Project based Learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
TRLEM TU RS ES LS ME.
Advertisements

esearch and Development
EDAD 527 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (Technology for Education) ผศ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ Mobile PUBA 533 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
อย่าติดกับดักการเรียนรู้
Educational Technology & Instructional Technology
Innovation and Information Technology in Education
(Instructional Media)
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
การดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
Educational Information Technology
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การสอบที่มีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
ครูสมนึก แสงศรีจันทร์
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
โครงงานนิทานภาพเคลื่อนไหว ด้วยโปรแกรม Paint และ PowerPoint
หากต้องการเริ่มต้นภาพนิ่ง บนเมนู การนำเสนอภาพนิ่ง คลิก ชมการนำเสนอ
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม
PRE 103 Production Technology
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความหมายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
By Personal Information Management
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
วัตถุประสงค์การวิจัย
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
คณะทำงานเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทประกันภัย
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
Introduction to Public Administration Research Method
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Project based Learning Educational Innovation and Information Technology Sumai Binbai

โครงงาน คือ งานที่มอบหมายให้ผู้เรียน/กลุ่มผู้เรียนทำในรายวิชา โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาของอาจารย์ตั้งแต่ การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนการดำเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมถึงการร่วมกันกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผล

การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทำงานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ แก้ปัญหา หลักการวิทยาศาสตร์ ทดลองและพิสูจน์ วางแผนทำงานมีระบบ ฝึกเป็นผู้นำ/ผู้ตาม คิดวิเคราะห์ขั้นสูง ประเมินตนเอง

Type of projects 1. Survey Research Project: ประเภทสำรวจ เน้นสำรวจและรวบรวมข้อมูล แยกหมวดหมู่และนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ 2. Experimental Research Project: ประเภททดลอง เน้นการทดลองโดยการกำหนดตัวแปร ตัวทดลอง ตัวควบคุม เป็นการทดลองทางวิทยาศาสตร์

Type of projects 3. Development Research Project: ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เน้นประยุกต์ทฤษฎีมาประดิษฐ์อุปกรณ์ต่างๆ 4. Theoretical Research Project: ประเภททฤษฎี เน้นนำเสนอทฤษฎี หลักการแนวคิดใหม่ ๆ โดยนำเสนอผลการอธิบายเป็นทฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ที่ไม่มีใครคิดมาก่อน

How to create the project? ขั้นตอนการทำโครงงาน คิดและเลือกหัวเรื่อง 1.1 ตั้งคำถาม 1.2 กำหนดปัญหา 1.3 อยากรู้อยากเห็น ต้องคำนึงถึง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภัย แหล่งความรู้

How to create the project? ขั้นตอนการทำโครงงาน 2. การวางแผน = การเขียนเค้าโครงของโครงงาน เพื่อแสดงแนวคิด แผนงานและขั้นตอนการทำโครงงาน  ชื่อโครงงาน  ชื่อผู้ทำ  ชื่อที่ปรึกษา  หลักการและเหตุผลในการทำโครงงาน ปัญหาอะไร สำคัญอย่างไร  จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ที่สามารถวัดได้  วิธีดำเนินงาน/ขั้นตอน  แผนปฏิบัติงาน (เวลาเริ่มต้น – สิ้นสุดโครงการ)  ผลที่คาดว่าจะได้รับ  เอกสารอ้างอิง

How to create the project? ขั้นตอนการทำโครงงาน 3. การดำเนินงาน ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้ บันทึกข้อมูลต่าง ๆ ว่าทำอะไรบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร ให้เป็นระเบียบ ครบถ้วน

How to create the project? ขั้นตอนการทำโครงงาน 4. เขียนรายงาน ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก (ตามเอกสารใน blog unit 6) - ส่วนนำ - ส่วนเนื้อเรื่อง มี 5 บท -> บทที่ 1 บทนำ -> บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -> บทที่ 3 วิธีดำเนินการ -> บทที่ 4 ผลการดำเนินการ -> บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ - ส่วนอ้างอิง

How to create the project? ขั้นตอนการทำโครงงาน 5. การนำเสนอผลงาน นำเสนอตามส่วนเนื้อเรื่อง มี 5 บท -> บทที่ 1 บทนำ -> บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -> บทที่ 3 วิธีดำเนินการ -> บทที่ 4 ผลการดำเนินการ -> บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ โดยใช้ PowerPoint ประกอบการนำเสนอ

Start Your Own Project 1. คิดและเลือกหัวข้อเรื่อง 2. การวางแผน - เขียนเค้าโครงของโครงงาน

เค้าโครงของโครงงานประกอบด้วย ชื่อโครงงาน คณะผู้จัดทำโครงงาน ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ที่มาและความสำคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน ขอบเขตของการทำโครงงาน วิธีการดำเนินการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน เอกสารอ้างอิง

การตั้งชื่อโครงงาน “ถุงพลาสติกพิชิตแมลงวันตัวน้อย” ควรตั้งชื่อให้มีความกะทัดรัด และดึงดูดความสนใจจากผู้อ่าน ผู้ฟัง แต่ที่สำคัญคือ ผู้จัดทำโครงงานต้องเข้าใจปัญหาที่สนใจศึกษาอย่างแท้จริงอันจะนำไปสู่การเข้าใจวัตถุประสงค์ของการศึกษาอย่างแท้จริง (พิมพันธ์ เดชะคุปต์, พเยาว์ ยินดีสุขและราเชน มีศรี, 2556) ตัวอย่างชื่อโครงงาน “ถุงพลาสติกพิชิตแมลงวันตัวน้อย” ตัวอย่างชื่อโครงงาน “ผลการใช้ถุงน้ำพลาสติกต่อการไล่แมลงวัน” “โปรแกรมดนตรีไทยแสนสนุก” “โปรแกรมความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต” ที่มา: http://www.slideshare.net/royphimnamsongwong/ss-37975075

ตัวอย่างชื่อคณะผู้จัดทำโครงงาน เขียนชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำโครงงานให้ชัดเจน เพื่อให้รู้ว่าโครงงานนั้นใครเป็นผู้รับผิดชอบและสามารถติดต่อได้ที่ใด ตัวอย่างชื่อคณะผู้จัดทำโครงงาน คณะผู้จัดทำโครงงาน 1. นางสาวสุไม บิลไบ สาขาวิชา......เบอร์โทร...... 2. นางสาวสุกัญญา มิ่งมงคล สาขาวิชา....เบอร์โทร... 3. นางสาววริสา เอี่ยมน้อย สาขาวิชา.......เบอร์โทร.......

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา การเขียนชื่อผู้ให้คำปรึกษาควรให้เกียรติยกย่องและเผยแพร่ รวมทั้งขอบคุณที่ได้แนะนำการทำโครงงานจนบรรลุเป้าหมาย ตัวอย่างชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์.....................................................

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ผู้ทำโครงงานต้องศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งการเขียนที่มาและความสำคัญของโครงงาน คือ การอธิบายให้กระจ่างชัดว่าทำไมต้องทำ ทำแล้วได้อะไร หากไม่ทำจะเกิดผลเสียอย่างไร มีหลักการเขียนคล้ายเรียงความทั่ว ๆ ไป โดยมี 3 ส่วนดังนี้ เป็นการบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ์ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปัญหาที่มีส่วนสนับสนุนในการริเริ่มโครงการ ส่วนที่ 1 คำนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงให้เห็นประโยชน์ของการทำโครงงาน โดยมีหลักการ ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือการบรรยายผลกระทบ ถ้าไม่ทำโครงงานเรื่องนี้ ส่วนที่ 2 เนื้อเรื่อง สรุปถึงความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามส่วนที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหา ค้นความรู้ใหม่ ค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ และค้นวิธีการใหม่ให้เป็นไปตามเหตุผลของส่วนที่ 1 ส่วนที่ 3 สรุป

วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผลิตขึ้นสามารถส่งเสริมความตระหนักในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ได้ในระดับดีขึ้นไป ตัวอย่าง 2. นักศึกษาชั้นปีที่ 1 เข้าใจและมีแนวโน้มจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ

ขอบเขตของการทำโครงงาน ผู้ทำโครงงานต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดขอบเขตของการทำโครงงานเพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ ได้แก่ การกำหนดประชากร กลุ่มตัวอย่าง และ ตัวแปรที่ศึกษา ความสำคัญ

ขอบเขตของการทำโครงงาน การกำหนด กลุ่มตัวอย่าง คือ การกำหนดประชากรที่ต้องการศึกษาว่าเป็นใคร เช่น นักศึกษาชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยการฝึกหัดครู การกำหนดประชากร การกำหนด กลุ่มตัวอย่าง คือ การกำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่นำมาใช้ในการทดลองให้ทดลองใช้สิ่งประดิษฐ์หรือบทเรียนที่ผู้จัดทำผลิตขึ้น เช่น นักศึกษาชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยการฝึกหัดครู สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ จำนวน 30 คน

ขอบเขตของการทำโครงงาน คือ การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ต้องการศึกษากับผลของการศึกษาว่า มีความสัมพันธ์สอดคล้องกันหรือไม่ การกำหนด ตัวแปร ตัวแปร มี 2 ตัวขึ้นไป ได้แก่ ตัวแปรต้น คือ ตัวแปรเหตุ เช่น สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตัวแปรตาม คือ ตัวแปรผลที่เกิดจากตัวแปรเหตุ เช่น ความตระหนักในการแต่งกายที่ถูกต้องของนักศึกษาอันเกิดจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

วิธีการดำเนินการ วิธีการที่จะช่วยให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ของการทำโครงงานนั้น ตั้งแต่เริ่มต้นเสนอโครงงาน จนกระทั่งสิ้นสุดโครงงาน ประกอบด้วย ความหมาย การกำหนดประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล แต่ละข้อต้องระบุกิจกรรมที่ต้องทำให้ชัดเจนว่าจะทำอะไรบ้าง เรียงลำดับให้ชัดเจนอะไรมาก่อนมาหลัง องค์ประกอบ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ การคาดหวังผลการดำเนินการตามโครงงาน ในการเขียนต้องคาดคะเนเหตุการณ์ว่าใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์อย่างไร มากน้อยเพียงใด สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ศึกษา ความหมาย

แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน การทำโครงงานต้องกำหนดเวลาดำเนินการทุกขั้นตอน เพราะการทำตารางเวลาจะเป็นประโยชน์ให้การดำเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เป็นประโยชน์ต่อการติดตามประเมินผลการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน จนสิ้นสุดการทำโครงงานนั้น ความสำคัญ

เอกสารอ้างอิง คือ รายการเอกสารที่นำมาอ้างอิงเพื่อประกอบการทำโครงงาน ตลอดจนการเขียนรายงานการทำโครงงานและควรเขียนตามหลักการที่นิยมกัน ความหมาย

“เรียนรู้หนึ่งหลักสูตร ต้องได้ความรู้มากกว่าที่อาจารย์สอนในหลักสูตร จึงจะนับว่าประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ ที่สำคัญต้องสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนางาน พัฒนาตนและพัฒนาสังคมได้” #Sumai Binbai‬#