ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
ครั้งที่ 1/2560 วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน 2559
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ทิศทางการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2559
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 19 ต.ค. 58

Set of 9 voluntary global NCD targets for 2025 ลดตายก่อนวัยอันควร จากโรค NCDs 25% ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% แอลกอฮอล์  การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (total APC) ไม่เกิน 6.4 ลิตร/คน/ปี ยาสูบ  ความชุกของการบริโภคยาสูบ ไม่เกิน 16.8 % HT  ภาวะความดันโลหิตสูง (ไม่เกิน 16.7 %) DM ภาวะเบาหวานและอ้วน (ไม่เกิน 6.9 %) NCDs  ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs (ไม่เกิน 12%) เป้าหมาย : ควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรค NCDs Decade of Road Safety 2011-2020 อุบัติเหตุจราจร ปี 63 อัตราตาย  50% จากปี 54

เป้าหมาย 59 วัยเรียน วัยรุ่น กลุ่มวัย วัยทำงาน จมน้ำ : อัตราตายไม่เกิน 6.5 ต่อแสน (เกิน 770 คน) ทีมก่อการดี (Merit Maker) อำเภอละ 1 ทีม ในพื้นที่เสี่ยงสูง วัยรุ่น ALC : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่ม ใน ปชก. 15-19 ปี ไม่เกิน 13 % ยาสูบ : อัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น (15-18 ปี) ไม่เกิน 10 % วัยทำงาน CVD : ผู้ป่วยรายใหม่ IHD ลดลง นำร่อง 15 จังหวัด องค์กรหัวใจดี (เทศบาลใน15 จังหวัด)  คลินิก NCD คุณภาพ : DM&HT ควบคุมน้ำตาล/ความดัน ได้ดี อุบัติเหตุ : ลดตายในช่วงเทศกาลปีใหม่และสงกรานต์ ด่านชุมชนทุกอำเภอในพื้นที่เสี่ยง ทีมสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มวัย (บูรณาการชาติ)

Quick Win สำหรับการดำเนินงานลดโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2559 NCD RTI จมน้ำ มาตรการ ขับเคลื่อนงานผ่าน DHS/DC มาตรการชุมชน (ด่านชุมชน) จัดการข้อมูลและสอบสวนอุบัติเหตุ มาตรการองค์กร PP Plan 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 2.สปก./สถานที่ทำงาน 3.บังคับใช้กม. 4.คลินิก NCD คุณภาพ 1.สร้างทีม “ผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ” 2.สื่อสารประชาสัมพันธ์ Service plan DM HT CKD & CVD MODEL เป้าหมาย พัฒนาทีมวิทยากรพี่เลี้ยง 1,000 คน อบรมพี่เลี้ยง 60 คน Pt. DM HTได้รับการประเมิน cvd risk 60% การบาดเจ็บและการเสียชีวิตภาพรวมในเทศกาลปีใหม่ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50% พัฒนา SM ระดับเขต 50% มีทีมผู้ก่อการดีเพิ่มอีก 200 ทีม (1 ทีม/อำเภอในพื้นที่เสี่ยงสูง) 3 M -มีการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง อย่างน้อย 600 แห่ง -ศูนย์เด็กเล็กได้รับการจัดการอย่างน้อย 200 แห่ง 6 M อบรมอสม.52,236 คน อบรมผู้ประเมินสปก.50 คน กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับการปป.พฤติกรรม 50% พัฒนา SM ระดับเขต 100% คัดกรอง CKD 60% การบาดเจ็บและการตายภาพรวมในเทศกาลสงกรานต์ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50 % พื้นที่ขับเคลื่อนงานผ่านDHS/DC Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) ขับเคลื่อนหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 70% Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) 9 M -เด็กได้เรียนหลักสูตรการว่ายน้ำฯ อย่างน้อย 20,000 -อุบัติเหตุของรถพยาบาลลดลงจากปีที่ผ่านมาในช่วงเวลาเดียวกัน -Pt. DM HT คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า -Pt. DM HT มีภาวะแทรกซ้อนไต stage3 ขึ้นไป ลดลง -ดำเนินการคลินิก NCD คุณภาพ ในทุกโรงพยาบาล ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ 70% สปก.ได้รับข้อมูลดำเนินงานสปก. 5% ของทั้งหมด Pt.รายใหม่ด้วย IHD ลดลง 12 M การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี < 770 คน (< 6.5 ต่อปชก.เด็กต่ำกว่า 15 ปีแสนคน) -อัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนนของเขตลดลงอย่างน้อย 21%

กรอบการดำเนินงานสำหรับ NCDs 4 การเปลี่ยนแปลง (Metabolic risk factor) 1. ความดันโลหิตสูง * 2. น้ำตาลในเลือดสูง * 3. น้ำหนักเกินและโรคอ้วน * 4. ไขมันในเลือดผิดปกติ * 4 กลุ่มโรค 1. หัวใจและหลอดเลือด(CVD) 2. เบาหวาน 3. มะเร็ง 4. โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง 4 พฤติกรรมเสี่ยง (behavioral risk factor) 1. สูบบุหรี่ * 2. ดื่มแอลกอฮอล์ 3. การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 4. กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ปชช.มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดปัจจัยเสียงต่อโรคไม่ติดต่อ ปชช.ได้รับการประเมินและจัดการเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด ผลผลิต มาตรการ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร ตำบลจัดการสุขภาพ สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัยฯ การบังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่) พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล คลินิก NCD คุณภาพ การจัดบริการคลินิกโรค CKD การประเมินและจัดการโอกาสเสี่ยงต่อ CVD DHS + System Manager ระดับจังหวัด/อำเภอ คัดกรอง DM&HT Basic Service ขับเคลื่อน KPI จังหวัด - คลินิก NCD คุณภาพ > 70% - CVD Risk > 30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม KPI เขต - DM,HT controlled 40/50% DM,HT รายใหม่ลดลง KPI ประเทศ - อัตราป่วยรายใหม่ IHD ลดลง

รูปแบบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ประเภทและขอบเขตบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค -ผู้ที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค CVD หรือ DM หรือ HT และยังไม่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในรอบ 5 ปี -เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน คือ Thai CV Risk Score -สามารถตรวจไขมันโคเลสเตอรอลรวมและไขมัน HDL ทุก 5 ปี เพื่อใช้ประเมินฯ กรณีทราบผล cholesterol กรณีไม่ทราบผล cholesterol ในเลือด

รูปแบบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) จังหวัดที่มีอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด (IHD) 15 จังหวัดแรกใน ปีพ.ศ. 2556 เขต 1 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 11 ราชบุรี จันทบุรี แพร่ น่าน นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี อ่างทอง สระบุรี อยุธยา นครนาย ลพบุรี สิงห์บุรี พังงา ชุมพร ในชุมชน ในสถานบริการ การสื่อสาร/รณรงค์ เพื่อสร้างกระแสการป้องกันโรค CVD การสื่อสารเตือนภัยอาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างสภาพแวดล้อม เช่น การจัดกิจกรรมและสถานที่ออกกำลังกาย ประเมิน CVD Risk ในผู้ป่วย DM HT จัดบริการตามความเสี่ยง -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น -ให้การดูแลรักษาด้วยยาตามข้อบ่งชี้ ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ CVD ร้อยละ 60 กลุ่มเสี่ยงสูง (Score > 30%) ได้รับบริการเข้มข้น ร้อยละ 50 กลุ่มเสี่ยงสูง -ควบคุมปัจจัยเสี่ยงได้ -ลดโอกาสเสี่ยงลง

สถานการณ์โรคไตเรื้อรังในไทย CKD Stage (%) MDRD I II III IV V Total 3.3 5.6 7.5 0.8 0.3 17.5 ไม่รู้ตัวว่าเป็น (%) 99.21 97.94 94.37 76.92 33.33 รู้ตัวว่าเป็น (%) 0.79 2.06 5.63 23.08 66.67 กว่า 8 ล้านคน สาเหตุของโรคไตระยะสุดท้าย ปี 2555 DM = 37.5% HT = 25.6% Unknown = 23.9% แหล่งข้อมูล: Thai SEEK Study 2010

แนวทางคัดกรองผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโรงพยาบาลคลองขลุง ตรวจ eGFR และ Urine Analysis (UA) ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือ โรคความดันโลหิตสูง ผลการตรวจเข้าเกณฑ์การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง ตรวจ eGFR และ UA ซ้ำ หลังจากตรวจครั้งแรก ≥3 เดือน เพื่อยืนยัน ผลการตรวจยืนยันการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง eGFR ≥ 60 eGFR 15-59 (CKD stage 3-4) eGFR <15 UA dipstick Refer ร.พ.จังหวัด เข้าคลินิกโรคไตเรื้อรัง UA dipstick prot ≥ +1 UA normal F/U 1 ปี ส่งรายชื่อให้สถานีอนามัย eGFR และ UAทุก 1 ปี

เครือข่ายเยี่ยมบ้าน “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย” กิจกรรมการให้บริการในโรงพยาบาลคลองขลุง พบพยาบาล : สัมภาษณ์อาการ วัด V/S 5 นาที ดู VDO ความรู้โรคไต&การป้องกัน 15 นาที พบนักโภชนากร : nutrition 15 นาที พบเภสัชกร : medication 10 นาที พบนักกายภาพบำบัด : Exercise 10 นาที พบแพทย์ : clinical & lab 5 นาที เครือข่ายเยี่ยมบ้าน “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย” รพ.สต มีเจ้าหน้าที่แห่งละ 3-5 ท่าน ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเฉลี่ย รพ.สต.ละ 25-30 ราย อสม. คัดเลือกตัวแทนหมู่บ้านละ 1 คน (ประมาณ 80 คน) เก็บข้อมูลความดันโลหิต บันทึกรายการอาหาร ตรวจการใช้ยา ผู้ดูแล ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร

กรอบแนวคิดรูปแบบการดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรังและชะลอความเสื่อม 15 จังหวัดที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วย DM สูง แพร่ เพชรบูรณ์ สุโขทัย อ่างทอง สมุทรสงคราม ตราด สกลนคร อุดรธานี บึงกาฬ มุกดาหาร ยโสธร ภูเก็ต กระบี่ พัทลุง ตรัง ผู้ป่วย DM HT ได้รับการตรวจวินิจฉัยโรคไต eGFR >60 ml/min ใน รพสต. คลินิก NCD /CKD Clinic ทีมสหวิชาชีพ อายุรแพทย์โรคไต อายุรแพทย์ เฝ้าระวัง ติดตาม และการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในชุมชน การสร้างความตระหนักในประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง การจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน ได้รับคำปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับการดูแลตามมาตรฐานการบริการ ตามระยะของโรค เพื่อชะลอความเสื่อมของไต การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความเข้มแข็ง

ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 เสียชีวิต สนย. (มรณบัตร) 13,244 13,766 14,033 14,059 14,789 Integrated 3 ฐาน (สธ.+ตร.+บ.กลาง) 23,390 22,841 22,438 WHO 26,312 24,237 บาดเจ็บ ผู้ป่วยนอก OPD 1,461,400 1,331,194 1,407,820 1,044,757 1,050,088 ผู้ป่วยใน Admitted 142,501 145,484 136,544 110,777* 107,123* พิการ 4.6% ของผู้ป่วย Admitted 6,555 6,692 6,281 5,096 Admitted จยย. 112,731 115,441 108,065 84,932 Head injury จยย. 63,552 66,355 61,506 48,906

กรอบการขับเคลื่อนงานอุบัติเหตุทางถนน ของกระทรวงสาธารณสุข เครดิต : นพ. ธนพงษ์ จินวงศ์

กรอบการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ปี 2556 มีคนไทยตายเกือบ 23,000 คน (คิดเป็นอัตราตาย 38 ต่อประชากรแสนคน) บาดเจ็บสาหัสกว่า 200,000 ราย บาดเจ็บเล็กน้อยอีก 1,050,088 ราย ผลกระทบต่อความสูญเสียของประเทศปีละ 2 แสนกว่าล้านบาท ส่วนกลาง DHS/DC ส่วนกลาง พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลเฝ้าระวัง ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ มาตรการจัดการข้อมูล ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา สคร. อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง Quick Win : ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) จัดตั้ง EOC ช่วงเทศกาล มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย

ขอบคุณครับ