หลักการวิเคราะห์ข่าวหรือสถานการณ์ปัจจุบันด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
ความหมายของการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เป็นรูปแบบของวิธีวิจัยประเภทหนึ่งซึ่งได้รับการนิยมอย่างมาก ต้องอาศัยเวลาและความละเอียดรอบคอบในการแยกแยะเนื้อหา เป็นการวิจัยที่ประหยัดค่าใช้จ่ายในการออกเก็บข้อมูลในภาคสนาม
หลักและวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา กำหนด “ประเด็น” หรือเรื่องที่ต้องการวิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ แจกแจง “หัวเรื่อง” ที่ต้องการนำมาวิเคราะห์ แยกแยะข้อมูลที่รวบรวมมา ตามหัวเรื่องที่กำหนดไว้ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติที่ได้จากการแยกแยะเนื้อหา
การนำหลักการวิเคราะห์เนื้อหามาใช้วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ใช้ในการวิเคราะห์ “ความสมดุล” (balance) ของข้อมูลข่าวสารที่สื่อมวลชนนำเสนอ ใช้วิเคราะห์วาทกรรมทางการเมือง (political discourse) ของนักการเมืองที่สนใจ ใช้วิเคราะห์ผลงาน หรือ ผลการดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล (policy implementation) ใช้วิเคราะห์แนวโน้มของสถานการณ์ทางการเมือง
ประโยชน์ของการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ทำให้การวิเคราะห์สถานการณ์มีความน่าเชื่อถือ ทำให้ผู้วิเคราะห์ได้ทำงานอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้รับสารได้รับข้อมูลการวิเคราะห์ที่ครบถ้วนและมีข้อมูลอ้างอิง ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่สามารถนำไปต่อยอดได้
แบบทดสอบการวิเคราะห์สถานการณ์ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา วาทกรรมเรื่องการเมืองหลังรัฐประหารของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ข้อกล่าวหาพ.ต.ท.ทักษิณของคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินฯ การก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ศึกษากรณีการฆ่ารายวัน อวสานไอทีวีกับการเกิดขึ้นของสถานีโทรทัศน์สาธารณะ การกลับเข้าสู่อำนาจทางการเมืองของพรรคไทยรักไทย ประเด็นการฟ้องคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งต่างๆ