แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
เขตสุขภาพ ที่11.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ) แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โครงการที่ 3 ควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ (วัยทำงาน) หน่วยงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อสุขภาพจิตและยาเสพติด KPIที่19. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง Baseline data ระดับ ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560 อัตราผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ประเทศ 2.09 2.40 2.07 เขต 2.54 2.43 1.56 จังหวัด 1.53 2.37 1.27 อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน -

ผลการดำเนินงานรายอำเภอปีงบประมาณ2560 DMรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง:เป้าหมาย < ร้อยละ2.4

มาตรการการดำเนินงานโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง -คัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปตามมาตรฐาน ครอบคลุมมากกว่า ร้อยละ 90 -ประชากรPre-DMในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำและได้รับคำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่า ร้อยละ 90 คำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นระบบ 1.งดสูบบุหรี่ และดมควันบุหรี่ อย่างน้อย 6 เดือน 2.ถ้าดัชนีมวลกายมากกว่า 30.0 กก./ม2 ให้ลดน้ำหนักลง 5% ของน้ำหนักเดิมภายใน1 ปีด้วยวิธีการออกกำลังกาย และควบคุมการบริโภคอาหาร(โดยเฉพาะการลดเกลือและโซเดียม) 3.งดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อย่างน้อย6 เดือน -กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง (≥ 140/90 mmHg )ในเขตรับผิดชอบและรอการวินิจฉัยของแพทย์ ในปีงบประมาณได้รับการตรวจความดันโลหิตซ้ำอีกครั้งที่บ้านโดย อสม.หรือด้วยตนเองหลังจากมารับบริการ การคัดกรองที่โรงพยาบาลแล้ว ภายใน 6 เดือน ตามมาตรฐาน ร้อยละ 10 -ประสานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้การสนับสนุนคัดกรองเบาหวานความดันโลหิต - ฟื้นฟูความรู้ อสม.และ อสค.ในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง KPI ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน < ร้อยละ 2.4 2. ประชากรPre-DMในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำและได้รับคำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 30 ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 3.อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน - ร้อยละ 5 ร้อยละ 10

ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ) แผนงาน ที่ 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โครงการที่ 1. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หน่วยงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อสุขภาพจิตและยาเสพติด KPIที่26 -ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ (≥ 40%) - ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (≥ 50%) KPIที่27 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (>82.5%) Baseline data ระดับ ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ (≥ 40%) ประเทศ 18.70 20.77 22.97 เขต 20.98 28.76 27.77 จังหวัด 27.20 27.90 29.60 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้ (≥ 50%) 24.61 29.94 36.68 29.28 36.77 37.32 32.53 37.93 42.61 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด (>82.5%) 20.7 41.52 81.85 28.83 46.01 81.40 33.56 49.19 87.58

ผลการดำเนินงานรายอำเภอปีงบประมาณ2560 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ (≥ 40%)

ผลการดำเนินงานรายอำเภอปีงบประมาณ2560 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (≥ 50%)

ผลการดำเนินงานรายอำเภอปีงบประมาณ2560 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (>82.5%)

มาตรการการดำเนินงานโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง - พัฒนาศักยภาพ System Manager - มีNurse Case Manager และ Mini Case Manager ครอบคลุมทุกสถานบริการ - มี NCD Board ระดับจังหวัด และ ระดับอำเภอขับเคลื่อนด้วย DHB - คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานและส่งต่อรายที่ผิดปกติตามระบบ - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วย เบาหวาน ความดันโลหิตสูงยึดหลักสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย - พัฒนาNCD Clinic Plus ตามเกณฑ์มาตรฐาน - ส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงเข้าคลินิกอดบุหรี่ - ส่งเสริมให้ชุมชน/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีการขับเคลื่อนด้วยDHS=District Health System - ฟื้นฟูความรู้อสม.และอสค.ในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง KPI ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1..ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ > ร้อยละ 20 > ร้อยละ 30 > ร้อยละ 40 >ร้อยละ 40 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ > ร้อยละ 20 > ร้อยละ 50 >ร้อยละ 50 3.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ร้อยละ 80 ร้อยละ 82.5 4. สถานบริการ ผ่านเกณฑ์ NCD Clinic plus ร้อยละ 100