เรื่องระบบบาร์โค้ด จัดทำโดย รหัส 0025183 นายวีระยุทธ คำวงศ์ เลขที่ 7 รหัส 0025215 นางสาววิญาดา สมบูรณ์ เลขที่ 8 รหัส 0025271 นางสาวพินิตตา ทองหลอด เลขที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
Entity-Relationship Model E-R Model
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
รายชื่อกลุ่ม 1.นางสาว ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค (พลอย) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์ 2.นางสาว พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ (มุก) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ACCOUNTING FOR INVENTORY
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องระบบบาร์โค้ด จัดทำโดย รหัส 0025183 นายวีระยุทธ คำวงศ์ เลขที่ 7 รหัส 0025215 นางสาววิญาดา สมบูรณ์ เลขที่ 8 รหัส 0025271 นางสาวพินิตตา ทองหลอด เลขที่ 9 เสนอ อาจารย์ มณรัตน์ นิ่มสกุล รหัสวิชา 3214-2003 (ปวส ) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ ประจำปีการศึกษา 2558

ระบบบาร์โค้ดมีลักษณะอย่างไง ประโยชน์บาร์โค้ดในการประกอบธุรกิจ ประเด็นคำถาม ระบบบาร์โค้ดมีลักษณะอย่างไง ประโยชน์บาร์โค้ดในการประกอบธุรกิจ ชนิดของระบบบาร์โค้ด

Keyword (คำศัพท์และความหมาย) Check Digit decode algorithms Global Trade Item Number: GTIN  Global Location Number : GLN

เนื้อหา บาร์โค้ด คือ สัญลักษณ์รหัสแท่งที่ใช้แทนข้อมูลตัวเลขหรือตัวอักษร โดยประกอบด้วยแท่งบาร์สีเข้มและช่องว่างสีอ่อนเรียงสลับกัน สัญลักษณ์ที่อยู่ในรูปของแท่งบาร์มีไว้ให้เครื่องอ่าน (Scanner) สามารถอ่านเพื่อรับ และส่งข้อมูลได้อย่างอัตโนมัติ

ชนิดของบาร์โค้ด    - GTIN 13 เป็นบาร์โค้ดที่ใช้ติดบนสินค้าสำหรับขายปลีกทั่วไป

- GS1-128 เป็นบาร์โค้ดที่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษร จึงสามารถบันทึกข้อมูลของสินค้าได้มาก เช่น หน่วยวัดต่างๆ,เลขหมายลำดับการขนส่ง,เลขหมาย batch/lot,วันหมดอายุและสถานที่ตั้ง เป็นต้น ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการด้าน โลจิสติกส์ และซัพพลายเชนและระบบการสืบค้นย้อนกลับ (traceability) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

10 ขั้นตอนการ ประยุกต์ใช้บาร์โค้ด     10 ขั้นตอนการประยุกต์ใช้บาร์โค้ด เพื่อยกระดับในการดำเนินธุรกิจ เป็นการรวบรวมกระบวนการหลักที่สำคัญของการใช้งานบาร์โค้ดให้เกิดประโยชน์และ ประสิทธิภาพต่อการดำเนินธุรกิจ อีกทั้งสามารถนำไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้งานบาร์โค้ดได้ อย่างแท้จริง โดย 10 ขั้นตอนมีดังนี้          Step 1 การกำหนดเลขหมายนำหน้าบริษัท          Step 2 การกำหนดเลขหมายประจำตัวสินค้า          Step 3 การเลือกวิธีจัดพิมพ์บาร์โค้ด          Step 4 การเลือกคุณลักษณะขั้นต้นของการสแกนบาร์โค้ด          Step 5 การเลือกใช้บาร์โค้ดสำหรับผลิตภัณฑ์          Step 6 การเลือกขนาดของบาร์โค้ด          Step 7 รูปแบบการกำหนดตัวอักษรในบาร์โค้ด          Step 8 การเลือกคู่สีของแท่งบาร์โค้ด          Step 9 การวางตำแหน่งบาร์โค้ด          Step 10 วางแผนควบคุมคุณภาพบาร์โค้ด

การตรวจสอบคุณภาพบาร์โค้ด     ปัจจุบัน มีการใช้เทคโนโลยีบาร์โค้ดตามระบบมาตรฐานสากล GS1 ในการบริหารจัดการร่วมกับ Software ต่าง ๆ ในการดำเนินงานธุรกิจอย่างกว้างขวาง เช่น การชำระเงิน ณ จุดขาย, การสแกนรับสินค้าเข้า Stock หรือตัดจ่ายสินค้าออกจาก Stock, การบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ทางด้าน Traceability เป็นต้น และสามารถใช้งานได้กับทุกหน่วยงานใน Supply Chain ตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่ได้เล็งเห็นความสำคัญของบาร์โค้ดมากขึ้น สังเกตได้จากมีการตั้งข้อกำหนดทางการค้าที่เกี่ยวกับบาร์โค้ดเกิดขึ้น เช่น ในการนำสินค้าเข้าห้างต้องมีการติดบาร์โค้ดที่ตัวสินค้า หรือการติดต่อค้าขายกับบางประเทศจะมีการขอใบรับรองคุณภาพบาร์โค้ด ซึ่งหากบาร์โค้ดของสินค้ามีปัญหาไม่สามารถสแกนได้จะเกิดผลกระทบตลการตรวจสอบคุณภาพบาร์โค้ด (Barcode Verification) ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกๆ จุดของ Supply Chain และมั่นใจได้ว่าบาร์โค้ดที่ผลิตออกมาในแต่ละ Lot ได้คุณภาพหรือไม่นั้น จำเป็นต้องมีการการทดสอบ และเปรียบเทียบสัญลักษณ์กับมาตรฐานคุณภาพของการพิมพ์ และข้อมูล เพื่อให้ทราบว่าบาร์โค้ดอ่านค่าได้ดีแค่ไหน เพื่อทำให้เกิดความมั่นใจว่าสัญลักษณ์ จะทำงานตรงตามวัตถุประสงค์ในทุก ๆ ขั้นตอนที่สินค้าเคลื่อนที่ในสาย Supply Chain เพื่อลดปัญหาระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อ หรือต้นทุนที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในการตรวจสอบคุณภาพบาร์โค้ดนั้นไม่สามารถใช้เครื่องสแกนทั่วไปในการตรวจ สอบได้ แต่ต้องใช้เครื่องมือเฉพาะที่เรียกว่า Barcode Verifier เนื่องจากว่า เครื่องสแกนถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการอ่านเท่านั้น แต่เครื่อง Barcode Verifier จะถูกออกแบบมาเพื่อทำการวัดค่าต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นซึ่งส่งผลต่อคุณภาพของบาร์โค้ด และสามารถทราบได้ว่าต้องปรับปรุงบาร์โค้ดที่จุดใดเพื่อให้ได้คุณภาพตาม มาตรฐานที่กำหนด อีกทั้งเครื่องสแกนแต่ละตัวมีคุณสมบัติที่ต่างกัน เช่น ขนาดของรูรับแสง ระบบการถอดรหัส (decode algorithms) ดังนั้นถ้าเครื่องสแกนเครื่องหนึ่งสามารถอ่านได้ ไม่ได้หมายความว่าเครื่องสแกนเครื่องอื่นๆจะสามารถอ่านสัญลักษณ์บาร์โค้ดนี้ ได้เช่นเดียวกัน     สถาบัน รหัสสากล ได้ให้บริการรับตรวจสอบคุณภาพบาร์โค้ดตามมาตรฐาน ISO/IEC15416 และมาตรฐานสากล GS1 พร้อมทั้งออกใบรับรองผลการตรวจสอบคุณภาพบาร์โค้ด โดยมีอัตราค่าตรวจสอบอดทั้ง Supply Chain บาร์โค้ดจึงเป็นตัวแปรสำคัญในการดำเนินธุรกิจ

การคำนวณตัวเลขตรวจสอบ (Check Digit)       เลขตรวจสอบ (Check Digit) เป็นหมายเลขหลักสุดท้ายที่วางอยู่ในตำแหน่งขวาสุดของชุดตัวเลขบาร์โค้ด และ “Check Digit” นี้เกิดขึ้นจากการคำนวณเท่านั้น ซึ่งจะไม่สามารถระบุกำหนดค่าตัวเลขนี้เองได้ เนื่องจากหากมีการระบุให้หลักสุดท้ายเป็นเลข 9 หรือเลขอื่นตามที่ต้องการนั้น ทั้งๆ ที่ Check Digit ที่คำนวณออกมาไม่ใช่เลขนั้น ก็จะมีปัญหาเกิดขึ้นทันที คือ เครื่องสแกนเนอร์จะไม่สามารถอ่านค่าสัญลักษณ์บาร์โค้ดนั้นได้

เลขหมายประจำตัวสินค้า (Global Trade Item Number: GTIN)        การระบุตัวตนของสินค้า (Identification of Trade Items) อาศัยเลขหมายประจำตัวสินค้าสากล (GTIN : Global Trade Item Number) โดยเลขหมายดังกล่าวใช้บ่งชี้เฉพาะรายการสินค้า ที่ใช้ในการทำธุรกรรมธุรกิจทั่วโลก ซึ่งหมายถึงรายการใดๆ ก็ตามไม่ว่าจะเป็นตัวสินค้าหรือบริการ ที่สามารถใช้ในการอ้างอิงเพื่อจัดเก็บและค้นหาข้อมูลในระบบฐานข้อมูลระหว่าง คู่ค้า อาทิเช่น ชนิดสินค้า, การกำหนดราคา, การสั่งซื้อ, หรือการจัดส่งสินค้า เป็นต้น โดยเลขหมายประจำตัวสินค้าจะประกอบด้วย รหัสประเทศ, เลขหมายประจำตัวสมาชิกหรือรหัสประจำตัวบริษัท, รหัสประจำตัวสินค้าที่ผู้ใช้งานเป็นผู้กำหนดเอง และตัวเลข

เลขหมายประจำตำแหน่งที่ตั้ง (Global Location Number : GLN)       เลขหมาย GLN ถูกนำมาใช้เพื่อบ่งชี้ การเป็นหน่วยงานที่ถูกต้องทางกฏหมายของการเป็นองกรหนึ่ง หรือบริษัทใดบริษัทหนึ่ง เลขหมาย GLN นี้ยังถูกนำมาใช้บ่งชี้สถานที่ตั้งทางกายภาพ หรือหน้าที่ของหน่วยงาน และแผนกงานในองค์กร      เลขหมายประจำตำแหน่งที่ตั้งสากล หรือ GLN เป็นเลขหมายบ่งชี้ที่ใช้แทนหน่วยที่ตั้งองค์กรทางกายภาพหรือหน่วยทางหน้าที่ หรือหน่วยงานที่ถูกต้องทางกฏหมาย การใช้เลขหมายประจำตำแหน่งเหล่านี้ เป็นข้อกำหนดบังคับเบื่องต้น สำหรับการใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีประสิทธิภาพ

การ ใช้งานบาร์โค้ด GS1 DataBar นอกจากจะมีการใช้กับสินค้าปลีกแล้ว สามารถใช้กับสินค้าส่ง ณ จุดกระจายสินค้าได้อีกด้วย เนื่องจากโครงสร้างของ GS1 DataBar นั้นรองรับระบบ GTIN-14 ที่สามารถรวมอยู่ในสัญลักษณ์บาร์โค้ด GS1 DataBar จึงเป็นไปได้ว่าจะมีการใช้งาน DataBar เพื่อการกระจายสินค้าใน ประโยชน์ของ GS1 DataBar ที่มีต่อธุรกิจ        1. สามารถระบุความแตกต่างของสินค้าได้เป็นรายชิ้น        2. เพิ่มความแม่นยำในการบ่งชี้ตัวสินค้าที่มีปริมาณน้ำหนักที่ไม่แน่นอน        3. ลดกระบวนการควบคุมการทำงาน        4. เพิ่มความสามารถในการสืบย้อนกลับ        5. เพิ่มประสิทธิภาพในการเติมเต็มสินค้าในคลังสินค้า        6. จัดการในส่วนที่บาร์โค้ดในระบบเดิมไม่ครอบคลุม        7. ช่วยในการจัดการข้อมูลให้สะดวกขึ้น        8. สามารถใส่ราคาสินค้าได้มากกว่า 4 หลัก (ระบบเดิมระบุได้เพียง 99.99)        9. ช่วยจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผู้จำหน่าย หรือวันที่หมดอายุ        10. ช่วยจัดการข้อมูลในส่วนของน้ำหนักสินค้า             

11. เพิ่มความสามารถในการสแกนที่ใช้ร่วมกับสินค้าที่มีขนาดเล็ก 12 11. เพิ่มความสามารถในการสแกนที่ใช้ร่วมกับสินค้าที่มีขนาดเล็ก        12. ทำให้ทราบถึง ECR (Efficient Consumer Response)        13. ตอบสนองความสามารถของผู้ซื้อสินค้าได้มากกว่าระบบบาร์โค้ด        14. ความสามารถในการควบคุมการลดราคาสินค้า        15. สามารถสืบย้อนกลับข้อมูลของประเทศผู้ผลิต        16. ความสามารถในการระงับการขายสินค้าที่หมดอายุ และการเรียกคืนสินค้า        17. เพิ่มความพอใจของลูกค้าที่สามารถสืบย้อนกลับ ตัวอย่างสัญลักษณ์ GS1 DataBar ในรูปแบบต่างๆ       1. GS1 DataBar Stacked Omnidirectional เหมาะสำหรับการระบุสินค้าอาหารสด และสินค้าที่มีขนาดเล็ก สามารถบันทึกข้อมูลเลขหมาย GTIN เท่านั้น     2. GS1 DataBar Omnidirectional เหมาะสำหรับการระบุสินค้าที่มีขนาดเล็ก สามารถบันทึกข้อมูลเลขหมาย GTIN เท่านั้น     3. GS1 DataBar Expanded เหมาะสำหรับการระบุสินค้าที่มีปริมาตรน้ำหนักที่ไม่แน่นอน สามารถบันทึกข้อมูลเลขหมาย GTIN และรายละเอียดที่จำเป็นเพิ่มเติมได้     4. GS1 DataBar Expanded Stacked เหมาะสำหรับการระบุสินค้าที่มีปริมาตรน้ำหนักที่ไม่แน่นอน สามารถบันทึกข้อมูลเลขหมาย GTIN และรายละเอียดที่จำเป็นเพิ่มเติมได้รับข้อมูลของสินค้าได้ด้วยตนเองนาคต

เรียกโดยทั่วไปว่า เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Reader) ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น สแกนเนอร์อ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) ใช้ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เราเห็นตามร้านสะดวกซื้อ อุปกรณ์ที่ใช้อ่านบาร์โค้ด ประเภทของบาร์โค้ด

อุปกรณ์อ่านบาร์โค้ดแบบพกพา (Barcode Handheld Mobile Computer) ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ด แล้วแสดงข้อมูลบนคอมพิวเตอร์มือถือได้เลย ส่วนมากใช้ในงานภาคอุตสาหกรรม โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน (Smart Phone) ซึ่งสามารถติดตั้งโปรแกรมสำหรับอ่านบาร์โค้ด ด้วยการถ่ายรูปบาร์โค้ดแล้วอ่านค่าออกมาได้ หลายคนคงเคยลองใช้มาแล้ว

คำถาม 1. บาร์โค้ด คืออะไร 2. ชนิดของบาร์โค้ดGTIN 13และ GTIN 14 ใช้บ่งบอกถึงการทำงานอะไร 3. บาร์โค้ดมีทั้งหมดกี่ขั้นตอนและอะไรบ้างขั้นตอนการประยุกต์ใช้ 4. ประโยชน์ของ GS1 DataBar ที่มีต่อธุรกิจมีอะไรบ้าง 5. เลขหมายประจำตัวสินค้า (Global Trade Item Number: GTIN มีประโยชน์อย่างไร