โดยครูยโสธร สุขัมศรี โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม เชียงราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กระบวนการของการอธิบาย
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Gas Turbine Power Plant
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
Galileo Galilei.
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
จัดทำโดย…เสาวลักษณ์ ปัญญามี
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รูปถ่ายทางอากาศ รูปภาพบนพื้นโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยได้จากการส่งเครื่องมือถ่ายภาพระยะไกลด้วยกล้องในอากาศยาน เช่น.
แผ่นดินไหว.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
โยฮันเนส เคปเลอร์.
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ยิ้มก่อนเรียน.
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดยครูยโสธร สุขัมศรี โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม เชียงราย เทคโนโลยีอวกาศ โดยครูยโสธร สุขัมศรี โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม เชียงราย

เทคโนโลยีอวกาศ คือ การนำความรู้ เครื่องมือ และระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับอวกาศ และเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ

การสังเกตภาพดวงจันทร์ ภาพดวงจันทร์ที่สังเกตผ่านกล้องโทรทรรศน์ จะมีรายละเอียดมากกว่ากล้องสองตาและจากการมองด้วยตาเปล่า

การสังเกตภาพกระจุกดาวลูกไก่ ถ้ามองด้วยตาเปล่าจะเห็น ดาวประมาณ 6-7 ดวง ถ้ามองด้วยกล้องสองตา กำลังขยาย10เท่า จะมีดาวมากมายและมีสว่างประมาณ 7 ดวง แต่ถ้ามองด้วยกล้องโทรทรรศน์กำลังขยาย 50เท่า จะมีดาวมากมายและมีสว่างประมาณ 20 ดวง

กล้องสองตาหรือกล้องส่องทางไกล ประกอบด้วยเลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา ใส่ปริซึมไว้ ข้างในเพื่อสะท้อนแสงทำให้ลำกล้องสั้นลง ให้ภาพหัวตั้ง ประกอบด้วยตัวเลข สองจำนวนคือ 8X 40 8X หมายถึงมีกำลังขยาย 8 เท่า 40 หมายถึง เส้นผ่านศูนย์กลางเลนส์ใกล้วัตถุ 40 mm

กล้องโทรทรรศน์ ( Telescope) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส่องดูวัตถุในระยะไกลมาก เช่นดูดาว ช่วยขยายภาพวัตถุบนท้องฟ้า ให้มีรายละเอียดมากขึ้น แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1 ชนิดแสง 1.1 กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง (Reflacting Telescope ) 1.2 กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง (Reflecting Telescope ) 2 ชนิดวิทยุ เรียกว่า กล้องโทรทรรศน์ชนิดวิทยุ

กิจกรรม การสร้างกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงอย่างง่าย กิจกรรม การสร้างกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงอย่างง่าย จุดประสงค์ นักเรียน สามารถทดลองและสรุปหลักการของกล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสงอย่างง่ายได้ สรุปผลการทดลอง 1 กล้องโทรทรรศน์ประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน เลนส์เล็ก ความยาวโฟกัสสั้นเป็นเลนส์ใกล้ตา เลนส์ใหญ่ ความยาวโฟกัสยาวเป็นเลนส์ใกล้วัตถุ 2 ภาพที่ได้เป็นภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุ ขนาดขยาย

กาลิเลโอ เป็นคนแรกที่สร้าง กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง กาลิเลโอ เป็นคนแรกที่สร้าง กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง

กล้องโทรทรรศน์หักเหแสงอย่างง่าย เลนส์ใกล้วัตถุ ทำหน้าที่รับแสงวัตถุ ทำให้เกิดภาพจริง หัวกลับหน้าเลนส์ตา เลนส์ตา ทำหน้าที่ขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ภาพที่ได้จากกล้อง เป็นภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุ ไม่เหมาะกับงานสำรวจ เนบิวลา และกาแล็กซี เนื่องจากเทห์วัตถุประเภทนี้ มีความสว่างน้อย จำเป็นต้องใช้กำลังรวมแสงสูง เลนส์ขนาดใหญ่ที่มีความยาวโฟกัสสั้น สร้างยาก และมีราคาแพงมาก เลนส์ที่มีขนาดใหญ่ ทำให้ลำกล้องยาวและมีน้ำหนักมาก และยังมีปัญหาเรื่องความคลาดสี ไม่สะดวกต่อการใช้งาน

ความคลาดสี (Chromatic orberation) คือ ความผิดเพี้ยนของสี เพราะการที่แสงแต่ละสี หักเหด้วยมุมที่ไม่เท่ากัน เมื่อแสงผ่านเลนส์ จะเกิดจุดรววมแสงแต่ละสี ในระยะที่ต่างกัน ทำให้ ภาพที่ได้ไม่คมชัด มีสีรุ้ง อยู่ตามขอบโดยรอบ

การแก้ปัญหาความคลาดสี Chester Hall ได้พัฒนาระบบเลนส์ในกล้องเป็นระบบเลนส์คู่ เรียกระบบเลนส์ชนิดนี้ว่าเลนส์อรงค์ (achromatic lens) เขาพบว่าดัชนีหักเหของแสงในแก้วแต่ละชนิดต่างกัน จึงใช้แก้วคราวน์มาทำเลนส์นูนทำหน้าที่รวมแสงและ ใช้แก้วฟลินต์ทำเลนส์เว้าต่อจากแก้วคราวน์ เพื่อแก้สีกัน

กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง ประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน คือ 1. เลนส์ใกล้วัตถุ (Object lens) มีความยาวโฟกัสยาว ทำหน้าที่รับแสงจากวัตถุมาทำ ให้เกิดภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ 2. เลนส์ใกล้ตา (Eyepiece lens) มีความยาวโฟกัสสั้น ทำหน้าที่ขยายภาพ ภาพจะได้ภาพเสมือน หัวกลับกับวัตถุ

หลักการทำงาน กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง

สูตร กำลังขยายของกล้อง = สูตร ความยาวของกล้อง = fo + fe เมื่อ fo = ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ fe = ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตา

กล้องโทรทรรศน์หักเหแสง ที่ใหญ่ที่สุดในโลก อยู่ที่หอดูดาวเยอร์คส์ ในรัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร หรือ 40 นิ้ว

กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง ( REFLECTOR )

  กล้องโทรทรรศน์ชนิดนี้ถูกคิดค้นโดย "เซอร์ ไอแซค นิวตัน" จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า "กล้องโทรทรรศน์นิวโทเนียน" (Newtonian telescope) กล้องโทรทรรศน์ชนิดนี้ใช้กระจกเว้าแทนเลนส์นูน ทำให้มีราคาประหยัด กระจกขนาดใหญ่ให้กำลังรวมแสงสูง จึงเหมาะสำหรับใช้สังเกตการณ์ เทห์วัตถุที่อยู่ไกลมาก และไม่สว่าง เช่น เนบิวลา และ กาแล็กซี ถ้าเปรียบเทียบกับกล้องแบบหักเหแสง ซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากันแล้ว กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง จะมีราคาถูกกว่าประมาณสองเท่า

นิวตัน กับ กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง

กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง ประกอบด้วย กระจกเว้า 1 อัน ทำหน้าที่รับแสงจากวัตถุทำให้เกิดภาพ กระจกเงาระนาบ 1 อัน ทำหน้าที่รับภาพจากกระจกเว้าและสะท้อนภาพไปยังเลนส์ตา เลนส์ตา 1 อัน ทำด้วยเลนส์นูน ทำหน้าที่ ขยายภาพ

ในปัจจุบัน คือ กล้องเค้ก เกาะฮาวาย อเมริกา กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง ที่ใหญ่ที่สุด ในปัจจุบัน คือ กล้องเค้ก เกาะฮาวาย อเมริกา กระจกเว้ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เมตร

3. กล้องโทรทรรศน์ชนิดวิทยุ (Radio Telescope)

ส่วนประกอบของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ  1.หน่วยรับคลื่นหรือสายอากาศ (antenna)      2.เครื่องรับ (receiver)      3.หน่วยบันทึกข้อมูล         หน่วยรับคลื่นทำหน้าที่รวมพลังงานคลื่นวิทยุแล้วส่งมาตามสายหรือท่อนำคลื่นมาเข้าเครื่องรับ  ซึ่งจะขยายความเข้มขึ้นเป็นอย่างมาก  และแปรเปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรงส่งไปยังหน่วยบันทึกข้อมูล  ซึ่งเป็นเครื่องวัดกระแสไฟฟ้าตรงส่งไปยังหน่วยบันทึกข้อมูล  ซึ่งเป็นเครื่องวัดกระแสไฟฟ้าที่มีปากกาขีดเป็นเส้นกราฟซึ่งเรียกว่า  “เครื่องบันทึกแผ่นข้อมูล”         กล้องทรรศน์วิทยุสามารถทำงานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน  เมฆหมอกไม่มีผลรบกวนการรับคลื่นวิทยุซึ่งยาวกว่าคลื่นแสงมาก และสามารถทะลุผ่านเมฆหมอกในบรรยากาศของโลกและผ่านฝุ่นผงในที่ว่างระหว่างดวงดาวได้ด้วย 

กล้องโทรทรรศน์ชนิดแสง กล้องโทรทรรศน์วิทยุ ต้องใช้เลนส์นูนหรือ กระจกเว้ารวมแสงจากดาว 1. ใช้เสาอากาศรับคลื่นวิทยุ จากดวงดาว 2. ใช้ได้ขณะท้องฟ้าแจ่มใส 2.รับคลื่นวิทยุที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 0.01-35m แม้ทัศนวิสัยไม่ดีก็รับคลื่นได้ 3. เป็นกล้องขนาดเล็ก กล้องที่ใหญ่ที่สุด d= 236 นิ้ว 3. เป็นกล้องขนาดใหญ่ กล้องที่ใหญ่ที่สุด d= 1000 ฟุต 4. ส่องดูดาวที่อยู่ไกลๆ ไม่ได้ 4.สามารถรับคลื่นวิทยุจาก ดาวที่อยู่ไกลมากๆ ได้

ประโยชน์ของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ 1.ทำให้ทราบอุณหภูมิของดวงดาว 2.บอกตำแหน่งดวงดาวที่กล้องชนิดแสงส่องไม่เห็น 3.บอกถึงการเคลื่อนที่ของดาวที่เคลื่อนที่ออกหรือเข้าใกล้โลก 4.บอกขอบเขตของเอกภพ และเป็นหลักฐานในการอธิบายการเกิดของเอกภพ 5.ค้นพบวัตถุใหม่ ๆ เช่น ควอซาร์ และ พัลซาร์

ประการแรก ได้ภาพที่พร่ามัว ประการที่สอง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าบางชนิด เนื่องจากโลกมีบรรยากาศห่อหุ้ม ทำให้ ประการแรก ได้ภาพที่พร่ามัว ประการที่สอง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าบางชนิด เช่น รังสีเอกซ์ และ รังสีแกมมา ที่แผ่มาจากดาวไม่สามารถทะลุบรรยากาศโลกได้ ดังนั้นจึงสร้างกล้องโทรทรรศน์ขึ้นไปในอวกาศ

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล รับพลังงานช่วงคลื่นแสง ศึกษาข้อมูลด้านดาราศาสตร์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา รับพลังงานช่วงรังสีเอกซ์ ศึกษาข้อมูลด้านดาราศาสตร์

ชนิดของกล้อง ข้อดี ข้อเสีย กล้องโทรทรรศน์ บนโลก ต้นทุนในการสร้างไม่สิ้นเปลือง ใช้เทคโนโลยีไม่สูงเกินไป 1 . ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ตลอดเวลา เพราะมีเมฆหมอก 2. ส่องวัตถุท้องฟ้าได้ไกลเพียง 2 พันล้านปีแสง อวกาศ เก็บข้อมูลและวิจัยเกี่ยวกับ ดวงดาวและเอกภพได้อย่างกว้างขวางตลอดเวลาและไกลประมาณ 14,000 ล้านปีแสง ใช้งบประมาณมหาศาล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล และ กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา เป็นกล้อง ที่ถูกส่งไปโคจรรอบโลก เพื่อศึกษาข้อมูล ด้านดาราศาสตร์ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นแล้ว ส่งไปโคจรรอบโลก เพื่อประโยชน์ ด้านต่างๆ เรียกว่า ดาวเทียม (Artificial Satellite) ดังนั้นกล้องทั้งสองจัดเป็น ดาวเทียมชนิดหนึ่ง

ดาวเทียมมีประโยชน์หลายด้าน เช่น การสื่อสาร การทหาร การสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การสำรวจสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม การวิจัยการสำรวจโลก และมีรูปร่างต่างกันตามวัตถุประสงค์

สามารถสังเกตดาวเทียมในช่วงเวลาใด ในเวลาหัวค่ำ และ เช้ามืด เหตุผลเพราะ ดาวเทียมไม่มีแสงสว่างในตัวเองต้องได้รับแสงอาทิตย์ตกกระทบดาวเทียม แล้วสะท้อนแสง จากดาวเทียมมาเข้าตา จึงจะสามารถเห็นได้

ดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลกได้อย่างไร ดาวเทียมถูกส่งขึ้นไปโดยจรวดหรือยานขนส่งอวกาศ ดาวเทียมสามารถโคจรรอบโลกได้ โดยอาศัย หลักการเดียวกันกับ ดวงจันทร์โคจรรอบโลก คือ ณ ระดับความสูงจากผิวโลกระดับหนึ่ง ดาวเทียมจะมีอัตราเร็วในการโคจรรอบโลกที่ เหมาะสมค่าหนึ่ง และมีแรงโน้มถ่วงของโลก ดึงดูดดาวเทียมเป็นแรงสู่ศูนย์กลาง

จรวดเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่า ความเร็วหลุดพ้น = 11.2km/s หลักการส่งยานอวกาศ จรวดเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่า ความเร็วหลุดพ้น = 11.2km/s ปรับทิศให้ขนานกับผิวโลก และเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วโคจรรอบโลก จรวดอารีอานนำดาวเทียมไทยคมสู่วงโคจร

อัตราเร็วในโคจรรอบโลก ของดาวเทียมที่ความสูงต่างๆจากผิวโลก (km) อัตราเร็ว (km/hr) คาบในการโคจรรอบโลก1 รอบ 160 28,102 1 ชม 27.7 นาที 10,000 15,818 6 ชม 30.6นาที 35,880 11,052 24 ชม

ดาวเทียมดวงแรกของโลก สปุกนิก 1 ดาวเทียมดวงแรกของโลก สปุกนิก 1

วงโคจรดาวเทียม ดาวเทียมที่ใช้ในปัจจุบันมีวงโคจร ที่แตกต่างกันไป แล้วแต่ประเภทและ วัตถุประสงค์การใช้งาน การโคจรของดาวเทียมรอบโลก อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์เดียวกับบริวาร ของดาวเคราะห์

วงโคจรดาวเทียม แบ่งตามระดับความสูง ได้ 3 ระดับ วงโคจรระดับต่ำ สูงจากผิวโลกประมาณ 800 – 1,500 km วงโคจรระดับกลาง สูงจากผิวโลกประมาณ 9,900 – 19,800 km วงโคจรระดับสูง สูงจากผิวโลกประมาณ 35,000 km ที่ระดับนี้ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกไปทางเดียว และเร็วเท่ากับอัตราการหมุนรอบตัวเองของโลก

เหตุใดจึงเรียกว่า วงโคจรค้างฟ้า เหตุใดจึงเรียกว่า วงโคจรค้างฟ้า ดาวเทียมที่โคจรอยู่รอบโลก จากทิศตะวันตกไปตะวันออก อยู่เหนือศูนย์สูตรที่ระดับความสูง 35,000 km ใช้เวลาโคจรรอบละ 24 ชั่วโมงซึ่งเท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง ดาวเทียมจึงเคลื่อนที่ไปพร้อม ๆ กับโลก และเมื่อ เปรียบเทียบตำแหน่งบนโลก จะเห็นดาวเทียม ไม่เคลื่อนที่ เรียกว่า ดาวเทียมค้างฟ้า สถานี ติดต่อกับดาวเทียมบนโลกเล็งเสาอากาศไปทิศทาง เดิมตลอดเวลา ทำให้สะดวกในการใช้งาน

การส่งยานอวกาศและดาวเทียม จะอาศัย จรวดเพื่อใช้ในการขับเคลื่อน การออกแบบจรวดนิยม สร้างให้มีหลายท่อน เพื่อ บรรทุกเชื้อเพลิงได้มาก และ ลดมวลให้น้อยลง โดยการสลัดท่อนที่เชื้อเพลิงหมดทิ้งไป

จรวดแซตเทอร์น5 เป็นจรวดสำหรับขนส่ง ยานอพอลโล ไปยังดวงจันทร์

จรวด เป็นยานพาหนะ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เชื้อเพลิงในตนเอง เผาไหม้เป็นแก๊สพุ่งออกมาส่วนท้าย เคลื่อนที่ตามกฎข้อ 3 ของนิวตัน action = reaction

เหตุใดจรวดต้องบรรทุกออกซิเจนไปด้วย นำออกซิเจนไปด้วยเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในการนำ จรวดขึ้นสู่อวกาศ เนื่องจากการเผาไหม้ของ เชื้อเพลิงต้องมีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ เราเรียกเชื้อเพลิงจรวดและแก๊สออกซิเจนรวมกันว่า เชื้อเพลิงขับดัน (Propellant)

วงโคจรค้างฟ้า Geostationary Orbit อยู่สูงจากผิวโลกประมาณ 35,000 km ที่ระดับนี้ ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกไปทางเดียวกับโลกและมีความเร็วเท่ากับอัตราการหมุนรอบตัวเองของโลก เราจึงเหมือนว่า เห็นดาวเทียมอยู่ตำแหน่งเดิม หรือ เรียกว่า ดาวเทียมค้างฟ้า

ดาวเทียมต้องโคจรอยู่ระดับใด จึงจะสามารถส่งสัญญานได้ครอบคลุมพื้นที่ได้มากที่สุด ในวงโคจรค้างฟ้า ดาวเทียมสามารถส่งสัญญานครอบคลุมพื้นที่ในการติดต่อ 1/3 ของผิวโลก

ถ้าจะให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วโลก ต้องใช้ดาวเทียมอย่างน้อยกี่ดวง ถ้าจะให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วโลก ต้องใช้ดาวเทียมในวงโคจรนี้อย่างน้อย 3 ดวง

ดาวเทียมแบบวงโคจรค้างฟ้า มีการเคลื่อนที่หรือไม่ อย่างไร มีการเคลื่อนที่ โดยที่ ทิศทางการเคลื่อนที่ไปทิศเดียวกับที่โลกหมุนรอบตัวเอง ดาวเทียมใช้เวลาในการโคจรรอบตัวเอง 1 รอบเท่ากับเวลาที่หมุนรอบโลก 1 รอบ จึงทำให้ผู้สังเกตบนพื้นโลก เห็นดาวเทียม อยู่กับที่

ดาวเทียมไทยคม

ไทยคม (Thaicom) เป็นดาวเทียมสื่อสารของประเทศไทย เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาน ดาวเทียมมีทั้งหมด 5 ดวง ชื่อไทยคม นั้นได้รับพระราชทานจาก ร.9 โดยย่อ มาจาก Thai communications

ดาวเทียมไทยคมโคจรอยู่ในระดับใด ใช้ประโยชน์ด้านใด ดาวเทียมไทยคมโคจรอยู่ในระดับใด ใช้ประโยชน์ด้านใด ไทยคม 2 , 3 และ 5 อยู่ในวงโคจนค้างฟ้า อยู่ห่างจากผิวโลก ประมาณ 36,000 km ส่งผล ให้ตำแหน่งของดาวเทียมอยู่คงที่ตลอดเวลา เหมือนไม่เคลื่อนที่ ดาวเทียมทั้งสามจึงใช้ ประโยชน์ในการสื่อสาร เพราะจานสายอากาศและ ดาวเทียมจะหันหน้าเข้าหาโลกตลอดเวลา ทำให้ สามารถส่งสัญญานติดต่อสื่อสารระหว่างโลกกับ ดาวเทียมได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

ดาวเทียมอินเทลแซท

ดาวเทียมอินเทลแซท ทำหน้าที่เป็นสถานีรับส่ง คลื่นวิทยุสื่อสารเพื่อการพาณิชย์ โคจรอยู่เหนือ พื้นโลก 35,800 กิโลเมตร 3 แห่งคือ 1.เหนือมหาสมุทรอินเดีย (ยุโรป-เอเชีย) 2.เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก (เอเชีย-อเมริกา) 3.เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก (ยุโรป-อเมริกา) มีสถานีรับสัญญานอยู่ที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี

ดาวเทียมเทลสตาร์ = การสื่อสาร ดาวเทียมเทลสตาร์ = การสื่อสาร

ดาวเทียมปาลาปา ของอินโดนีเซีย ช่อง 7 สีใช้ส่งสัญญาน TV ช่อง 7 ไปทั่วประเทศไทย

ดาวเทียม GOES-J เป็นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาค้างฟ้า

ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจดวงจันทร์ นำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจดวงจันทร์ นำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ มีประโยชน์ในการพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศ เช่น ทำให้เกิดการพัฒนา ดาวเทียมที่ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น - สื่อสาร - การสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ - อุตุนิยมวิทยา

ดาวเทียมกับยานอวกาศ เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร ดาวเทียมกับยานอวกาศ เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร ดาวเทียม เป็นห้องทดลองที่บรรจุอุปกรณ์เอาไว้ แล้วส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกเพื่อประโยชน์ในด้าน ต่างๆ เช่น ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมอุตุ ดาวเทียมเพื่อการเดินเรือ ดาวเทียมเพื่อการศึกษา ดาวเทียมเพื่อการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ มีรูปทรงต่างๆ มีระยะเวลาในการโคจรรอบโลก แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับขนาดและระยะห่างของ วงโคจร

ยานอวกาศ เป็นยานพาหนะที่ทำขึ้นเพื่อใช้ใน การสำรวจอวกาศโดยมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน แบ่งยานอวกาศ ออกเป็น 2 ประเภท ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม ส่วนใหญ่ใช้สำรวจดวงจันทร์และห้วงอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ ตัวอย่างโครงการสำรวจดวงจันทร์ เช่น โครงการเรนเจอร์ โครงการเซอร์เวย์เยอร์ ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม ขึ้นไปเพื่อเพื่อเก็บข้อมูล ทดลอง หรือลงสำรวจดวงดาว เช่น โครงการเจมินี อพอลโล สกายแลบ อพอลโล-โซยูส

โครงการมารีเนอร์และกาลิเลโอ มีจุดประสงค์ในการสำรวจสิ่งใด โครงการมารีเนอร์และกาลิเลโอ มีจุดประสงค์ในการสำรวจสิ่งใด ทั้ง 2 โครงการเป็นโครงการของ สหรัฐอเมริกาที่ใช้ยานอวกาศที่ไม่มี มนุษย์ควบคุมสำรวจดาวเคราะห์ โครงการมารีเนอร์ สำรวจดาวพุธ ศุกร์ อังคาร พบว่าดาวพุธมีพื้นผิวคล้าย ดวงจันทร์ของโลก โครงการกาลิเลโอ สำรวจดาวพฤหัส

ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา Meteorological Satellite 1. ดาวเทียม NOAA ของ อเมริกา 2. ดาวเทียม GMS ของ ญี่ปุ่น k

ดาวเทียม NOAA ของ USA

ดาวเทียม GMS ของ ญี่ปุ่น

ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ประโยชน์ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา 1.ติดตามลักษณะอากาศ 2.คำนวณความเร็วลม,อุณหภูมิของอากาศแต่ละระดับ 3.ติดตามตำแหน่ง จำนวน และชนิดเมฆ 4.คำนวณปริมาณน้ำฝน ความชื้นของบรรยากาศ 5.ตรวจหิมะ น้ำแข็ง โอโซน และรังสีดวงอาทิตย์ 6.รวบรวมข้อมูลอุตุนิยม และส่งข่าวอุตุนิยมวิทยา

ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ 1. ดาวเทียมแลนแซท ของ อเมริกา 2. ดาวเทียมสปอต ของ ฝรั่งเศส 3. ดาวเทียมมอส1 ของ ญี่ปุ่น k

ดาวเทียมธีออส ใช้ประโยชน์ด้านใด THEOS : Thai Earth Observation Satellite เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลระยะไกล Remote sensing ใช้สำรวจทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับ ภัยพิบัติ ทางธรรมชาติรวมทั้ง การวางแผน การจัดการทรัพยากรภายในประเทศ

ดาวเทียมธีออส

ประโยชน์ดาวเทียม สำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ด้านป่าไม้ ด้านการใช้ที่ดิน ด้านการเกษตร ด้านอุทกวิทยา ด้านธรณีวิทยา ด้านสมุทรศาสตร์และการประมง ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการทำแผนที่

ยานอวกาศ ยานอวกาศ เป็นยานพาหนะที่ทำขึ้นเพื่อใช้ใน การสำรวจอวกาศโดยมีวัตถุประสงค์ ที่แตกต่างกัน มี 2 ประเภท คือ ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม

โครงการยานขนส่งอวกาศ ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม ยานเรนเจอร์ Moon ยานรูนาร์ออบิเตอร์ Moon ยานเซอร์เวเยอร์ Moon ยานไวกิ้ง อังคาร ยานแคสซินี เสาร์ - ยานมาริเนอร์ อังคาร พุธ ศุกร์ ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม โครงการเมอร์คิวรี โครงการเจมินี โครงการอพอลโล โครงการสกายแลป โครงการอพอลโล-โซยูส โครงการยานขนส่งอวกาศ ยานเรนเจอร์

ยานอวกาศ

เหตุใดจึงมีการสร้างยานขนส่งอวกาศขึ้นมาใช้ เพราะในการส่งดาวเทียมและยานอวกาศ แต่ละครั้ง ไม่มีส่วนใดนำกลับมาใช้ได้อีก เป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย นักวิทยาศาสตร์ จึงสร้างยานขนส่งอวกาศ โดยออกแบบให้ นำชิ้นส่วนกลับมาใช้ใหม่ให้มากที่สุด เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย

ยานขนส่งอวกาศ หรือ กระสวยอวกาศ

ยานขนส่งอวกาศของอเมริกา มี 6 ลำ ยานเอนเตอร์ไพร์ส เป็นยานทดสอบเบื้องต้น ยานโคลัมเบีย ระเบิดกลางอากาศขณะเดินทางกลับสู่โลก เสาร์ 1 ก.พ 2546 ยานดิสคัฟเวอรี่ ยานแอตแลนติส ยานเชลเลนเจอร์ ระเบิดขณะขึ้นสู่อวกาศ เมื่อ 28 ก.พ 2529 6. ยานเอนดีฟเวอร์ http://www.youtube.com/watch?v=v4ZrBSvHwyM http://www.youtube.com/watch?v=3VDJCqRKJVw

การใช้ชีวิตในอวกาศ สิ่งที่มนุษย์อวกาศต้องเผชิญขณะออกสู่อวกาศ มีดังนี้ - สภาพไร้น้ำหนัก - สภาพความดันและอุณหภูมิ - ภาวะแวดล้อมทั่วไป 1. อาหาร การกิน 2. การนอน 3. การออกกำลังกาย 4. การขับถ่าย

สภาพชีวิตในอวกาศ life in space

สภาพไร้น้ำหนักเหมือนกับสุญญากาศหรือไม่ ไม่เหมือน สภาพไร้น้ำหนัก คือ สภาพที่ไม่ อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก แต่ สุญญากาศ คือ สภาพที่ไม่มีอากาศ

ให้ยกสภาพไร้น้ำหนักบนโลก สภาพไร้น้ำหนักเกิดจากตัวเราเคลื่อนที่ลงสู่ ผิวโลกแบบเสรีแต่เกิดขึ้นไม่นานเพราะครู่เดียว ตัวเราก็ถึงผิวโลก เช่น ถ้าเราอยู่ในเครื่องบินขณะตกหลุมอากาศ ลิฟท์ขณะเริ่มเคลื่อนที่ลง จักรยานผาดโผนขณะลงจากที่สูง ช่วงที่กระโดดลอยตัว

สภาพไร้น้ำหนักบนโลก

อาหารมนุษย์อวกาศ สมัยแรกนักบินอวกาศต้องกินชิ้นอาหารที่แช่แข็ง กึ่งเหลวที่ บรรจุในหลอดอะลูมิเนียมแบบหลอดยาสีฟัน อาหารอวกาศที่ใช้ในโครงการเมอร์คิวรี เมื่อปี ค.ศ. 1962 มีทั้งที่บรรจุในหลอดและเป็นก้อนพอดีคำ ห่อหุ้มด้วยพลาสติก

ไล่จับลูกบอลน้ำส้มคั้น   

เจมส์ วอสส์ นักบินอวกาศที่เป็นวิศวกรเที่ยวบินบน สถานีอวกาศนานาชาติ ถ่ายภาพกับแอปเปิลสองผล ที่ลอยอยู่กลางอากาศในโมดูลซีเวสดาของสถานีอวกาศ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2544 (ภาพจาก NASA)

ถุงบรรจุอาหารกึ่งสำเร็จรูปที่ใช้ในโครงการอะพอลโล ก่อนรับประทานต้องเติมน้ำอุ่นเข้าไปตามท่อที่ก้นถุง ใช้ช้อนตักรับประทาน ในภาพเป็นเนื้อคลุกกับผัก (ภาพจาก NASA)

ถาดใส่อาหารแบบเดียวกับที่ใช้บนสถานีอวกาศสกายแล็บ (ภาพจาก NASA)

ริชาร์ด เซียร์ฟอสส์ ผู้บังคับการ ง่วนอยู่กับการจัดถุงบรรจุอาหารในกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 1998 (ภาพจาก NASA)