สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Advertisements

Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กฎหมายพาณิชย์
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยและสัดส่วน
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์และการแปลผล
การวิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรหลาย ตัว
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
การวิเคราะห์แปลผลข้อมูล
การออกแบบ การวิจัย.
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
Multistage Cluster Sampling
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วัตถุประสงค์การวิจัย
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Statistical Method for Computer Science
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การสำรวจตามกลุ่มอายุ สำนักทันตสาธารสุข
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
การนำเสนอผลงานการวิจัย
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
Chapter 9: Chi-Square Test
ชื่อเรื่อง บทนำ วัตถุประสงค์ของการวิจัย การอภิปรายผล
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
บทที่ 6 การออกแบบการวิจัย
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียน ให้เป็นคนดีของสังคม
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
สถิติเพื่อการวิจัย อัญชลี จันทาโภ.
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ

หัวข้อบรรยาย ความหมายและประเภทสถิติอ้างอิง ความแตกต่างระหว่างสถิติพาราเมตริกซ์และสถิตินันพาราเมตริกซ์ สถิติและหลักการเลือกใช้สถิติความแตกต่างของค่าเฉลี่ย สถิติและหลักการเลือกใช้สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปร

Inferential Statistics Parametric statistics Non-parametric สถิติอ้างอิง Inferential Statistics Parametric statistics Non-parametric

ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความแปรปรวนไม่เท่ากัน t-test One sample Two samples Independent ความแปรปรวนเท่ากัน ความแปรปรวนไม่เท่ากัน Dependent ANOVA One way ANOVA Two ways ANOVA

เงื่อนไขการใช้สถิติทดสอบค่าที 1. ข้อมูลแจกแจงแบบโค้งปกติ (Normal Distribution) 2. ตัวแปรตามมีค่าต่อเนื่อง 3. กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มโดยใช้หลักการความน่าจะเป็น 4. ขนาดตัวอย่างไม่เล็กมาก ซึ่งขนาดตัวอย่างไม่ควรน้อยกว่า 30 คน 5. ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มควรมีขนาดเท่ากันหรือไม่ต่างกันมากนัก

ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์ วัตถุ ประสงค์ จำนวนกลุ่ม จำนวน ตัวแปร ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ เปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย 1 กลุ่ม ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร - ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์ One Sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเชาวน์ปัญญาของกลุ่มตัวอย่างกับค่ามาตรฐาน

ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ วัตถุ ประสงค์ จำนวนกลุ่ม จำนวน ตัวแปร ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ เปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม สัมพันธ์กัน ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร - ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์ Paired sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการให้สิ่งทดลอง

Independent VS Dependent E R O1 X O2 C R O3 - O4 รองศาสตราจารย์. ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร

Independent ชาวไทย X1 ชาวต่างชาติ X2 รองศาสตราจารย์. ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร

ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ วัตถุ ประสงค์ จำนวนกลุ่ม จำนวน ตัวแปร ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ เปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม เป็นอิสระจากกัน ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร - ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์ Two sample Independent t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเชาวน์ปัญญาระหว่างเพศชายและเพศหญิง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม

Levene’s test for equality variances เป็นสถิติทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล ≥2 ชุด การพิจารณาว่าข้อมูล 2 ชุด มีความแปรปรวนเท่ากัน (12 = 22 ) หรือข้อมูล 2 ชุด มีความแปรปรวนไม่เท่ากัน (12  22 ) พิจารณาจากค่า F ค่า F ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ หมายความว่า ความแปรปรวนของข้อมูล 2 ชุด เท่ากัน ให้อ่านค่า t บรรทัดที่ตรงกับ Equal variance assumed ค่า F มีนัยสำคัญทางสถิติ หมายความว่า ความแปรปรวนของข้อมูล 2 ชุด ไม่เท่ากัน ให้อ่านค่า t บรรทัดที่ตรงกับ Equal variance not assumed

ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความแปรปรวนไม่เท่ากัน t-test One sample Two samples Independent ความแปรปรวนเท่ากัน ความแปรปรวนไม่เท่ากัน Dependent ANOVA One way ANOVA Two ways ANOVA

เงื่อนไขการใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน 1. ข้อมูลแจกแจงแบบโค้งปกติ 2. ตัวแปรตามมีค่าต่อเนื่อง ตัวแปรอิสระมีค่าในมาตรวัดนามมาตรา และมี 2 ระดับ ขึ้นไป เช่น ตัวแปรศาสนามี 3 ระดับ ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม เป็นต้น 4. กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 5. ความแปรปรวนของประชากรแต่ละกลุ่มต้องเท่ากัน

ประเภทการวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance) การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two Ways Analysis of Variance) การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายทาง (Multi-Ways Analysis of Variance)

การเปรียบเทียบพหุ (Multiple Comparison)

Newman-keuls Test, Turkey’s HSD และ Duncan’s เหมาะสำหรับในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากัน และสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pairwise) LSD เหมาะสำหรับในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มไม่เท่ากันและสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pariwise)

Scheffe’ ใช้ได้ทั้งในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pairwise) และเป็นเลขเศษส่วน (Complex) Bonferroni ใช้ได้ทั้งในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pairwise) เป็นวิธีที่ช่วยลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 (Type I Error)

สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 1 ตัวแปรต้น 1 ตัว ตัวแปรตาม 1 ตัว(Simple Correlation) 2 ตัวแปรต้น 2 ตัวหรือมากกว่า ตัวแปรตาม 1 ตัว (Multiple Regression Analysis)

Simple Correlation X1 X2 Y X3 X4

Multiple Correlation X1 X2 Y X3 X4

Pearson’s Product Moment Correlation Simple Correlation 1 Pearson’s Product Moment Correlation 2 Spearman Correlation 3 Point Biserial Correlation 4 Chi-square

ต้องการทราบระดับความสัมพันธ์ Phi Coefficient Cramer’s V ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม สถิติ ค่าต่อเนื่อง ช่วงมาตรา อัตราส่วนมาตรา สหสัมพันธ์เพียร์สัน -ทราบทิศทาง -ทราบระดับความสัมพันธ์ ค่าไม่ต่อเนื่อง อันดับมาตรา สหสัมพันธ์สเปียร์แมน -ทราบทิศทาง, ทราบระดับความสัมพันธ์ นามมาตรา 2 ระดับ สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล นามมาตรา ไคสแควร์ - ไม่ทราบทิศทาง -ไม่ทราบระดับความสัมพันธ์ ต้องการทราบระดับความสัมพันธ์ Phi Coefficient Cramer’s V