บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google (Decision Making) Google มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง
ความหมายของการตัดสินใจ “ขบวนการสร้างและวิเคราะห์ทางเลือก เพื่อใช้ในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์” ความสำคัญของการตัดสินใจ Decision Making หน้าที่การจัดการ
การตัดสินใจตามบทบาทของผู้บริหาร บทบาทหน้าที่ การตัดสินใจ การวางแผน (Planning) การมอบหมายงาน (Organizing) การสั่งการ (Leading) การควบคุม (Controlling) อะไรคือเป้าหมายขององค์กร อะไรคือโอกาสและความเสี่ยง ใครเหมาะที่สุดสำหรับงานนี้ งานนี้มีผลกระทบต่อองค์กรมากน้อยเพียงใด ควรใช้วิธีใดจึงจะเหมาะ ทำอย่างไรจะให้ทีมงานทำงานได้ตามเป้าหมาย จะใช้วิธีใด และมาตรการใดจึงจะเหมาะ จะตรวจสอบเมื่อใด ช่วงใดจึงจะเหมาะสม
Both Structured and Unstructured การตัดสินใจ และระดับของผู้บริหาร ระดับผู้บริหาร ประเภทของปัญหา ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับล่าง Programmed Decisions Nonprogrammed Decisions Broad, Unstructured, Infrequent, Much Uncertainty Both Structured and Unstructured Structured
ประเภทของการตัดสินใจ ปัญหา วิธีการ ตัวอย่าง Programmed ประจำ นโยบาย ธุรกิจ : การจ่ายเงินเดือน ไม่ซับซ้อน กฎเกณฑ์ มหาวิทยาลัย : การรับนักศึกษาใหม่ มาตรฐาน โรงพยาบาล : การเตรียมคนไข้เพื่อรับการผ่าตัด Non-programmed ใหม่ ความสามารถเฉพาะ ธุรกิจ : ผลิตสินค้าใหม่ ซับซ้อน ความคิดริเริ่ม มหาวิทยาลัย : สร้างตึกเรียนใหม่ สร้างสรรค์ โรงพยาบาล : เตรียมพร้อมในการรักษาโรคใหม่
1. การตัดสินใจแบบมีแผนหรือโปรแกรม (Programmed Decision Making) เป็นการตัดสินใจกิจกรรมการปฏิบัติงานที่เกิดซ้ำบ่อยๆ เป็นประจำ ex. นโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ 2. การตัดสินใจแบบไม่มีแผนหรือไม่มีโปรแกรม (Non-programmed Decision Making) เทคนิคของการตัดสินใจมักใช้ความรู้สึกนึกคิดและความคิดสร้างสรรค์ เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจ ex. การประท้วงคนงาน ไฟไหม้ น้ำท่วม Ex. ตึก ม.กท.
แนวทางการตัดสินใจ การตัดสินใจแบบรวมอำนาจและการตัดสินใจกระจายอำนาจ การตัดสินใจแบบกลุ่มกับการตัดสินใจเพียงคนเดียว มีระยะเวลาที่จำกัด การตัดสินใจโดยการใช้การมีส่วนร่วม รวบรวมผู้ที่ได้รับผลกระทบ การตัดสินใจแบบประชาธิปไตย กับการตัดสินใจแบบเอกฉันท์ ยึดคะแนนเสียงส่วนมากเป็นเกณฑ์
สภาพแวดล้อมในการตัดสินใจ การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่เสี่ยง การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
กลยุทธ์การตัดสินใจทางเลือกที่ 1. การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน (Certainty) กลยุทธ์การตัดสินใจทางเลือกที่ ผลตอบแทน (หน่วย) 1 100 2 200 3 150 การตัดสินใจในเงื่อนไขที่แน่นอน (Certainty) การตัดสินใจในกรณีเงื่อนไขที่แน่นอนนี้เกิดขึ้นได้ ยาก เพราะจะมีสภาพแวดล้อมและเงื่อนไขอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจ สิ่งที่แน่นอน คือ……
ผลลัพธ์การเลือกทำเลที่ตั้งในแต่ละสถานการณ์ 2. การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่เสี่ยง (Risk) ทางเลือก (ทำเลที่ตั้ง) สถานการณ์ นักเรียน 500 คน นักเรียน 800 คน นักเรียน 1,200 คน นักเรียน 2,400 คน กล้วยน้ำไท 15 18 25 36 รังสิต 6 16 30 41 ผลลัพธ์การเลือกทำเลที่ตั้งในแต่ละสถานการณ์ อาศัยการคาดคะเนโอกาส ความน่าจะเป็น (Probability) ที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นในแต่ละทางเลือก
ผู้บริหารใช้เพียงความรู้สึกส่วนตัว 3. การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน (Uncertainty) ผู้บริหารใช้เพียงความรู้สึกส่วนตัว ในการพิจารณาถึงทางเลือกและผลลัพธ์เท่านั้น Ex.ลงทุนเหมืองพลอยในมาร์ดากัสการ์
ขั้นตอนในการตัดสินใจ 1. การตระหนักในปัญหา 2. การกำหนดและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 3. การแสวงหาทางเลือก 4. การประเมินทางเลือก 5. การตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด 6. การนำทางเลือกไปปฏิบัติ 7. การประเมินผลการดำเนินงาน
Ex.เฟอร์นิเจอร์ปลูกต้นไม้ นวัตกรรมดีไซน์ลดโลกร้อน การตัดสินใจที่ดีทำได้อย่างไร การเปรียบเทียบข้อดีข้อเสีย ขบวนการตัดสินใจ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ การใช้จังหวะเวลาที่เหมาะ การใช้ภูมิความรู้ที่มี Ex.เฟอร์นิเจอร์ปลูกต้นไม้ นวัตกรรมดีไซน์ลดโลกร้อน
การตัดสินใจ (Decision Making) กับดักทางความคิด
เครื่องมือช่วยในการตัดสินใจ 1. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Breakeven Analysis) 2. โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) 3. แผนภูมิกิ่งไม้ (Decision Tree)
1. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Breakeven Point Analysis) - ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ex. เงินเดือน ค่าเช่า ค่าประกันภัย ฯ - ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) ex. ค่าแรง ค่าไฟฟ้า ต่ำประปา ฯ - ต้นทุนรวม (Total Cost) = FC + VC - รายได้ (Revenue) - กำไรหรือขาดทุน (Profit / Loss) จุดคุ้มทุน (Breakeven Point) ต้นทุนรวม = รายได้
(ต้นทุนผันแปรรวมกับต้นทุนคงที่) รายได้ จำนวนเงิน จุดคุ้มทุน กำไร ต้นทุนรวม (ต้นทุนผันแปรรวมกับต้นทุนคงที่) ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ จำนวน รูปที่ 3.4 จุดคุ้มทุน (Breakeven Point)
2. โปรแกรมเชิงเส้นตรง (Linear Programming) Y Y = 2x -3 Y = 2x + 2 X เทคนิคทางคณิตศาสตร์เชิงประยุกต์ที่นำไปใช้ในการจัดสรร ทรัพยากรทางการจัดการที่มีอยู่อย่างจำกัดให้แก่กิจกรรมด้านต่างๆ
รูปที่ 4.4 แผนภูมิลำดับขั้นของการตัดสินใจ (Decision Tree) กำไร 300,000 (0.7) 210,000 กำไร 500,000 (0.5) 250,000 ทางเลือก รังสิต 1 กล้วยน้ำไท 2 ขาดทุน -250,000 (0.5) -125,000 ขาดทุน -100,000 (0.3) -30,000 รูปที่ 4.4 แผนภูมิลำดับขั้นของการตัดสินใจ (Decision Tree) ค่าผลตอบแทนที่คาดหวังของวิทยาเขตกล้วยน้ำไท = (500,000*0.5) + (-250,000*0.5) = 250,000 – 125,000 = 125,000 ค่าผลตอบแทนที่คาดหวังของวิทยาเขตรังสิต = (300,000*0.7) + (-100,000*0.3) = 210,000 – 30,000 = 180,000
Any Problem ???