A Strategic Approach to Energy and Environmental Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
Draft Application Report
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
มาตรฐาน ISO ใครควรทำ ทำแล้วได้อะไร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

A Strategic Approach to Energy and Environmental Management กลยุทธ์ในการจัดการ ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม อาจารย์ณัฐิดา จันหอม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

“กลยุทธ์ในการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม” วัตถุประสงค์ : เพื่อให้องค์กรได้รับผลประโยชน์ในทางการเงิน มิติด้านสิ่งแวดล้อมต่อการจัดการพลังงาน การให้คำมั่นของผู้บริหาร มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการเสนอรายงานต่อสาธารณชน การศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ การวางแผนและการจัดการองค์กร กลยุทธ์การจัดการด้านพลังงาน การนำแผนไปปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ การวัดผลการปฏิบัติการด้านการจัดการ การเขียนแผนปฏิบัติการ การควบคุมและ การกำกับดูแลการปฏิบัติการ การจัดการเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กรณีศึกษา

มิติด้านสิ่งแวดล้อมต่อการจัดการพลังงาน 1970 - 1979 Start การจัดการด้านพลังงาน >> ภาวะต้นทุนด้านพลังงานที่สูงขึ้น (วิกฤตด้านพลังงาน) ความคิดเรื่องสภาพสิ่งแวดล้อม >> Global warming >> Climate change >> Fossil diffusion NOW มุ่งเน้นการจัดการด้านการใช้พลังงานเพื่อช่วยลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม >> ยกเลิกการใช้สาร CFC >> ออกแบบบรรจุหีบห่อให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ >> จัดสรรการใช้เคมีภัณฑ์ต่างๆ

มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและการเสนอรายงานต่อสาธารณชน แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการด้านพลังงาน การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ด้านสิ่งแวดล้อม เราต้องทำอะไร เราต้องการทำอะไร เขาต้องการอะไร สิ่งที่พูดคือสิ่งต้องการ

มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการเสนอรายงานต่อสาธารณชน แนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม วิธีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม แจ้งสาธารณชนว่าคุณต้องทำอะไร แจ้งสาธารณชนว่าคุณต้องการทำอะไร แจ้งสาธารณชนให้ทราบว่าคุณคิดว่าเขาต้องการอะไร แจ้งสาธารณชนว่าสิ่งที่เขาพูดคือสิ่งที่เขาต้องการ เนื้อหาของรายงาน การเปิดเผยข้อผูกพัน วิธีปฏิบัติงานที่ดีที่สุด (Best practice) การดำเนินงานตามแผนงาน (Program Implementation) เป้าหมายเพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน พัฒนาการเรื่องการรายงานต่อสาธารณชน

มาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่นิยมนำมาเผยแพร่ มาตรฐานของอังกฤษในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม BS 7750 (The British Standard for environmental management systems) มาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรปในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมรวมทั้งระบบการตรวจสอบ EMAS (The European Union’s Eco-Management And Audit Scheme) มาตรฐานสากลการจัดการด้านพลังงาน ISO 14001

กลยุทธ์การจัดการด้านพลังงานกลยุทธ์ในการจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การได้รับคำมั่นจากผู้บริหาร (Get commitment) การทำความเข้าใจ (Understand) การวางแผนและการจัดการองค์กร (Plan and organise) การนำแผนไปปฏิบัติ (Implement) การควบคุมและติดตาม (Control and monitor)

การได้รับคำมั่นจากผู้บริหาร (Get commitment) ค่าใช้จ่าย (Expenditure) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social responsibility) คุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total quality) การสื่อสาร (Communication)

การวัดผลการดำเนินงานในปัจจุบันของกิจการ การทำความเข้าใจ (Understand) การวัดผลการดำเนินงานในปัจจุบันของกิจการ วิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประสิทธิภาพ พลังงานและการรักษา สิ่งแวดล้อม ลูกจ้าง (สภาพแวดล้อม การทำงานที่ดี) ชุมชน (มีคุณภาพชีวิตที่ดี) ลูกค้า (คุ้มกับเงินที่จ่าย) ผู้บริหาร/ผู้ถือหุ้น (ผลตอบแทนจาก การลงทุนและ ผลกำไรที่ยั่งยืน) ผู้เสียภาษี (ให้ใช้เงินภาษีอย่าง มีประสิทธิภาพ) ระบุอุปสรรค์ต่อความก้าวหน้า

การวางแผนและจัดองค์กร การจัดทำนโยบาย การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย การจัดทำแผนปฏิบัติการ

การจัดทำนโยบาย ความเชื่อถือ การนำไปประยุกต์ใช้ การให้คำมั่น นโยบายด้านพลังงาน การนำไปปฏิบัติ การทบทวน

การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ต้นทุนและผลตอบแทน ทรัพยากร สร้างแรงจูงใจกับพนักงานในองค์กร

การจัดทำแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนปฏิบัติการ(กิจกรรม) วันที่ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ อนุมัติโดย

การนำโปรแกรมการจัดการไปปฏิบัติ ลำดับความสำคัญของแผนปฏิบัติการ ฝึกอบรมและการสร้างจิตสำนึก ประสานกับกระบวนการทางธุรกิจ ปฏิบัติงานด้านการติดต่อสื่อสาร เอาชนะอุปสรรคต่อความก้าวหน้า

การควบคุมและติดตามผลการปฏิบัติงานด้านการจัดการ การได้รับคำมั่นจากผู้บริหาร การทำความเข้าใจ การวางแผน และการจัดการองค์กร การนำแผนไปปฏิบัติ

การวัดผลการปฏิบัติงานด้านการจัดการ 1.ทำความเข้าใจดัชนีชี้วัดการปฏิบัติการ และวิธีใช้ดัชนีชี้วัด เพื่อช่วยให้การจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูล การอธิบายผล และการรายงานผล นำไปปฏิบัติ “ถ้าคุณไม่สามารถวัดได้ คุณไม่สามารถจัดการได้”

กรอบการปฏิบัติงานด้านการจัดการที่พึงประสงค์ 2.ใช้ตารางการจัดการอย่างง่าย เพื่อประเมินการปฏิบัติการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม นโยบาย การจัดองค์กร การสื่อสาร ข้อมูลข่าวสาร การวางแผน การตรวจวิเคราะห์ นโยบาย การจัดองค์กร การสื่อสาร ข้อมูลข่าวสาร การวางแผน การตรวจวิเคราะห์ แผนบริหาร การจัดการ กรอบการปฏิบัติงานด้านการจัดการที่พึงประสงค์ กรอบการปฏิบัติงานด้านการจัดการที่เป็นอยู่

3.การวางแผนเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน “ทำหน้าที่สะท้อนให้เห็นถึงภาพการบริหารในปัจจุบันและชี้ให้เห็นถึงเป้าหมายที่องค์กรต้องการมุ่งไป”

การเขียนแผนปฏิบัติการอย่างละเอียด คำแถลงนโยบาย การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย จัดทำแผนปฏิบัติการและการจัดทำรายการตรวจสอบ บทบาทและความรับผิดชอบ

การจัดการเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สร้างกรอบการตรวจวิเคราะห์การจัดการ ดำเนินการตรวจวิเคราะห์การจัดการ ออกแบบโปรแกรมการตรวจวิเคราะห์การจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

กรอบการตรวจวิเคราะห์การจัดการ กฎระเบียบข้อบังคับ คู่มือการตรวจสอบ รายงานการตรวจวิเคราะห์ การแก้ไข หลักปฏิบัติที่ดี นโยบายวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การตรวจสอบความถูกต้อง -การสัมภาษณ์ -การทบทวนเอกสาร -สังเกตการณ์ การประเมิน -ความชำนาญทางเทคนิค -ประสบการณ์ -การตัดสินใจ แบบมืออาชีพ

การออกแบบโปรแกรม การตรวจวิเคราะห์ เป้าหมาย และ วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ ทรัพยากร ขอบเขต ความครอบคลุม แนวทาง

กรณีศึกษา

บริษัท เจนเนอรอล เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยีจำกัด -การให้บริการด้านพลังงาน -การให้บริการด้านสิ่งแวดล้อม