การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
LOGO.  สำหรับผู้ที่เรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนั้น หลักการ เขียนโปรแกรมเป็นอีกรายวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนต้องมีความรู้และ ความเข้าใจ เพื่อให้ในการพัฒนาโปรแกรมและเพื่อนำไป.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
หลักการเขียนเกณฑ์การประเมิน(Rubrics)
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
กระบวนการสร้างองค์ความรู้แบบ Trip RIP
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ครูผู้สอนใช้การประเมินเป็นกลไกในการติดตาม พัฒนา ช่วยเหลือผู้เรียนทุกคนให้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ ไม่ว่า จะเป็น เด็กเก่ง ปานกลาง หรืออ่อน

การประเมิน ( Assessment ) คือ อะไร ? กระบวนการเก็บข้อมูล ตีความ บันทึก และใช้ข้อมูลคำตอบของนักเรียนที่ทำในภาระงาน/ ชิ้นงานว่า ผู้เรียน รู้อะไร ทำอะไรได้ และจะทำต่อไปอย่างไร ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย (เอกสารอ้างอิง: เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551)

การวัด (Measurement ) คือ อะไร ? การกำหนด ตัวเลขให้กับวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรมต่างๆของผู้เรียน เพื่อให้ได้ มาซึ่งตัวเลข ที่สามารถแทนคุณลักษณะต่างๆที่ต้องการวัด ( อ้างอิง: เอกสารแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ 2552 )

การประเมินผล/การตัดสินผลการเรียน (Evaluation/Appraisal) คือ อะไร ? การนำข้อมูลที่ได้จากการวัดหลายๆครั้งมาเป็นข้อมูลในการตัดสินผลการเรียน โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ( Criteria )ที่สถานศึกษากำหนดและสอดคล้องกับมาตรฐานที่หลักสูตรกำหนด เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (เอกสารอ้างอิง: เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551,2552)

จุดมุ่งหมายการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วินิจฉัยการเรียนรู้ Diagnostic assessment เพื่อพัฒนาผู้เรียน ประเมินระหว่างการเรียนการสอน (Formative assessment) สรุปผลการเรียนรู้ (Summative assessment) เพื่อตัดสินผลการเรียน การประเมินผล/การตัดสิน ผลการเรียน (Evaluation/Appraisal)

นักเรียน การประเมินผลการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ประเมินสรุปรวบยอดความรู้ (Successful Summative Assessment ) วินิจฉัยการเรียนรู้ ( Diagnostic assessment ) นักเรียน ประเมินระหว่างการเรียนการสอน ( Formative Assessment) ประเมินระหว่างการเรียนการสอน ( Formative Assessment) ประเมินระหว่างการเรียนการสอน ( Formative Assessment)

การตรวจสอบคุณภาพการประเมิน สะท้อนการจัดการเรียนการสอน -โปรแกรมการสอน -สื่อ - วิธีการสอน ผลประเมินให้ข้อมูลเพียงพอต่อการตัดสินใจว่า ผู้เรียนมีความสามารถตามที่มฐ.กำหนด วัดความสามารถของผู้เรียน ตามมฐ. สะท้อนตามมาตรฐาน การประเมินผล

ลักษณะของการวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลแบบเป็นทางการ ( Formal Assessment ) การวัดและประเมินที่เน้นการใช้แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นหรือข้อสอบมาตรฐาน มีกำหนดการจัดสอบที่ชัดเจน เหมาะสำหรับการประเมินเพื่อตัดสินผลที่ได้เป็นคะแนนที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ การวัดและประเมินผลแบบไม่เป็นทางการ (Informal Assessment) เป็นการได้มาซึ่งข้อมูลรายบุคคลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เกิดขึ้นได้ ตลอดระยะการเรียนการสอน นำผลมาใช้พัฒนาผู้เรียน ปรับการสอนของครู ไม่เก็บคะแนน

การประเมินแบบเลือกคำตอบ วิธีการและเครื่องมือประเมิน การประเมินแบบเลือกคำตอบ Selected responses วิธีการและเครื่องมือ ประเมิน 2 ประเภทหลัก การประเมินแบบสร้างคำตอบ Constructed responses

ประเภทเครื่องมือ การประเมินแบบเลือกคำตอบ เลือกตอบหลายตัวเลือก (Multiple choice) ถูก-ผิด (True-False) จับคู่ ( Matching ) เติมคำ (Fill in)

ข้อดี การประเมินแบบเลือกคำตอบ (ต่อ) เหมาะในการประเมินความรู้เกี่ยวกับ การประเมินแบบเลือกคำตอบ (ต่อ) ข้อดี เหมาะในการประเมินความรู้เกี่ยวกับ ข้อเท็จจริง แนวคิดพื้นฐาน ทักษะที่ไม่ซับซ้อน - ตรวจให้คะแนนรวดเร็ว

ข้อจำกัด การประเมินแบบเลือกคำตอบ (ต่อ) การประเมินแบบเลือกคำตอบ (ต่อ) ข้อจำกัด ไม่เหมาะในการประเมินทักษะการคิดระดับสูง การประเมินสภาพจริง

การประเมินแบบสร้างคำตอบ ประเภทเครื่องมือ - เรียงความ - งานเขียนสะท้อนการเรียนรู้(อนุทิน) - เขียนตอบแบบสั้น - ตาราง แผนภูมิ กราฟ รายงาน - นิทรรศการ - แฟ้มสะสมงาน - โครงการ ผลผลิต ( Products )

การประเมินแบบสร้างคำตอบ (ต่อ) ประเภทเครื่องมือ - การนำเสนอ - การอ่านออกเสียง - การอ่านทำนองเสนาะ - การโต้วาที การอภิปราย - กิจกรรมที่แสดงออก การแสดงดนตรี กีฬา การวาดภาพ การสาธิต การปฏิบัติ Performances

ข้อดี การประเมินแบบสร้างคำตอบ (ต่อ) ประเมินความสามารถในการนำความรู้และทักษะ ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ - เหมาะในการประเมินสภาพจริง

การประเมินแบบสร้างคำตอบ (ต่อ) ข้อจำกัด การตรวจมีความซับซ้อน ต้องใช้เกณฑ์ที่ชัดเจน เจาะจง เพื่อระบุระดับคุณภาพ

สรุปวิธีการและเครื่องมือประเมิน แบบเลือกคำตอบ แบบสร้างคำตอบ ผลผลิต การปฏิบัติ เลือกตอบ หลายตัวเลือก ถูก-ผิด จับคู่ เติมคำ - เรียงความ - งานเขียนสะท้อนการเรียนรู้(อนุทิน) - เขียนตอบแบบสั้น - ตาราง แผนภูมิ กราฟ - นิทรรศการ - แฟ้มสะสมงาน - โครงงาน - การพูดนำเสนอ - การอ่านออกเสียง - การอ่านทำนองเสนาะ - การโต้วาที การอภิปราย - กิจกรรมที่แสดงออก การแสดงดนตรี กีฬา การวาดภาพ การสาธิต การตั้งคำถาม การสังเกตอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพูดคุยระหว่างครูกับนักเรียน A Teacher ’ Guide To Classroom Assessment

เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดวิธีการประเมินแบบต่างๆ ซึ่งครูผู้สอนสามารถเลือกใช้ ได้ตามความเหมาะสมดังนี้ 1) การสังเกตพฤติกรรม 7) การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน 2) การสอบปากเปล่า 8) การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ 3) การพูดคุย 9) การประเมินด้านความรู้สึกนึกคิด 4) การใช้คำถาม 10) การประเมินตามสภาพจริง 5) การเขียนสะท้อนการเรียนรู้11) การประเมินตนเองของผู้เรียน 6) การประเมินการปฏิบัติ 12) การประเมินโดยเพื่อน

เกณฑ์การให้คะแนนRubrics คืออะไร เป็นเครื่องมือสำหรับจัดระบบและแปลความข้อมูล ที่ได้จากการสังเกตการเรียนรู้ / ชิ้นงานของนักเรียน เป็นเครื่องมือเพื่อวัดภาระงานที่เป็นอัตนัยให้มีความเป็นปรนัย เป็นเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินการปฏิบัติงาน หรือผลสัมฤทธิ์ เป็นเครื่องมือในการจัดระดับคุณภาพของผลสัมฤทธิ์หรือ พัฒนาการ

ประเภทของ Rubrics Rubrics Analytical Rubrics Holistical Rubrics Formative evaluation Rubrics Holistical Rubrics Summative evaluation 21

Rubrics มีลักษณะอย่างไร ประกอบด้วย ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพและคำอธิบายระดับคุณภาพ

กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตัวอย่าง Rubrics ประเด็นการประเมิน ดีเยี่ยม น่าพอใจ กำลังพัฒนา ต้องปรับปรุง ร่วมในการอภิปรายกลุ่ม เอาใจใส่ในทุกประเด็นที่อภิปราย ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ปัญหา เอาใจใส่บางประเด็นที่อภิปราย ร่วมให้ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขเป็นบางครั้ง หรือร่วมในการปรับแต่งข้อแนะนำที่ผู้อื่นเสนอ เอาใจใส่บางประเด็นที่อภิปราย เป็นบางครั้ง ไม่ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางปัญหาแต่ร่วมในการปรับแต่งข้อแนะนำที่ผู้อื่นเสนอ ไม่ร่วมอภิปราย และไม่พยายามในร่วมปรับแต่งข้อแนะนำที่ผู้อื่นเสนอ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การสร้าง Rubrics กำหนดภาระงาน : ผลผลิต กระบวนการ การปฏิบัติ กำหนดภาระงาน : ผลผลิต กระบวนการ การปฏิบัติ กำหนดประเด็นการประเมิน เลือกประเภทเกณฑ์การประเมินที่ต้องการใช้ : Holistical Rubrics หรือ Analytical Rubrics กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ อธิบายระดับคุณภาพของแต่ละประเด็นการประเมิน

การสร้าง Rubrics(ต่อ) 6. กำหนดค่าน้ำหนักของแต่ละประเด็นการประเมิน กรณีเลือกใช้แบบ Analytical rubrics 7. วิพากษ์ร่วมกันกับเพื่อนครู / นักเรียน 8. ทดลองใช้และปรับปรุง

ตัวอย่าง : เกณฑ์การให้คะแนน

การนำเสนอผลงานของนักเรียน ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 วิธีการนำเสนอ การนำเสนอมีลำดับขั้นตอนน่าสนใจ และใช้สื่อประกอบได้เหมาะสม การนำเสนอมีลำดับขั้นตอน น่าสนใจ แต่ใช้สื่อไม่เหมาะสม การนำเสนอมีลำดับขั้นตอน แต่ไม่น่าสนใจ การนำเสนอไม่เป็นลำดับขั้นตอน

การนำเสนอผลงานของนักเรียน(ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 การใช้ภาษา สื่อความหมายเข้าใจชัดเจนไม่วกวน และออกเสียงอักขระถูกต้องทุกแห่ง สื่อความหมายได้เข้าใจชัดเจนแต่ออกเสียงอักขระไม่ถูกต้องบางแห่ง สื่อความหมายได้เข้าใจ แต่ออกเสียงอักขระไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ สื่อ ความ หมาย ไม่เข้าใจ

การนำเสนอผลงานของนักเรียน(ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 บุคลิกท่าทาง มีความเชื่อมั่น ลีลาท่าทางเหมาะสม การแต่งกายเรียบร้อย มีความเชื่อมั่น ลีลาท่าทางเหมาะสม การแต่งกายไม่เรียบร้อย มีความเชื่อมั่น ลีลาท่าทางเหมาะสม การแต่งกายไม่เหมาะสม ขาดความเชื่อมั่น

การนำเสนอผลงานของนักเรียน(ต่อ) ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 การประสานสายตา ประสานสายตาผู้ฟังตลอดเวลาโดยนานๆ ครั้งที่จะดูบันทึกที่จดไว้ ประสานสายตาผู้ฟังค่อนข้างมากแต่บ่อยครั้งที่จะดูบันทึกที่จดไว้ ประสานสายตาผู้ฟังบ้าง แต่ส่วนใหญ่จะอ่านบันทึกที่จดไว้ อ่านบันทึกที่จดไว้ โดยไม่ประสานสายตากับผู้ฟังเลย

ระดับคุณภาพ คะแนน 31 – 40 หมายถึง ดีมาก คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี คะแนน 31 – 40 หมายถึง ดีมาก คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี คะแนน 11 – 20 หมายถึง พอใช้ คะแนน ต่ำกว่า 10 หมายถึง ปรับปรุง

ตัวอย่าง : เกณฑ์การให้คะแนน การเขียน

ความเหมาะสมกับกลุ่มผู้อ่าน ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 นำเสนอเรื่องราวตามจุดประสงค์ได้อย่างชัดเจน มีประสิทธิภาพ นำเสนอเรื่องราวตามจุดประสงค์ ที่ต้องการได้ มีการกำหนดจุดประสงค์แต่ไม่สามารถนำเสนอเรื่องราวได้อย่างสมบูรณ์ พยายามกำหนดจุดประสงค์แต่ไม่สามารถนำเสนอเรื่องราวตามจุดประสงค์ได้ ไม่กำหนดจุดประสงค์และไม่มีการนำเสนอเรื่องราวตามจุดประสงค์ การนำเสนอเรื่องราว ผู้เขียนปรับการนำเสนอ ให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้อ่านแต่ละกลุ่ม ผู้เขียนตระหนัก ในความสำคัญของผู้อ่าน ผู้เขียนตระหนักในความ สำคัญของผู้อ่าน ผู้เขียนให้ความสำคัญ กับผู้อ่านน้อยมาก ไม่ให้ความสำคัญ กับผู้อ่านเลย ความเหมาะสมกับกลุ่มผู้อ่าน การนำเสนอความคิด เหตุการณ์ตามลำดับ เรื่องราวเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ การนำเสนอความคิดเป็นไปตามเหตุการณ์ลำดับที่เหมาะสม การนำเสนอความคิด เหตุการณ์ส่วนใหญ่เป็นไปตามลำดับที่ เหมาะสม การนำเสนอความคิด เหตุการณ์บางส่วนที่เป็นไปตามลำดับ ที่เหมาะสม การนำเสนอความคิด เหตุการณ์ไม่ชัดเจน ไม่เป็นระบบ การลำดับความคิด/เหตุการณ์

กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (ต่อ) ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 การใช้คำศัพท์น่าสนใจ แจ่มชัด เป็นไปตามลักษณะของผู้อ่านและ จุดประสงค์ โดยรวม ใช้คำศัพท์ที่มีความซับซ้อนเหมาะสมกับผู้อ่านและจุดประสงค์ ใช้คำศัพท์ง่าย เหมาะกับผู้อ่านและจุดประสงค์ ใช้คำศัพท์บางคำ ไม่กระชับหรือไม่เหมาะสมกับผู้อ่าน และ/หรือจุดประสงค์ คำศัพท์ไม่กระชับ ไม่เหมาะสม การใช้คำศัพท์ ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ การสะกดคำ เครื่องหมาย วรรคตอน มีน้อยมาก พบข้อผิดพลาดเกี่ยวกับคำศัพท์ เครื่องหมาย วรรคตอน ที่มี ความซับซ้อนบ้าง มีการสะกดคำผิดบ้างแต่ข้อผิดพลาดนั้นไม่สร้างความเข้าใจผิดแก่ผู้อ่าน เครื่องหมาย วรรคตอน ตัวสะกดง่ายๆ ใช้ได้ถูกต้อง มีความระมัดระวังรูปแบบการสะกดคำ มีข้อผิดพลาดที่มักสร้างความเข้าใจผิดและพบข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเครื่องหมาย วรรคตอนง่ายๆ พบข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการสะกดคำ ที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด การใช้เครื่องหมาย วรรคตอน ที่ผิดพลาด ทำให้ผู้อ่าน เข้าใจผิด หรือเข้าใจไขว้เขว การสะกดคำ/วรรคตอน กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

(ต่อ) ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 คำที่เขียนทั้งหมดอยู่บนแนวเส้นบรรทัด และมีระยะห่างระหว่างคำที่สม่ำเสมอถูกต้อง คำที่เขียนทั้งหมดอยู่บนแนวเส้นบรรทัดและมีระยะห่างระหว่างคำ ที่พอดี คำส่วนใหญ่อยู่บนแนวบรรทัด มีระยะห่างระหว่างคำ พอดี คำบางคำอยู่บนแนวบรรทัด และมีระยะห่างระหว่างคำ คำที่เขียนไม่อยู่บน บรรทัด ไม่มีระยะห่างระหว่างคำ มารยาทในการเขียน

กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตัวอย่าง 2 Kentucky Open-Ended Scoring Guide for Reading Holistic Scale การอ่าน 4 คำตอบตอบคำถามสำคัญทั้งหมด แสดงความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับข้อมูลสำคัญ เชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศกับความรู้ที่มีมาก่อนได้อย่างสอดคล้อง แสดงการตีความ การประเมิน หรือการอ้างสรุป เปรียบเทียบ 3 คำตอบตอบคำถามสำคัญได้เกือบทั้งหมด แสดงความเข้าใจข้อมูลสำคัญ มองข้ามความคิดสำคัญหรือรายละเอียด สำคัญบางประการไป หรือมีความเข้าใจผิดในรายละเอียดบางประการ 2 คำตอบตอบคำถามเพียงบางคำถาม เข้าใจข้อมูลสำคัญบางประการในบทความ แต่ขาดหลักฐานยืนยัน 1 คำตอบไม่สอดคล้องกับคำถามหรือผิดพลาดทั้งหมด 0 เว้นว่าง / ไม่มีคำตอบ หมายเหตุ : เกณฑ์การให้คะแนนแต่ละระดับ ประกอบด้วยคำอธิบาย/รายการแสดงคุณภาพงาน กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ขอขอบคุณ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน E-mail:obec_assessment@hotmail.com Website:www.curriculum51.net Tel:02-288-5771