การวิจัยทางการท่องเที่ยว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
Advertisements

มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
วิจัย (Research) คือ อะไร
Learning Organization
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค
ประเภทของการวิจัย. แบ่งตามวัตถุประสงค์ ของการศึกษา การวิจัยเพื่อสำรวจ (Exploratory Research) การวิจัยเพื่อพรรณนา (Descriptive Research) การวิจัยเพื่ออธิบาย.
ส่วนผสมการตลาดและประโยชน์ที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการ สนามฟุตบอลในเวลากลางคืนและความพอใจของผู้ใช้บริการใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เสนอ โดยกลุ่มที่ 3.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ขั้นตอนการทำวิจัย และ การเขียนโครงร่างวิจัย รศ.ดร. ธวัชชัย วรพงศธร
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
การวิจัยเชิงคุณภาพ Qualitative Research
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
การวเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
Project based Learning
แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
เรวัต แสงสุริยงค์ ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการบริการสังคม (Research Method of Social Service) กระบวนการวิจัย เรวัต แสงสุริยงค์
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงปริมาณ
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 3 ความสำคัญและ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program.
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
Family assessment.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
การวิจัยทางธุรกิจ Business Research
วัตถุประสงค์การวิจัย
เทคนิคการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method Research Technique)
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
เทคนิคการนำเสนองาน Research Methodology.
บทที่ 8. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
Introduction to Public Administration Research Method
การทำความสะอาด (Cleaning)
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
การวางแผนงานสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิจัยทางการท่องเที่ยว Research in Tourism รหัสวิชา 151-008

บทที่ 2 การวิจัยทางการท่องเที่ยว Research in Tourism บทที่ 2 การวิจัยทางการท่องเที่ยว

สารสำคัญ ความหมายและความสำคัญของการท่องเที่ยว Research in Tourism สารสำคัญ ความหมายและความสำคัญของการท่องเที่ยว ความหมายและความสำคัญของการวิจัยทางการท่องเที่ยว วัตถุประสงค์ของการวิจัยในบริบทของการท่องเที่ยว ลักษณะรูปแบบและประเภทการวิจัยทางการท่องเที่ยว การวิจัยทางการท่องเที่ยว ที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยกำหนดไว้ กระบวนการในการวิจัยทางการท่องเที่ยว ประโยชน์ของการวิจัยทางการท่องเที่ยว

ความหมายและความสำคัญของการท่องเที่ยว Research in Tourism ความหมายและความสำคัญของการท่องเที่ยว ความหมายของการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว (Tourism) หมายถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดินทางจากสถานที่ แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ด้วยวัตถุประสงค์เผื่อพักผ่อนหย่อนใจ สนุกสนาน บันเทิง เริงรมย์ ประชุมสัมมนา ติดต่อธุรกิจ เยี่ยมญาติ โดยมีเงื่อนไข 3 ประการ การเดินทางจากที่อยู่อาศัยปกติไปยังที่อื่นเป็นการชั่วคราว การเดินทางด้วยความสมัครใจ การเดินทางด้วยวัตถุประสงค์ใด ๆ ก็ตามที่ไม่ใช่ประกอบอาชีพหรือหารายได้

ความหมายและความสำคัญของการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ความหมายและความสำคัญของการท่องเที่ยว (ต่อ) ความสำคัญของการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ทุกระดับ มีการ ขยายตัวอย่างต่อเนื่องมาเป็นธุรกิจการท่องเที่ยว จนกลายเป็นอุตสาหกรรมที่ ใหญ่ที่สุดในโลก การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมที่มีบทบาท ดังนี้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวนอกจากจะเป็นกิจกรรมของสังคมแล้ว กิจกรรมดังกล่าวยังมี ผลกระทบทั้งทางบวกและลบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

ความหมายและความสำคัญของการวิจัยทางการท่องเที่ยว Research in Tourism ความหมายและความสำคัญของการวิจัยทางการท่องเที่ยว ความหมายของการวิจัยทางการท่องเที่ยว การวิจัยทางการท่องเที่ยว (Research in Tourism) หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยว อย่างมีขั้นตอน และ เป็นระบบ โดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัย หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง และความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อกิจกรรมและ การพัฒนาทางการท่องเที่ยวของมนุษย์

ความสำคัญของการวิจัยทางการท่องเที่ยว Research in Tourism ความหมายและความสำคัญของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) ความสำคัญของการวิจัยทางการท่องเที่ยว ผลของการวิจัยทางการท่องเที่ยว นำมาวางแผนพัฒนาและส่งเสริมการ ท่องเที่ยวให้เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม และความต้องการของนักท่องเที่ยว โดยสรุป การวิจัยทางการท่องเที่ยว มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดของโลก โดยนำผลการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ให้เจริญก้าวหน้าและเป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม

วัตถุประสงค์ของการวิจัย Research in Tourism วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อแก้ปัญหา (Problem solving research) เพื่อสร้างทฤษฏี (Theory-developing research) ใช้อ้างอิง (Generalization) อธิบาย (Explanation) ทำนาย (Prediction) ควบคุม (Control) ปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อพิสูจน์ทฤษฏี (Theory testing research) เมื่อเวลาเปลี่ยน

จุดมุ่งหมายของการวิจัยด้านการโรงแรมและการท่องเที่ยว 1.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้หรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชา ความเป็นเอเชีย – แนวคิดในการบริหารจัดการด้านการโรงแรมและการบริการ 2. เพื่อให้ข้อมูลหรือข้อเสนอ แนะแก่ ผู้ประกอบการ หรือ ภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาด้านต่างๆ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจนำเที่ยวเที่ยวเชิงนิเวศ 3. เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจประเด็นต่างๆเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว และสามารถนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ แรงจูงใจในการเดินทางและพฤติกรรมนักท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวเกาหลีที่เดินทางมาประเทศไทย

4. เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวประเภทต่างๆ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบสมัยใหม่ในอีสานใต้ 5. เพื่อให้ข้อมูลหรือข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา การอนุรักษ์หรือรักษาทรัพยากรการท่องเที่ยว/แหล่งท่องเที่ยว การวางแผนจัดการเขาถ้ำเอราวัณเพื่อการท่องเที่ยวยั่งยืน 6.เพื่อข้อมูลหรือข้อเสนอแนะแก่ชุมชนและประชาชนในท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : กรณีศึกษา เขตเทศบาลเมือง จ.เพชรบุรี

วัตถุประสงค์ของการวิจัยในบริบทของการท่องเที่ยว Research in Tourism วัตถุประสงค์ของการวิจัยในบริบทของการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเป็นศาสตร์ที่อยู่ในสังคมศาสตร์ จึงเป็นการศึกษาวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในด้านพฤติกรรม ตลอดจนสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อ มนุษย์ โดยเฉพาะทางการท่องเที่ยวและการบริการ การวิจัยทางการท่องเที่ยว จึงเป็น การศึกษาหาความรู้เพื่อให้พบข้อเท็จจริง เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางท่องเที่ยวอย่างมีแบบแผนทางวิทยาศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวได้แก่ นักท่องเที่ยว ชุมชน ผู้ประกอบการ ตลอดจน สภาวะแวดล้อมในการดำเนินกิจกรรมทางการท่องเที่ยว เพื่อแก้ปัญหา เพื่อ อธิบายปรากฏการณ์ และเพื่อสร้างแนวทางที่เหมาะสม

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว ด้านเนื้อหาของการวิจัยทางการท่องเที่ยว ด้านวิธีวิจัยทางการท่องเที่ยว 1. ด้านเนื้อหาของการวิจัยทางการท่องเที่ยว มีการศึกษาในศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ เช่น ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ และ นฤตย์ นิ่มสมบูรณ์ (2541) ได้รวบรวมไว้ สามารถจำแนกได้ 16 ด้านดังนี้

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) การวิจัยทางการท่องเที่ยว จำแนกตามลักษณะเนื้อหาด้านต่าง ๆ 16 ด้าน การวิจัยด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง การวิจัยเกี่ยวกับการวางแผนและพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวเป็นหลัก เช่น การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในจังหวัดเพชรบูรณ์อย่างยั่งยืน การวิจัยทางจิตวิทยาของนักท่องเที่ยว หมายถึง การวิจัยที่เกี่ยวกับการศึกษาพฤติกรรมความพึงพอใจ และทัศนคติของนักท่องเที่ยวต่อกิจกรรมทางการท่องเที่ยว เช่น ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่างชาติต่อการให้บริการของตำรวจท่องเที่ยว. ถนนข้าวสาร กรุงเทพมหานคร 3. การวิจัยด้านการจัดการท่องเที่ยว หมายถึง งานวิจัยที่เกี่ยวกับการศึกษาเนื้อหา แนวทางแก้ไขปัญหา ผลกระทบด้านส่งแวดล้อม ที่เกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยว เช่น ศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชุมชนชาวเกาะ พะงัน

การวิจัยทางการท่องเที่ยว จำแนกตามลักษณะเนื้อหาด้านต่าง ๆ 16 ด้าน (ต่อ) การวิจัยด้านผลกระทบอันเกิดจากการท่องเที่ยว หมายถึง งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบอันเนื่องมาจากการท่องเที่ยวในด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เช่น การศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีต่อระบบนิเวศวัฒนธรรม จังหวัดสมุทรสงคราม การวิจัยด้านเศรษฐกิจ หมายถึง งานวิจัยเกี่ยวกับบทบาทของการท่องเที่ยว ที่มีผลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ เช่น ศึกษารูปแบบการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ 6. การวิจัยด้านการตลาด หมายถึง งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับกลยุทธ์ การพัฒนา แนวทางการตลาดของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เช่น ส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญในการท่องเที่ยวสวนเสือศรีราชา

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) การวิจัยทางการท่องเที่ยว จำแนกตามลักษณะเนื้อหาด้านต่าง ๆ 16 ด้าน (ต่อ) 7. การวิจัยด้านภาษากับการท่องเที่ยว หมายถึง งานวิจัยที่เกี่ยวกับการศึกษาบทบาทของ ภาษาต่าง ๆ ต่อกิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น งานวิจัยเรื่อง ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. ในพื้นที่ตำบลท่าคา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม การวิจัยด้านการบริการ หมายถึง งานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริการทางการท่องเที่ยว เช่น การบริหารและการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อรองรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การวิจัยด้านการศึกษาสาธารณูปโภค หมายถึง การวิจัยเกี่ยวกับบทบาทของสาธารณูปโภคพื้นฐานต่อการท่องเที่ยว เช่น การวิจัยเรื่องศักยภาพของระบบขนส่งสาธารณะและสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) การวิจัยด้านองค์กร หมายถึง งานวิจัยเกี่ยวกับบทบาทขององค์กรต่อกิจกรรมทางการท่องเที่ยว เช่น บทบาทขององค์กรท้องถิ่นต่อการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การวิจัยด้านธุรกิจท่องเที่ยว หมายถึง งานวิจัยเกี่ยวกับกิจกรรมทางธุรกิจ ท่องเที่ยว เช่น การพัฒนากิจกรรมทางการท่องเที่ยวเพื่อการท่องเที่ยวยั่งยืน การวิจัยด้านปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว หมายถึง งานวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว เช่น ปัจจัยที่ส่งผลกระทบทางลบต่อการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทย การวิจัยด้านการพัฒนาบุคลากร หมายถึง งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรทางการท่องเที่ยว เช่น แนวทางพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการท่องเที่ยวสำหรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) การวิจัยทางการท่องเที่ยว จำแนกตามลักษณะเนื้อหาด้านต่าง ๆ 16 ด้าน (ต่อ) การวิจัยด้านการลงทุนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว หมายถึง งานวิจัยเกี่ยวกับการลงทุนต่าง ๆ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่น แนวทางการส่งเสริมการลงทุนธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ การวิจัยด้านการปกครอง หมายถึง การวิจัยเกี่ยวกับการปกครอง กฎหมายและการท่องเที่ยว เช่น งานวิจัยเรื่อง ตำรวจท่องเที่ยวกับปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นกับนักท่องเที่ยว การวิจัยด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เช่น มาตรการทางกฎหมายในการอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน เช่น มาตรการทางกฎหมายในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : ศึกษาเฉพาะกรณีอุทยานแห่งชาติ

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) การวิจัยทางการท่องเที่ยว จำแนกตามองค์ประกอบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว หมายถึง ธุรกิจและบริการสิ่งอำนวยความสะดวกทุก ประเภทเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยวโดยตรง เช่น ธุรกิจนำเที่ยว โรงแรม ธุรกิจที่สนับสนุนการท่องเที่ยวให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้สึกสะดวกสบาย และพึงพอใจสูงสุด เช่น ธุรกิจของที่ระลึก ธุรกิจการค้าและบริการอื่น ๆ เช่น ร้านขายของ ธุรกิจรักษาพยาบาล การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและ การวิจัยการท่องเที่ยว

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) การวิจัยทางการท่องเที่ยว ที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยกำหนดไว้ 10 ด้าน การวิจัยเกี่ยวกับการคมนาคมขนส่งนักท่องเที่ยว การวิจัยเกี่ยวกับที่พักแรมของนักท่องเที่ยว การวิจัยเกี่ยวกับร้านอาหารและภัตตาคาร การวิจัยเกี่ยวกับบริการนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ การวิจัยเกี่ยวสิ่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยว การวิจัยเกี่ยวกับการขายของที่ระลึกและขายสินค้าพื้นเมือง การวิจัยเกี่ยวกับความปลอดภัย การวิจัยเกี่ยวกับการอำนวยความสะดวกในการเข้า-ออกเมือง การวิจัยเกี่ยวกับการจัดบริการอื่น ๆ สำหรับนักท่องเที่ยว การวิจัยเกี่ยวกับการเผยแพร่โฆษณา

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) 2. ด้านวิธีวิจัยทางการท่องเที่ยว ในการวิจัยทางการท่องเที่ยวสามารถนำวิธีการวิจัยแบบต่าง ๆ มาแบ่งประเภทการวิจัย ได้เป็น 5 ประเภท ซึ่งจะใช้เป็นกรอบในการนำเสนอวิธีการวิจัย ดังนี้ 2.1 การวิจัยทางการท่องเที่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย แบ่งได้ 3 แบบ > การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ -วิเคราะห์ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ในอดีตเกี่ยวกับการท่องเที่ยว > การวิจัยเชิงพรรณนา - ศึกษาเหตุการณ์ท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นปัจจุบัน - การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เช่น ประชากร พฤติกรรม - การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Research) เน้นศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไป > การวิจัยเชิงทดลอง มีการจัดการกระทำให้แตกต่างจากสภาพธรรมชาติ ทดลองและรวบรวมข้อมูล

ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) Research in Tourism ลักษณะรูปแบบของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) 2.2 การวิจัยทางการท่องเที่ยวกับลักษณะข้อมูล แบ่งได้เป็น 2 ประเภท การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่ค้นหาความรู้ ความจริง โดยอาศัยข้อมูลที่มีลักษณะ เป็นตัวเลขหรือปริมาณ และใช้สถิติต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีขั้นตอนและวิธีการที่มีลักษณะเฉพาะ ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้อมูล เชิงคุณภาพ เช่น ความรู้สึกนึกคิด ประวัติชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม ส่วนการรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสังเกต หรือสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หลังจากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปผล

Research in Tourism กระบวนการวิจัย ทางการท่องเที่ยว

ประโยชน์ของการวิจัยทางการท่องเที่ยว Research in Tourism ประโยชน์ของการวิจัยทางการท่องเที่ยว 1. มีความเข้าใจในความต้องการ และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวอย่างถ่องแท้ 2. มีข้อมูลสำคัญเพื่อใช้ประกอบการกำหนดทิศทางของธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว 3. มีนโยบายอย่างเป็นรูปธรรมสำหรับกลยุทธ์ที่สำคัญ และการตัดสินใจในการลงทุน บนพื้นฐานของข้อสมมติฐานที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว 4. เป็นการเพิ่มกระบวนการในการตัดสินใจอย่างเหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงในการ ตัดสินใจผิดพลาดหรือการลงทุนที่ไม่เหมาะสม 5. มีศูนย์กลางของข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 6. มีข้อมูลที่มีคุณค่าในการทำการตลาดและการขาย 7. เป็นการเก็บข้อมูลของผู้ที่ตอบแบบสอบถามเพื่อโอกาสในการทำการตลาดในอนาคต

Research in Tourism

-ให้เขียนชื่อวิจัยที่ให้ไปหาข้อมูลมา งานเดี่ยว Part 1 -ให้เขียนชื่อวิจัยที่ให้ไปหาข้อมูลมา ให้วิเคราะห์ เหตุผลที่ผู้วิจัยทำวิจัยเรื่องนี้ ให้เขียนวัตถุประสงค์การวิจัย ให้เขียนประชากรที่ผู้วิจัยทำการศึกษา Part 2 ให้เขียนบทนำ (ที่มาและความสำคัญ) จากหัวข้อที่คิดไว้ โดยดูตัวอย่างและวิธีการ จากงานวิจัยบทที่ 1 ที่ให้นำมา