บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
Advertisements

ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
การอบโอโซน ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 เวลา 20.00/22.00 – น. ของทุก วัน.
การอบโอโซน ประจำเดือน มิถุนายน 2555 เวลา 20.00/22.00 – น. ของทุก วัน.
การอบโอโซน ประจำเดือน พฤษภาคม 2555 เวลา 20.00/22.00 – น. ของทุก วัน.
การอบโอโซน ประจำเดือน สิงหาคม 2554 เวลา – น. ของทุกวัน.
การอบโอโซน ประจำเดือน เมษายน 2555 เวลา 20.00/22.00 – น. ของทุก วัน.
การอบโอโซน ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 เวลา – น. ของทุกวัน.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
Adobe Premiere. Workflow  Start or open project  Capture and import video/audio  Assembly and refine sequence  Add titles  Add transitions and effects.
ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาพยนตร์
การใช้งาน TOT e-Conference
อิเล็กทรอนิกส์กับสื่อการสอนและ วิทยาการก้าวหน้าในวงการอิเล็กทรอนิกส์
IC เพื่อการประชาสัมพันธ์
การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
กระบวนการในการผลิต.
การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
1. ทำการคลิกที่ audiostudio80a-trial 2. เมื่อคลิกจะปรากฏหน้าจอดังรูป 3. ทำการเลือกที่ติดตั่งไฟล์ Setup 4. คลิก Next เฟื่อดำเนิการต่อ.
บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ ในการสร้างละครTEAM WORK
NEW MEDIA. สื่อใหม่ คือ สื่อเก่าที่เปลี่ยนรูปลักษณ์ ภายนอก คุณเชื่อความคิดนี้หรือไม่
โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่ โปรแกรมจัดเก็บ เอกสารให้ง่ายต่อการค้นหานำกลับมาใช้แก้ไข ครับ สำหรับใครที่มีเอกสารเยอะๆ และเวลาจะ นำมาใช้ทีนึงแล้วรู้สึกอยากต่อการเข้าถึง.
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสำนักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะ ประสานการทำงานของบุคลากรรวมทั้งกับ บุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
แผนปฏิบัติการยึดคืน พัฒนา และจัดสรรพื้นที่
Title.
ทัศนศิลป์เพื่อการออกแบบเพื่อศิลปะการแสดง
Animation update.
Animation.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
การประชุมทบทวนบริหาร
Multimedia Production
ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
การเขียนบทสำหรับสื่อ
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
สื่อดิจิทัล (Digital Media)
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
จุดมุ่งหมายของการเขียนแบบ
ความสำคัญของแสง ต่อการถ่ายภาพ
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
Visual Communication for Advertising Week7,9
บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
The script and Scriptwriting
PRE 103 Production Technology
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
ข้อมูลและสารสนเทศ.
พระพุทธศาสนา.
ศัพท์เทคนิค...ในศิลปะการละคร
การผลิตสารคดี.
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
การผลิตผลงานวิดิทัศน์
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล (Input & Output Devices)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ปัจจัยของรายการที่มาจากกระบวนการผลิตที่ดี นักเขียนบทวิทยุโทรทัศน์ในฐานะผู้ต้องรับผิดชอบเอกสาร (บท) สำหรับดำเนินจัดทำ (ผลิต) รายการวิทยุโทรทัศน์ ควรจะมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตรายการทุกขั้นตอนเพื่อให้ดึงเอาศักยภาพของเครื่องมือมาผสมผสานกับจินตนาการที่มีอยู่ได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ   บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ องค์ประกอบด้านเทคนิค อุปกรณ์ แบ่งได้เป็นอุปกรณ์สำหรับควบคุมภาพ เช่น กล้องวิดิทัศน์ เครื่องตัดต่อลำดับภาพ อุปกรณ์ควบคุมเสียง และอุปกรณ์ควบคุมแสง สถานที่ แบ่งออกเป็น สถานที่ภายนอก และสถานที่ภายใน ซึ่งจำเป็นต้องมีการจัดสถานที่จัดแสง จัดฉาก บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ องค์ประกอบด้านบุคลากร ทีมงานต้องมีความรู้ความสามารถ ทำงานเป็นทีม และต้องเข้าใจแนวคิด (Concept) ของงาน มีความรับผิดชอบสูง บุคลากรด้านการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ประกอบด้วย บุคลากรทางเทคนิค เช่น ช่างภาพ ช่างตัดต่อ ช่างเสียง ช่างเทคนิค ช่างทำฉาก บุคลากรผลิตรายการ เช่น ผู้ประสานงาน บุคลากรด้านนำเสนองาน เช่น นักแสดง พิธีกรฯ บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ องค์ประกอบด้านวิธีการ บุคลากรต้องร่วมมือกันผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ มีขั้นตอนการผลิต และขั้นตอนหลังการผลิต ซึ่งแต่ละขั้นตอนก็มีรายละเอียดการทำงานของตนเอง เพื่อให้ได้ชิ้นงานเป็นรายการวิทยุโทรทัศน์ตามที่ตั้งจุดมุ่งหมายไว้   บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ขั้นตอนการผลิต (Pre- Production) แสวงหาแนวความคิด (Idea) จากนั้นจึงพัฒนาความคิดรวบยอด (Concept) ในเรื่องที่จะนำมาผลิต แล้วนำมาศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ได้เนื้อหาที่มีเหตุผลเป็นที่น่าสนใจกลายเป็นเนื้อเรื่องที่จะผลิตรายการ จากนั้นกำหนดวัตถุประสงค์ของเรื่อง และกำหนดกลุ่มเป้าหมาย และนำข้อมูลทั้งหมดมาเชื่อมโยงกัน และกำหนดรูปแบบของการเขียนบท เมื่อผ่านขั้นตอนนี้ก็ประชุมปรึกษากับทีมและศึกษาแนวทางการผลิต กับสมาชิกในกลุ่มเช่นฝ่ายเทคนิคต่าง ๆ หลังได้ข้อยุติเกี่ยวกับแนวคิดในการผลิตแล้ว ขั้นตอนก่อนการผลิตจะครอบคลุมถึงการจัดเตรียมความพร้อมทั้งหลายก่อนจะถ่ายทำ บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ขั้นตอนการผลิต (Production) การผลิตรายการคือ การบันทึกภาพรายการด้วยกล้องโทรทัศน์ 1. รายการสด (Live Program) 2. รายการบันทึกเทป - บันทึกเทปโทรทัศน์พร้อมกันไปในขณะถ่ายทอดสด - บันทึกเทปโทรทัศน์โดยใช้กล้องถ่ายภาพโทรทัศน์ - บันทึกเทปโทรทัศน์โดยใช้กล้องถ่ายภาพโทรทัศน์หลายกล้อง   บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production) นำเอาม้วนเทปโทรทัศน์ที่บันทึกรายละเอียดที่สำคัญไว้ในแต่ละช่วง มาตัดต่อ ลำดับภาพ ใส่สัญญาณเสียง ตลอดจนนำเทคนิคพิเศษสำหรับภาพให้ตรงกับบท นำรายการที่ผลิตแล้วไปทดสอบและประเมินผล ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ หากมีข้อบกพร่องก็ต้องแก้ไขปรับปรุง   บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ สถานที่ผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 1. สถานที่ภายในอาคารหรือสถานที่ในโรงถ่าย หรือห้องผลิตรายการ (In door Location) 2. สถานที่ภาคสนามหรือภายนอกอาคาร หรือนอกโรงถ่าย (Out door Location) บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ สถานที่ภายในอาคาร แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ (1.) ส่วนของห้องควบคุมรายการ (Control Room) เป็นศูนย์กลางที่ควบคุมอุปกรณ์ทางเทคนิค - ฐานควบคุมรายการ (Production Console) มีแผงควบคุมรายการ ซึ่งผู้กำกับภาพใช้สำหรับเลือกภาพเพื่อบันทึกเทป หรือออกรายการสด - ชุดเครื่องรับภาพ (T.V. Monitor Rack) - ส่วนควบคุมเสียง (Sound Control Unit) - ส่วนควบคุมแสง (Light Control Unit) - ส่วนควบคุมเทเลซีน (Telecine Unit) บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ (2.) ห้องผลิตรายการ (Studio, T.V. Studio) ใช้สำหรับการผลิตรายการต่าง ๆ ในสถานที่ ซึ่งจะให้ความสะดวกเรื่องสถานที่และเวลา เนื่องจากสามารถควบคุมการจัดแสง ควบคุมเสียงและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ได้ง่ายกว่า ในห้องผลิตรายการจะประกอบไปด้วยผู้เกี่ยวข้องมากมาย เช่นผู้แสดง ช่างกล้อง และอุปกรณ์ด้านต่าง ๆ ฉาก ผู้กำกับเวที ฯลฯ ดังนั้นห้องผลิตรายการที่มีขนาดพอเหมาะและสร้างอย่างได้มาตรฐาน จะทำให้ผลิตรายการได้ง่ายและมีคุณภาพ   บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ บุคลากรการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 1. ผู้ผลิตรายการ Producer 2. ผู้ช่วยผู้ผลิตรายการ Producer Assistant 3. ผู้กำกับรายการ Director 4. ผู้ช่วยผู้กำกับรายการ Assistant Director 5. ผู้เขียนบทโทรทัศน์ Script Writer 6. ผู้กำกับเวที Floor Manager   บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 7. ผู้ร่วมรายการ Television Talent 8. ผู้กำกับเทคนิค Technical Director 9. ผู้ควบคุมเสียง Audio Technical 10. ผู้กำกับแสง Lighting Director 11. ผู้ออกแบบฉาก Scenic Designer 12. ช่างภาพโทรทัศน์ Camera Operator 13. ผู้ควบคุมสัญญาณ Video Technician บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ เนื่องจากรายการโทรทัศน์ส่วนใหญ่ผลิตขึ้นเพื่อเผยแพร่ออกอากาศ (Broadcasting) ซึ่งมีการแข่งขันกันระหว่างสถานีวิทยุโทรทัศน์ มีค่าใช้จ่ายสูง มีผู้ชมเป็นจำนวน มีการจัดลำดับความนิยมรายการ คุณภาพของรายการและความนิยมของคนดูเป็นตัวแปรสำคัญที่มีผลต่อความอยู่รอดของรายการ บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์