษาชุมชน การสำรวจและศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะต่างๆ หรือสถานภาพชุมชน เศรษฐกิจ สังคม และประชากร วัฒนธรรม ความต้องการ ปัญหาชุมชน การเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงดีขึ้นในการดำรงชีวิต
ประเด็นการสำรวจ - ประวัติความเป็นมาชุมชน - สภาพภูมิศาสตร์ และพื้นที่ - ทรัพยากรธรรมชาติ & สิ่งแวดล้อม : สภาพกายภาพ และชีวภาพ : การใช้ประโยชน์ : คุณภาพ ความอุดมสมบูรณ์และ/หรือความเสื่อมโทรม - โครงสร้างชุมชน : ลักษณะชุมชน องค์ประกอบและสภาพชุมชน
ประเด็นการสำรวจ - สภาพเศรษฐกิจ-สังคม : ลักษณะทางประชากร เช่น สมาชิกครัวเรือน อายุ ฯลฯ : ลักษณะทางเศรษฐกิจ เช่น อาชีพ รายได้-รายจ่าย ภาวะต่างๆ ฯลฯ : ลักษณะทางสังคม เช่น ศาสนา ประเภทครอบครัว : รูปแบบวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อ - การบริการขั้นพื้นฐานและการบริการทางสังคม - โครงสร้างอำนาจ ผู้นำและผู้มีอิทธิพล - อื่น ๆ
วิธีการศึกษา : ขั้นที่ 1 1. การสังเกต (Observation) เพื่อจะศึกษาข้อมูลเบื้องต้นด้วยการบันทึกถึงสภาพและ สภาวการณ์ที่เป็นจริงตามเหตุการณ์ : แบบไม่มีส่วนร่วม Non-Participant Observation : แบบมีส่วนร่วม Participant Observation
วิธีการศึกษา : ขั้นที่ 1 2. การสัมภาษณ์ (Interview) ซึ่งเป็นวิธีพบปะกับผู้ให้ข้อมูลข่าวสารโดยตรง : แบบรายบุคคลและรายกลุ่ม Individual or Grouped Interview : แบบมาตรฐาน Standard or Structured : แบบไม่มีโครงสร้าง Unstructured Interview
ขั้นที่ 2 : การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน ความหมายปัญหาชุมชน สภาวการณ์/ความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นหรือมีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นแก่สมาชิกส่วนใหญ่ เป็นอุปสรรคต่อความเจริญก้าวหน้า และจะต้องป้องกันแก้ไข/กำจัดให้หมด มนุษย์ ไม่ได้รับการตอบสนอง ปัญหา
ขั้นที่ 2 : การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน มนุษย์มีประสบการณ์ใหม่ ๆ ไม่ตอบสนองความต้องการ ไม่สามารถอธิบาย / บอกสิ่งที่ต้องการรู้ มนุษย์ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น มนุษย์เข้าใจความจริงพื้นฐานทุกสิ่งต้องเปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา 1. การค้นหาปัญหาที่แท้จริงของชุมชน ปัญหาแท้จริงต้องเป็นข้อเดือดร้อน / ปัญหาส่วนรวมประสบเหตุ - บางปัญหาเป็นปัญหาใหญ่สลับซับซ้อน/ปัญหาหลายปัญหาแฝงอยู่ จำเป็นต้องทำการแยกแยะปัญหาที่แท้จริงให้ถูกต้องชัดเจน โดยเฉพาะปัญหาที่เป็นสาเหตุของปัญหาอื่นๆ (Basic Problem) - บางปัญหาอาจคลุมเครือ ไม่รู้ว่าเป็นปัญหาแท้จริงอย่างไร ความเดือดร้อน/รุนแรง/อุปสรรคมาก /น้อย - ปัญหาบางปัญหาเพ้อฝัน / เรียกร้องเกินกว่าขีดความสามารถแก้ไข / หรือเกินความจริง
**วิธีการค้นหาปัญหาที่แท้จริง** เกณฑ์การพิจารณาปัญหา - ความร้ายแรง/รุนแรงเร่งด่วน : ปัญหาที่มีสภาพหนักผลเสียหายร้ายแรง เป็นอันตรายต้องแก้ไขด่วน - ผลกระทบต่อคนส่วนมาก : สร้างความเดือดร้อนให้กับคนจำนวนมาก ขนาดปัญหาใหญ่ (Size of Problem) - การยอมรับของชุมชน : ปัญหาที่แท้จริงต้องเป็นที่ยอมรับของคนส่วนมากว่าเป็นปัญหา และตระหนักว่าจะต้องแก้ไข - ผลเสียหายในอนาคต : ปัญหาแท้จริงหากไม่แก้ไขจะมีผลกระทบทำให้เกิดความเสียหายในอนาคตอย่างมาก
ระดับความรุนแรงปัญหา 1) ปัญหาที่เกิดจากความต้องการที่แท้จริง (Felt Needs) : เป็นปัญหาที่มีความรู้สึกว่ามีความเดือดร้อนมากที่สุดต้องขจัดหมดไป 2) ปัญหาที่เกิดจากความต้องการที่รุนแรงน้อยลงมา (Unfelt Needs) : เป็นปัญหาที่เกิดจากความต้องการของชุมชนที่รู้สึกว่า ขัดข้อง เดือดร้อนบ้าง แต่ยังไม่จำเป็นต้องแก้ไขทันที 3) ปัญหาที่เกิดจากความต้องการที่ประชาชนยังไม่รู้สึกเดือดร้อน (Unawared Needs) : เป็นปัญหาที่ประสบอยู่ แต่ไม่รู้ว่าเป็นปัญหาและควรแก้ไข
สาเหตุของปัญหา/ความต้องการ ความต้องการขั้นพื้นฐาน / จำเป็นปัจจัย 4 ความต้องการทางเศรษฐกิจและการเงิน ความต้องการทางสังคม ความต้องการทางจิตใจ
ประเภทของปัญหาหลักสำคัญ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ปัญหาด้านสังคม ปัญหาด้านวัฒนธรรม ปัญหาด้านการเมืองการปกครอง ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ขั้นตอนที่ 3 : การจัดลำดับความต้องและปัญหาของชุมชน นำข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาชุมชนมาจัดเรียงลำดับตามความสำคัญและ ความรุนแรงเพื่อการวางแผนและโครงการ *ข้อพิจารณา / หลักเกณฑ์การจัดลำดับ ปัญหาที่ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับความเดือดร้อนมากสุด และจะก่อให้เกิดปัญหาอื่นตามมา ปัญหาที่แก้ไขแล้ว จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาอื่นง่ายขึ้น ปัญหาที่อยู่ในขีดความสามารถของประชาชนที่จะร่วมกันแก้ไขได้
ขั้นตอนที่ 4 : การวางแผน
ขั้นตอนที่ 5 : การพิจารณาวิธีดำเนินงาน ความถูกต้อง ประโยชน์ที่จะได้รับ การประหยัดมากที่สุด ขนาด กรรมวิธี การแบ่งขั้นตอนการดำเนินงาน แนวทางการจัดการและบริหารงานบุคคล ปัจจัยการดำเนินงานของวิธีการ/กิจกรรมให้เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผล ข้อจำกัดทางทรัพยากร
ขั้นตอนที่ 6 : การดำเนินงานพัฒนาชุมชน การบริหารโครงการ : การนำวิธีการต่างๆ มา ใช้ช่วยดำเนินงาน - จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้นของแผนโครงการ : - ทำงานเป็นกลุ่ม : แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ - การตัดสินใจ/ตัดสินปัญหา: การปรึกษาหารือ พิจารณาประเด็นปัญหา/อุปสรรค แก้ไขปัญหา ระหว่างการดำเนินงาน
ขั้นตอนบริหารโครงการ จัดให้มีการอำนวยการ สั่งการและแบ่งงาน แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องกับแผน กำหนดวิธีการประสานงาน กำหนดวิธีการตรวจสอบและควบคุมงาน ตรวจสอบและประเมินผลงานเป็นระยะ - การควบคุมและติดตาม : ตรวจสอบวิธีการปฏิบัติงาน : นำผลไปปรับปรุงแก้ไขโครงการ : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 7 : ประเมินผล ขั้นตอนที่ 8 : การทบทวนแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
คำนิยามศัพท์ Purpose = ความมุ่งหมาย Objective = วัตถุประสงค์ Goal = จุดมุ่งประสงค์ End = จุดหมายปลายทาง Target = เป้าหมาย Mission = พันธกิจ Aim = จุดมุ่งหมาย
วัตถุประสงค์ Ackoff (1970) สภาพ/หรือผลผลิต/หรือผลงานของพฤติกรรมซึ่งเป็นที่พึงประสงค์ อาจเป็นสิ่งที่ยังไม่มี/มีอยู่แต่ต้องการให้มีอยู่ต่อไป - สิ่งต้องการจะหามาใหม่ (New Acquisition) - สิ่งที่มีอยู่ให้มีต่อไป (Retentiveness)
ความหมายนโยบายสาธารณะ (Public Policy) ควรจะทำอะไร เมื่อใด ที่ไหน โดยใคร อย่างไร Public Policy
ความหมายนโยบายสาธารณะ (Public Policy) Thomas Dye (1978) : สิ่งใดก็ตามที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำ Ira Sharkansky (1970) : กิจกรรมต่างๆ ที่รัฐบาลหรือองค์กรของรัฐจัดทำขึ้น กุลธน ธนาพงศธร : แนวทางกว้างๆ ที่รัฐบาลหนึ่งๆ กำหนดขึ้นล่วงหน้า เพื่อเป็นหนทางชี้นำให้มีการกระทำต่างๆ เกิดขึ้นตามมา ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ความหมายนโยบายสาธารณะ (Public Policy) อมร รักษาสัตย์ (2520) ความคิดที่ว่าจะทำอะไร หรือไม่ อย่างใด เพียงใดและเมื่อใด โดยมีองค์ประกอบ 3 ประการ กำหนดเป้าหมายสิ่งที่ต้องการทำ กำหนดแนวทางใหม่ กำหนดการสนับสนุน
ความหมายนโยบายสาธารณะ (Public Policy) Carl J. Friedrich (1963) ข้อเสนอสำหรับแนวทางการดำเนินงานของบุคคล กลุ่มบุคคลหรือรัฐบาล ภายในสภาพแวดล้อมที่มีทั้งอุปสรรคและโอกาสบางประการด้วย โดยอุปสรรคและโอกาสที่พึงมีนั่นเองที่ผลักดันให้มีการเสนอนโยบายขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์และเอาชนะสถานการณ์เพื่อไปสู่เป้าหมาย
กิจกรรมที่ผ่านมาในอดีต กิจกรรมที่กำลังดำเนินในปัจจุบัน Public Policy = แนวทางการดำเนินกิจกรรมของรัฐบาล รวมทั้ง กิจกรรมที่ผ่านมาในอดีต กิจกรรมที่กำลังดำเนินในปัจจุบัน กิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ 1.การกำหนดนโยบาย การระบุประเด็นปัญหา การพัฒนาทางเลือก การเสนอทางเลือก 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ การแปลความนโยบาย การรวบรวมทรัพยากร การวางแผน การจัดองค์การ การดำเนินงาน 3.การประเมินผล การยกเลิก การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
โครงการชุด/โครงงาน Program แผนงาน Plan โครงการชุด/โครงงาน Program โครงการชุดย่อย Sub-Program โครงการ Project โครงการย่อย Sub-Project งาน Tasks กิจกรรม Activities
แผน (Plan) Breton และ Dale แผนเป็นวิธีของการกระทำที่กำหนดไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว (Predetermined Course of Action) แผนประกอบด้วย 3 ลักษณะ จะเกี่ยวกับอนาคต จะเกี่ยวกับการกระทำ จะต้องมีปัจจัยชี้ว่าเกี่ยวกับส่วนตัว/องค์กร Lasswell และ Kaplan (1970) แผนหรือโครงการที่กำหนดขึ้นมารวมถึงเป้าหมาย สิ่งที่มีคุณค่าและแนวทางปฏิบัติต่างๆ
แผน (Plan) James Anderson (1975) David Easton (1971) แนวทางปฏิบัติที่กำหนดขึ้นเพื่อตอบสนองต่อปัญหา ต่างๆ ที่เกิดขึ้น หรือแนวทางที่รัฐบาลหรือองค์กร ของรัฐบาลกำหนดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหานั่นเอง David Easton (1971) การจัดสรรผลประโยชน์หรือสิ่งที่มีคุณค่าระหว่าง ปัจเจกชน และกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ในระบบสังคม การเมือง กำหนดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหานั่นเอง
สมพร แสงชัย (2520) เป็นแนวทาง/วิธีดำเนินงานซึ่งได้กำหนดขึ้นไว้ก่อนแล้ว (Plan is a Predetermined Course of Action)
ลักษณะของแผนตามความหมาย อนาคต (Future) เป็นการมองในอนาคต การกำหนดอนาคตข้างหน้า แผนจึงต้องยืดหยุ่น เพราะอนาคตไม่แน่นอน การปฏิบัติ (Action) จะต้องมีการปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ การวางแผนไม่มีวิธีการปฏิบัติ แผนไม่สมบูรณ์ การคาดการณ์/พยากรณ์ (Forecast) การลับสมอง (Intellectual Exercise)
ลักษณะของแผนตามความหมาย บุคคล/องค์กร (Personal/Organization) จะต้องมีผู้รับผิดชอบการดำเนินงานตามแผนให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Solve a Conflict Problem) ระหว่างวางแผนและระหว่างปฏิบัติงานตามแผน ผู้วางแผนต้องตัดสินใจเลือก ระหว่างวางแผน : นโยบาย แนวทางปฏิบัติ ความคิดเห็น ระหว่างปฏิบัติ : ความขัดแย้งทางปฏิบัติ แก้ไขปัญหา
ลักษณะของแผนตามความหมาย มาตรฐาน (Standard/Criteria) จำเป็นต้องอาศัยเกณฑ์มาตรฐานในการปฏิบัติเพื่อประเมินผล/วัดผลการปฏิบัติ อื่นๆ เป็นรากฐานของการวางแผน ความประหยัด สรรถภาพและการตรงต่อเวลา ทรัพยากรน้อยที่สุด ตรงเวลา เป็นต้น
1. มิติเวลา (Time Dimension) ประเภทของแผน 1. มิติเวลา (Time Dimension) 1.1 แผนระยะยาว (Long-Term Plan) ส่วนใหญ่ใช้เวลาดำเนินการ 10 ปีขึ้นไป เป็นแผนกว้างๆ และพยายามกำหนดเป้าหมาย เช่น อัตราการเติบโต รายได้ ประชาชาติ 1.2 แผนระยะกลาง (Medium-Term Plan) ส่วนใหญ่จะเป็นแผนประมาณ 5-10 ปี จะกำหนดนโยบายและแนวทางดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย เช่น แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1. มิติเวลา (Time Dimension) 1.3 แผนระยะสั้น (Short-Term Plan) ส่วนใหญ่เป็นแผนที่มีระยะต่ำกว่า 5 ปี จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับงบประมาณ วิธีการดำเนินงานการใช้ทรัพยากร และกำหนดเวลาการประกอบการ เช่น แผนประจำปี (Annual Plan) แผนปฏิบัติการ (Operational Plan) / 2-3 ปี แผนชั่วคราว (Ad-Hoc Plan) / ไม่กี่วัน / เดือน 1.4 แผนต่อเนื่อง (Continuous Plan) อาจจะเป็นแผนที่มีระยะเท่าใดก็ได้ แต่เป็นแผนที่ต่อเนื่องกันเป็นทอดๆ แผนภายหลังมีรากฐานและความสัมพันธ์กับแผนฉบับก่อน เช่น แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-9
1. มิติเวลา (Time Dimension) 1.5 แผนก้าวหน้า (Rolling Plan) ส่วนใหญ่เป็นแผนระยะ 4-5 ปี เมื่อดำเนินการประมาณ 1 หรือ 2 ปี ก็จะกำหนดแผนเพิ่มเติมอีก 1 หรือ 2 ปี เสริมเข้ากับแผนที่ใช้อยู่ให้ครบ 4-5 ปีต่อไป แผนชนิดนี้ไม่มีการสิ้นสุด / เปลี่ยนแปลงแก้ไขตลอดเวลา เช่น PPBS (Planning Programming and Budgeting System, USA)
2. มิติหน้าที่ (Functional Dimension) 2.1 แผนโครงการ (Project Plan) เป็นแผนงานโครงการ ใดโครงการหนึ่งตั้งแต่ต้นจนจบ : ตั้งแต่สาเหตุและเหตุผลของโครงการดำเนินงาน การบำรุงรักษา และประเมินผล โครงการเป็นส่วนเล็กสุดที่สมบูรณ์ใน ตัวเอง อาจจะมีความสัมพันธ์ / ส่งผลกระทบต่อ โครงการอื่น 2.2 แผนโครงการชุด (Program) หรือ “โครงงาน” ประกอบด้วยโครงการ (Projects) ที่มีความสัมพันธ์อย่างลึกซึ้ง ตั้งแต่ 2 โครงการ
2. มิติหน้าที่ (Functional Dimension) 2.3 แผนสาขา (Sectoral Plan) เป็นที่นิยมในการวางแผนพัฒนา จะเป็นการปรับปรุงการปฏิบัติงาน / เพิ่มผลผลิตในสาขาเมื่อตั้งเป้าหมายจำเป็นต้องมีโครงการต่างๆ ที่นำไปสู่เป้าหมายในเวลากำหนด เช่น แผนสาขาการเกษตร แผนสาขาคมนาคมและขนส่ง แผนสาขาอุตสาหกรรม แผนพัฒนาการศึกษา 2.4 แผนรวม (Macro Plan) ส่วนใหญ่เป็นแผนทางเศรษฐกิจ โดยการประเมินตัวแปรและความสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่นค่าใช้จ่ายกับการลงทุน ค่าใช้จ่ายกับการเก็บภาษี เพื่อหาผลกระทบต่อเศรษฐกิจ อาจจะเป็น แผนชี้นำ (Indicative Plan) *ข้อมูลเพียงพอ → สำเร็จ
3. มิติทางเนื้อที่ (Spatial Dimension) 3.1 แผนชาติ (Nation–Wide Plan) เป็นการวางแผนในพื้นที่ทั่วประเทศให้เกิดความสมดุลทางเศรษฐกิจและสังคม อาจจะไม่ใช่โครงการต่างๆ เหมือนกัน ทุกแห่ง 3.2 แผนภาค (Regional Plan) เป็นการวางแผนในพื้นที่ ใดพื้นที่หนึ่งเท่านั้น ซึ่งอาจจะใช้เขตปกครอง เขตทางภูมิศาสตร์ เขตทรัพยากร เช่น การพัฒนาลุ่มน้ำ………… การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก การพัฒนาภาคอีสานตอนล่าง
4. มิติทางสถาบัน (Institutional Dimension) 4.1 แผนจากเบื้องล่าง (Plan From Below) 4.2 แผนจากเบื้องบน (Plan From the Top) 4.3 แผนกึ่งทาง 5) มิติอื่น ๆ - Resource - Needs
การวางแผน (Planning) Newman (1963) การวางแผนเป็นการแนะแนวการนำและการควบคุมกลุ่มคนให้พยายามทำงานให้สำเร็จ Waterston (1965) การวางแผนเป็นการวางแนวทางปฏิบัติในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ และเป็นการใช้ความพยายามที่ต่อเนื่องเพื่อเลือกแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการบรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
Griffin และ Enos (1970) ในการวางแผนจะต้องประกอบด้วย การวางแผน (Planning) Wren และ Voich (1984) การวางแผนเป็นการปฏิบัติ หน้าที่บางอย่างเพื่อให้มีการจัดหา จัดสรรและการใช้ ประโยชน์อย่างได้ผล ซึ่งความพยายามของมนุษย์และ ทรัพยากรกายภาพ ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตาม จุดมุ่งประสงค์ Griffin และ Enos (1970) ในการวางแผนจะต้องประกอบด้วย - Construction : การสร้างแผน - Authorization : การมอบอำนาจให้มีการ ปฏิบัติตามแผน
การสร้างแผน การกำหนดจุดมุ่งหมาย การระบุทรัพยากรที่มีอยู่และสามารถจัดหา การพิจารณานโยบายต่างๆ เพื่อกำหนดทางใช้ทรัพยากร การตรวจสอบความสอดคล้อง การปรับปรุงแผนเป็นระยะ
การมอบอำนาจ การแปลงรูปแผน แผนงานและโครงการ การแปลงรูปแผน แผนงานและโครงการ มอบอำนาจ รับผิดชอบและทรัพยากรจำเป็น การสร้างข่ายการสื่อสาร : ผู้สั่งและผู้ปฏิบัติ การควบคุมการปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้
วิธีการวางแผน Project-by-project : ระยะแรกเป็นการวางแผนโครงการ โดยไม่มีปรัชญา/เป้าหมายลึกซึ้ง ทำให้เกิดการพัฒนาอย่างไม่เป็นชิ้นเป็นอันมากนัก สูญเสียมาก :- วิธีการวางแผนแบบโครงการต่อโครงการ Integrated Public Investment Planning Approach : การวางแผนตามสาขาซึ่งรัฐบาลเห็นว่า มีความจำเป็น มากและต้องการจะเน้นให้เกิดผลทางเศรษฐกิจและสังคม วางแผนบางส่วนในระบบ :- วิธีวางแผนแบบประสานการลงทุนสาธารณะ
วิธีการวางแผน Comprehensive Planning Approach : การวางแผนทั้งรัฐบาลและเอกชน จากเบื้องบนลงมาและจากเบื้องล่างขึ้นไป เป็นระบบ (System) ผลดีต่อระบบสังคม เศรษฐกิจและการเมือง โดยมีการประสานโครงการ :- วิธีการวางแผนแบบสมบูรณ์ Program Planning Approach : เป็นการผสมผสานวิธีทั้ง 3 ชนิด เป็นการวางแผนโครงการ (Projects) หลายโครงการที่มีระบบและความสัมพันธ์ ทั้งในสาขา/ต่างสาขา PPBS :- วิธีการวางแผนแบบโครงการชุด
รูปแบบของแผน John B. Miner (1978) เสนอรูปแบบแผนประกอบด้วย - ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ - กลยุทธ์ที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ - จุดประสงค์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ - เงื่อนไขภายในของแผนและสภาพแวดล้อมของแผนที่ต้องการเพื่อบรรลุผลสำเร็จ - แผนงานที่จะทำงานให้เป็นผลต้องการ Miner เน้นความสำคัญของสภาพแวดล้อม
รูปแบบของแผน Preston P, Le Breton (1961) อธิบายถึงรูปแบบของแผนที่ค่อนข้างมีรายละเอียด ชื่อของแผน ชื่อของบุคคลที่สั่งให้ทำการวางแผน ชื่อบุคคลที่อนุมัติแผน ชื่อบุคคลที่ทำการวางแผน ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของแผน ประเด็นปัญหาที่สำคัญ
รูปแบบของแผน กระบวนการขั้นตอนของการกระทำ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ หลักฐานสนับสนุนหรือเหตุผล วัน/เดือน/ปี เสนออนุมัติ ปฏิบัติ สิ้นสุดแผน
การวางแผนพัฒนา (Development Planning) Todaro (1977) ความพยายามอย่างจริงจังของรัฐบาลที่จะเข้าไปมีบทบาทในการกกำหนดแนวปฏิบัติและควบคุมการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางเศรษฐกิจที่สำคัญๆ ของประเทศภายในระยะเวลาที่กำหนดเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายที่ต้องการ
การวางแผนพัฒนา (Development Planning) Waterston (1965) การวางแนวทางปฏิบัติในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ และเป็นการใช้ความพยายามที่ต่อเนื่องเพื่อเลือกแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการบรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ การวางแผนที่ดี :- การจัดทำเอกสารของแผน การใช้หลักเกณฑ์ทางวิชาการที่เหมาะสม การลงมือปฏิบัติตามแผนอย่างจริงจัง
การประเมินผลแผนและโครงการ การประเมินผลเป็นตัววัดที่จะแสดงผลสำเร็จ ล้มเหลว ปัญหา/อุปสรรคของแผนที่ปฏิบัติ Coralie Bryant และ Louise G. White (1982) ความพยายามอย่างหนนึ่งในการบันทึกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วกำหนดว่าทำไมสิ่งนั้นเกิดขึ้น ตามบทนิยามนี้ เป็นการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงโดยทั่วไป แง่ของแผนจึงเป็นความพยายามที่จะค้นหาว่า แผนและโครงการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง การเปลี่ยนแปลงเป็นไปตามที่ได้คาดหมายไว้เพียงใด
Carol H. Weiss (1972) = การพิจารณาคุณค่าโดยการตรวจสอบและการจัดสิ่งของ ปรากฏการณ์หรือความคิดของมนุษย์ และใช้เครื่องวัดบางอย่างที่ได้กำหนดไว้หรือเป็นที่เข้าใจอยู่แล้วก็ตาม
ขั้นตอนการประเมินผล 1. ขั้นเตรียมโครงการ (Pre–program Evaluation) ข้อมูลที่ใช้เป็นอย่างไร ใครเข้ามามีส่วนร่วม กำหนดข่ายโครงการ วิธีการวางโครงการ วัตถุประสงค์ จุดหมาย
ขั้นตอนการประเมินผล 2. ขั้นดำเนินการโครงการ (On–going Evaluation) วิธีปฏิบัติ ทรัพยากรที่ใช้ ผลที่ได้ ผลกระทบและประสิทธิภาพ 3. ขั้นภายหลังดำเนินการ (Ex-post Evaluation) ประสิทธิภาพและผลกระทบ ระยะเวลาที่มีผลกระทบ
บทบาทผู้เชี่ยวชาญการวางแผน พิจารณาหาแนวทางและความคิดใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ เสนอความคิดและแนวทางอย่างมีเหตุผล เป็นที่ยอมรับของผู้อื่น ติดต่อประสานงานฝ่ายปฏิบัติสม่ำเสมอเพื่อเรียนรู้วิธีการและปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน เก็บข้อมูล/สถิติเพื่อการวิเคราะห์และเป็นประโยชน์ในการวางแผนอนาคต
บทบาทผู้เชี่ยวชาญการวางแผน (ต่อ) ให้คำแนะนำ/คำปรึกษาแก่ผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับแผนต่างๆ ตามต้องการ ให้คำแนะนำ/คำปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามแผนหรือการควบคุมแผน ผู้ดำเนินการต้องยอมรับและให้ความสำคัญบทบาทสตรีและเยาวชน
บทบาทผู้เชี่ยวชาญการวางแผน (ต่อ) โครงการช่วยเหลือตัวเองของชุมชน จะให้ได้ผลรัฐต้องให้ความช่วยเหลืออย่างจริงจัง รัฐต้องมีนโยบายแน่นอน มีระบบการบริหารที่รู้ระเบียบ มีการฝึกอบรมบุคคล การใช้ทรัพยากรท้องถิ่นและชาติ มีการวิจัยและประเมินผล