การยศาสตร์ (Ergonomics) 22/5/2016
เนื้อหา ความหมายของการยศาสตร์ (Ergonomics) ความสำคัญของการยศาสตร์ 24/10/59 เนื้อหา ความหมายของการยศาสตร์ (Ergonomics) ความสำคัญของการยศาสตร์ องค์ประกอบของการยศาสตร์ ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อ สุขภาพ การป้องกันและควบคุมอันตรายด้านการย ศาสตร์ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>
1. ความหมายของการยศาสตร์ (Ergonomics) การย เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง การงาน /work ศาสตร์ คือ วิทยาการ Occupational Safety and Health Administration (OSHA) ได้จำกัดความของergonomics ว่าเป็นการศึกษาการออกแบบ ความต้องการที่เกิดจากงาน ซึ่งสัมพันธ์กับความสามารถและ ข้อจำกัดของมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ กล่าวคือ การหา วิธีที่จะปรับงานให้เหมาะกับคน (Put the right job to the right man) มากกว่าการปรับคนให้เหมาะกับงาน โดยมี หลักการที่จะป้องกันการทำงานด้วยท่าทางที่ไม่เหมาะสมหรือไม่ ปลอดภัย อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
1. ความหมายของการยศาสตร์ (Ergonomics) (ต่อ) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization, ILO) ได้จำกัดความของergonomics ไว้ว่า “การประยุกต์ใช้วิชาการทางด้านชีววิทยาของมนุษย์และ วิศวกรรมศาสตร์ให้เข้ากับคนงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ของเขา เพื่อให้คนงานเกิดความพึงพอใจในการทำงาน และ ได้ผลผลิตสูงสุด” กล่าวโดยสรุป การยศาสตร์ มีคำจำกัดความว่า “ศาสตร์ใน การจัดสภาพงานให้เหมาะกับคนทำงาน” หรือ “การศึกษาคนใน สิ่งแวดล้อมการทำงานอย่างเป็นระบบเพื่อการปรับปรุงสภาพการ ทำงาน” อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
2. ความสำคัญของการยศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างคน เครื่องมือ กับสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ชีวกลศาสตร์ การวัดขนาดสัดส่วนร่างกาย กายวิภาคศาสตร์ โต๊ะ เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ หน่วยที่ทำงานและสิ่งแวดล้อม ชีวกลศาสตร์ การออกแรง เครื่องมื อ (Tool) คน เทคโนโลยีใหม่ๆ การฝึกอบรม ความพึงพอใจในงาน การบริหารจัดการ การหยุดพัก การทำงานเป็นกะ เนื้องาน (Job content) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
2. ความสำคัญของการยศาสตร์ (ต่อ) เมื่อนำหลักการการยศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงสภาพ สิ่งแวดล้อมในการทำงาน ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุง สภาพการทำงานที่เห็นได้ชัด คือ คนงานมีขวัญกำลังใจ ในการทำงานดีขึ้น คุณภาพการทำงานดีขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ผลผลิตเพิ่มขึ้น ลดการขาดงาน ลดอัตราการเข้า – ออกงาน ลดอันตรายที่อาจเกิดกับหลังส่วนบั้นเอว ลดการประสบอันตรายจากการทำงานซ้ำๆ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
3. องค์ประกอบของการยศาสตร์ ขนาดร่างกายมนุษย์ Anthrometry ขนาดรูปร่างของคนเพื่อการ ออกแบบงาน กายวิภาคศาสตร์ Anatomy ชีวกลศาสตร์ Biomechanics การออกแรงและผลของแรงที่กระทำต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย สรีรวิทยาการทำงาน Work physiology การใช้พลังงานของร่างกายในการทำงาน สรีรวิทยา Physiology สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อม Environmental physiology ผลกระทบจากสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
3. องค์ประกอบของการยศาสตร์ (ต่อ) จิตวิทยาความชำนาญ Skill psychology การวิเคราะห์ข้อมูลและการ ตัดสินใจ จิตวิทยา Psychology จิตวิทยาการทำงาน Occupational psychology การฝึกอบรม ความพยายามและความแตกต่างของบุคคล วิศวกรรมอุตสาหกรรม Industrial engineering การออกแบบสถานที่ทำงานและเครื่องมือ วิศวกรรมศาสตร์และ วิทยาศาสตร์กายภาพ Engineering & Physical Science วิศวกรรมระบบ System engineering ความปลอดภัยในสถานที่ทำงาน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ 24/10/59 4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ ความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างเนื่องจากการ ทำงาน (Musculoskeletal Disorders, MSDs) หมายถึง ความผิดปกติของเนื้อเยื่อโครงร่างของร่างกาย ได้แก่ กระดูก กล้ามเนื้อ ข้อต่อ เอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) และเอ็น กระดูก (ligament) รวมถึงเส้นประสาท ความผิดปกติในกลุ่มโรค MSDs เนื่องจากการทำงาน ลักษณะงานที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อต่อเนื่องเป็น ระยะเวลายาวนาน ทำให้เกิดความล้าและเจ็บปวด เฉพาะที่ได้ และการทำงานซ้ำเช่นเดียวกันทุกวัน เป็น ระยะเวลานาน ซึ่งได้แก่ โรคข้ออักเสบ (arthritis) เนื่องจากแรงเค้น เชิงกล การอักเสบของเอ็นหรือปลอกหุ้มเอ็น (tendinitis/peritendinitis) การอักเสบของส่วนที่ติดหรือเชื่อมต่อกับเอ็น กล้ามเนื้อ โรคข้อเสื่อมเรื้อรัง (arthrosis) กล้ามเนื้อเกร็งและเจ็บปวด ความผิดปกติของหมอนรองกระดูกสันหลัง 1. ลักษณะงานแบบสถิต คือลักษณะงานที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น การยกสิ่งของอยู่กับที่เป็นเวลานานๆ เป็นต้น 2. ลักษณะงานแบบพลวัต คือ ลักษณะท่าทางที่มีการเคลื่อนที่ และกล้ามเนื้อมีการทำงานตลอดเวลาทั้งกล้ามเนื้อบีบตัวและกล้ามเนื้อคลายตัว เช่น การยกสิ่งของขึ้นรถส่งของต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานๆ เป็นต้น ภาระงานตามหลักการยศาสตร์สามารถแบ่งได้ 3 แบบดังต่อไปนี้ 1. ภาระงานทางร่างกาย คือ ท่าทางของร่างกาย แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น การยก การวาง การถือ การผลัก การดึง การหมุน การบิด การกระแทก การดัน เป็นต้น 2. ภาระงานทางจิตใจ คือ สิ่งที่มีผลต่อความคิด สิ่งที่มีผลต่ออารมณ์ สิ่งที่มีผลต่อความความรู้สึก เป็นต้น 3. ภาระงานทางสิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวผู้ปฏิบัติงาน เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง เสียง เป็นต้น ดังนั้นการประเมินท่าทางของร่างกายส่วนใหญ่แบ่งเป็น 9 ส่วนใหญ่ๆดังนี้ 1. การประเมินร่างกายส่วน ศีรษะและคอ 2. การประเมินร่างกายส่วน ลำตัว 3. การประเมินร่างกายส่วน ไหล่ 4. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนบน 5. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนล่าง 6. การประเมินร่างกายส่วน มือและข้อมือ 7. การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนบน 8.การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนล่าง 9. การประเมินร่างกายส่วน เท้า ดังนั้นการจะจัดสถานีงานหรือสถานที่ทำงานต่างๆ ให้เหมาะสมต้องคำนึงถึงสภาพธรรมชาติของงานทั้งหมดที่ส่งผลต่อร่างกายทั้ง 9 ส่วน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้เต็มประสิทธิภาพของร่างกายในส่วนต่างๆ และส่งผลช่วยลดความเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>
4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ (ต่อ) 24/10/59 4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ (ต่อ) สาเหตุของการเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง เนื่องจากการทำงาน (Musculoskeletal Disorders, MSDs) แบ่งออก 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ปัจจัยบุคคล (personal factor) ได้แก่ เพศ อายุ การขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ความจำเป็นพิเศษ เช่น การกลับมาทำงานหลังจากลา ป่วย ลางานไปนาน การตั้งครรภ์ ความทุพพลภาพ และโรคประจำตัว เป็นต้น 1. ลักษณะงานแบบสถิต คือลักษณะงานที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น การยกสิ่งของอยู่กับที่เป็นเวลานานๆ เป็นต้น 2. ลักษณะงานแบบพลวัต คือ ลักษณะท่าทางที่มีการเคลื่อนที่ และกล้ามเนื้อมีการทำงานตลอดเวลาทั้งกล้ามเนื้อบีบตัวและกล้ามเนื้อคลายตัว เช่น การยกสิ่งของขึ้นรถส่งของต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานๆ เป็นต้น ภาระงานตามหลักการยศาสตร์สามารถแบ่งได้ 3 แบบดังต่อไปนี้ 1. ภาระงานทางร่างกาย คือ ท่าทางของร่างกาย แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น การยก การวาง การถือ การผลัก การดึง การหมุน การบิด การกระแทก การดัน เป็นต้น 2. ภาระงานทางจิตใจ คือ สิ่งที่มีผลต่อความคิด สิ่งที่มีผลต่ออารมณ์ สิ่งที่มีผลต่อความความรู้สึก เป็นต้น 3. ภาระงานทางสิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวผู้ปฏิบัติงาน เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง เสียง เป็นต้น ดังนั้นการประเมินท่าทางของร่างกายส่วนใหญ่แบ่งเป็น 9 ส่วนใหญ่ๆดังนี้ 1. การประเมินร่างกายส่วน ศีรษะและคอ 2. การประเมินร่างกายส่วน ลำตัว 3. การประเมินร่างกายส่วน ไหล่ 4. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนบน 5. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนล่าง 6. การประเมินร่างกายส่วน มือและข้อมือ 7. การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนบน 8.การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนล่าง 9. การประเมินร่างกายส่วน เท้า ดังนั้นการจะจัดสถานีงานหรือสถานที่ทำงานต่างๆ ให้เหมาะสมต้องคำนึงถึงสภาพธรรมชาติของงานทั้งหมดที่ส่งผลต่อร่างกายทั้ง 9 ส่วน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้เต็มประสิทธิภาพของร่างกายในส่วนต่างๆ และส่งผลช่วยลดความเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>
4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ (ต่อ) 24/10/59 4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ (ต่อ) สาเหตุของการเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง เนื่องจากการทำงาน (Musculoskeletal Disorders, MSDs) แบ่งออก 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ปัจจัยงาน (job factor) ได้แก่ ปัจจัยทางด้านกายภาพ การออกแรงเกินกำลัง (overload) การออกแรงกล้ามเนื้อแบบสถิตย์ (Static load) การทำงานที่ต้องการความเที่ยงตรงแม่นยำ (Precision) การทำงานที่ต้องใช้สายตาเพ่งมอง (visual demand) ท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม (unnatural posture) การทำงานซ้ำๆ (repetitive) ระยะเวลาในการทำงาน (work period) ความเค้นเชิงกล (mechanical stress) สิ่งแวดล้อมในการทำงาน ได้แก่ ความสั่นสะเทือน ความเย็นจัด 1. ลักษณะงานแบบสถิต คือลักษณะงานที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น การยกสิ่งของอยู่กับที่เป็นเวลานานๆ เป็นต้น 2. ลักษณะงานแบบพลวัต คือ ลักษณะท่าทางที่มีการเคลื่อนที่ และกล้ามเนื้อมีการทำงานตลอดเวลาทั้งกล้ามเนื้อบีบตัวและกล้ามเนื้อคลายตัว เช่น การยกสิ่งของขึ้นรถส่งของต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานๆ เป็นต้น ภาระงานตามหลักการยศาสตร์สามารถแบ่งได้ 3 แบบดังต่อไปนี้ 1. ภาระงานทางร่างกาย คือ ท่าทางของร่างกาย แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น การยก การวาง การถือ การผลัก การดึง การหมุน การบิด การกระแทก การดัน เป็นต้น 2. ภาระงานทางจิตใจ คือ สิ่งที่มีผลต่อความคิด สิ่งที่มีผลต่ออารมณ์ สิ่งที่มีผลต่อความความรู้สึก เป็นต้น 3. ภาระงานทางสิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวผู้ปฏิบัติงาน เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง เสียง เป็นต้น ดังนั้นการประเมินท่าทางของร่างกายส่วนใหญ่แบ่งเป็น 9 ส่วนใหญ่ๆดังนี้ 1. การประเมินร่างกายส่วน ศีรษะและคอ 2. การประเมินร่างกายส่วน ลำตัว 3. การประเมินร่างกายส่วน ไหล่ 4. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนบน 5. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนล่าง 6. การประเมินร่างกายส่วน มือและข้อมือ 7. การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนบน 8.การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนล่าง 9. การประเมินร่างกายส่วน เท้า ดังนั้นการจะจัดสถานีงานหรือสถานที่ทำงานต่างๆ ให้เหมาะสมต้องคำนึงถึงสภาพธรรมชาติของงานทั้งหมดที่ส่งผลต่อร่างกายทั้ง 9 ส่วน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้เต็มประสิทธิภาพของร่างกายในส่วนต่างๆ และส่งผลช่วยลดความเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัยทางด้านสังคมจิตวิทยา ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดความเครียดจากการทำงาน มีผลทำให้เกิดความตึงตัวของกล้ามเนื้อทั้งขณะพักและขณะทำงาน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>
4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ 24/10/59 4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ ความล้าจากการทำงาน (Fatigue) หมายถึง การสูญเสีย ประสิทธิภาพในการทำงานและความไม่อยากใช้ความพยายาม ในการทำกิจกรรมใดๆ ซึ่งได้แก่ 2.1 ความล้าของกล้ามเนื้อ (Muscular fatigue) เกิดจากการออก แรงของกล้ามเนื้อ โดยแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. การแรงกล้ามเนื้อแบบสถิต (Static effort) คือ ลักษณะงานที่ มีการเกร็งของกล้ามเนื้อต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น การยกสิ่งของอยู่กับที่เป็นเวลานานๆ เป็นต้น 2. การออกแรงกล้ามเนื้อที่มีการเคลื่อนไหว/แบบพลวัต (Dynamic effort) คือ ลักษณะท่าทางที่มีการเคลื่อนที่ และกล้ามเนื้อมี การทำงานตลอดเวลาทั้งกล้ามเนื้อบีบตัวและกล้ามเนื้อคลายตัว เช่น การยกสิ่งของขึ้นรถส่งของต่อเนื่องกันเป็นระยะ เวลานานๆ เป็นต้น 1. ลักษณะงานแบบสถิต คือลักษณะงานที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น การยกสิ่งของอยู่กับที่เป็นเวลานานๆ เป็นต้น 2. ลักษณะงานแบบพลวัต คือ ลักษณะท่าทางที่มีการเคลื่อนที่ และกล้ามเนื้อมีการทำงานตลอดเวลาทั้งกล้ามเนื้อบีบตัวและกล้ามเนื้อคลายตัว เช่น การยกสิ่งของขึ้นรถส่งของต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานๆ เป็นต้น ภาระงานตามหลักการยศาสตร์สามารถแบ่งได้ 3 แบบดังต่อไปนี้ 1. ภาระงานทางร่างกาย คือ ท่าทางของร่างกาย แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น การยก การวาง การถือ การผลัก การดึง การหมุน การบิด การกระแทก การดัน เป็นต้น 2. ภาระงานทางจิตใจ คือ สิ่งที่มีผลต่อความคิด สิ่งที่มีผลต่ออารมณ์ สิ่งที่มีผลต่อความความรู้สึก เป็นต้น 3. ภาระงานทางสิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวผู้ปฏิบัติงาน เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง เสียง เป็นต้น ดังนั้นการประเมินท่าทางของร่างกายส่วนใหญ่แบ่งเป็น 9 ส่วนใหญ่ๆดังนี้ 1. การประเมินร่างกายส่วน ศีรษะและคอ 2. การประเมินร่างกายส่วน ลำตัว 3. การประเมินร่างกายส่วน ไหล่ 4. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนบน 5. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนล่าง 6. การประเมินร่างกายส่วน มือและข้อมือ 7. การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนบน 8.การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนล่าง 9. การประเมินร่างกายส่วน เท้า ดังนั้นการจะจัดสถานีงานหรือสถานที่ทำงานต่างๆ ให้เหมาะสมต้องคำนึงถึงสภาพธรรมชาติของงานทั้งหมดที่ส่งผลต่อร่างกายทั้ง 9 ส่วน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้เต็มประสิทธิภาพของร่างกายในส่วนต่างๆ และส่งผลช่วยลดความเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>
4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ (ต่อ) 24/10/59 4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ (ต่อ) รูปที่ 3 แสดงตัวอย่างเปรียบเทียบการใช้กล้ามเนื้อทั้ง 2 ลักษณะคือการหมุนพวงมาลัย และการยกของหนักค้างไว้ การออกแรงทั้ง 2 ชนิดนี้มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ขณะที่ต้องหดเกร็งกล้ามเนื้ออยู่กับที่นั้น หลอดเลือดจะถูกกดโดยแรงดันภายในเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้อนั้น ทำให้เลือดไม่สามารถผ่านไปหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อนั้นได้ ในขณะที่การใช้กล้ามเนื้อแบบเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่ เช่น การหมุนพวงมาลัย หรือการเดินไปมา กล้ามเนื้อจะทำหน้าที่เหมือนเครื่องสูบฉีดเลือด กล่าวคือขณะที่กล้ามเนื้อหดตัวแรงดันภายในกล้ามเนื้อจะช่วยขับเลือดออกจากกล้ามเนื้อ และในขณะที่กล้ามเนื้อคลายตัวเลือดก็จะไหลเข้าไปเลี้ยงกล้ามเนื้อนั้นในปริมาณที่มากกว่าปรกติ ซึ่งอาจเป็น 10-20 เท่าของขณะพัก ดังนั้นขณะที่กล้ามเนื้อต้องทำงานเคลื่อนไหวไปมานั้น กล้ามเนื้อจะได้รับทั้งน้ำตาลและออกซิเจนในเลือดปริมาณมาก และยังขับของเสียคือกรดแลคติคออกไปได้อีกด้วย ในทางตรงกันข้ามขณะที่กล้ามเนื้อต้องออกแรงมาก ๆ แบบอยู่กับที่นั้น กล้ามเนื้อจะไม่ได้รับน้ำตาลและออกซิเจนจากเลือด จะได้จากส่วนที่กล้ามเนื้อมีสะสมอยู่เท่านั้น ผลเสียที่ตามมาก็คือกรดแลคติคไม่สามารถถูกกำจัดออกไปได้ เมื่อสะสมมากเข้าก็จะไปกระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บที่กล้ามเนื้อนั้น เป็นสาเหตุของความเจ็บปวดในอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ ด้วยเหตุผลนี้เองทำให้ไม่สามารถทำงานโดยหดเกร็งกล้ามเนื้ออยู่กับที่ตลอดเวลาเป็นเวลานานได้ ความเจ็บปวดจะเตือนให้ต้องหยุดทำงานเอง ในขณะที่การใช้กล้ามเนื้อแบบเคลื่อนไหวไปมาจะทำได้นานกว่าโดยไม่เกิดความเมื่อยล้าถ้าทำงานอย่างเหมาะสม ในร่างกายมนุษย์มีกล้ามเนื้อชนิดหนึ่งที่ทำงานได้ตลอดชั่วชีวิตโดยไม่มีการหยุดพัก และไม่เหน็ดเหนื่อย นั่นก็คือกล้ามเนื้อหัวใจ ตัวอย่างการทำงานแบบสถิตที่พบได้บ่อยในอุตสาหกรรมหรืออาชีพทั่วไป มีดังนี้ 1. ถ้าออกแรงมากและนานติดต่อกันเป็นเวลา 10 วินาทีขึ้นไป 2. ถ้าออกแรงปานกลางนานเป็นเวลา 1 นาทีขึ้นไป 3. ถ้าออกแรงเพียงเล็กน้อย ( ประมาณ 1 ใน 3 ของแรงสูงสุด ) เป็นเวลา 4 นาทีขึ้นไป การใช้กล้ามเนื้อ แบบเคลื่อนไหว และแบบหดตัว อยู่กับที่ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>
4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ (ต่อ) ตัวอย่างการทำงานของกล้ามเนื้อแบบสถิต ที่พบบ่อยใน อุตสาหกรรมหรือในอาชีพทั่วไป ได้แก่ งานที่ก้มโค้งข้างหน้าหรือด้านข้าง การยกของไว้ในมือ การทำงานที่ต้องยื่นมือไปข้างหน้าตามแนวนอน การยืนด้วยขาข้างเดียว ในขณะที่ขาอีกข้างทำงานคุม เครื่องจักร การยืนอยู่กับที่เป็นเวลานาน การดันหรือดึงวัตถุ การเอนศีรษะไปข้างหน้าหรือข้างหลัง การยกไหล่เป็นเวลานาน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ 24/10/59 4. ผลกระทบของปัญหาด้านการยศาสตร์ต่อสุขภาพ ความล้าจากการทำงาน (Fatigue) หมายถึง การสูญเสีย ประสิทธิภาพในการทำงานและความไม่อยากใช้ความพยายาม ในการทำกิจกรรมใดๆ ซึ่งได้แก่ 2.2 ความล้าทั่วไป (General fatigue) เป็นความรู้สึกอ่อน ล้าหมดแรงทั่วร่างกาย จะเหมือนถูกยับยั้งให้ทำ กิจกรรมได้น้อยลงหรือทำได้ไม่เต็มที่ โดยไม่อยากใช้ ความพยายามทั้งร่างกาย และทางจิตใจ ทำให้รู้สึกตัว หนักและง่วงนอน ความเครียดจากการทำงาน 1. ลักษณะงานแบบสถิต คือลักษณะงานที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น การยกสิ่งของอยู่กับที่เป็นเวลานานๆ เป็นต้น 2. ลักษณะงานแบบพลวัต คือ ลักษณะท่าทางที่มีการเคลื่อนที่ และกล้ามเนื้อมีการทำงานตลอดเวลาทั้งกล้ามเนื้อบีบตัวและกล้ามเนื้อคลายตัว เช่น การยกสิ่งของขึ้นรถส่งของต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานๆ เป็นต้น ภาระงานตามหลักการยศาสตร์สามารถแบ่งได้ 3 แบบดังต่อไปนี้ 1. ภาระงานทางร่างกาย คือ ท่าทางของร่างกาย แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น การยก การวาง การถือ การผลัก การดึง การหมุน การบิด การกระแทก การดัน เป็นต้น 2. ภาระงานทางจิตใจ คือ สิ่งที่มีผลต่อความคิด สิ่งที่มีผลต่ออารมณ์ สิ่งที่มีผลต่อความความรู้สึก เป็นต้น 3. ภาระงานทางสิ่งแวดล้อม คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวผู้ปฏิบัติงาน เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง เสียง เป็นต้น ดังนั้นการประเมินท่าทางของร่างกายส่วนใหญ่แบ่งเป็น 9 ส่วนใหญ่ๆดังนี้ 1. การประเมินร่างกายส่วน ศีรษะและคอ 2. การประเมินร่างกายส่วน ลำตัว 3. การประเมินร่างกายส่วน ไหล่ 4. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนบน 5. การประเมินร่างกายส่วน แขนส่วนล่าง 6. การประเมินร่างกายส่วน มือและข้อมือ 7. การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนบน 8.การประเมินร่างกายส่วน ขาส่วนล่าง 9. การประเมินร่างกายส่วน เท้า ดังนั้นการจะจัดสถานีงานหรือสถานที่ทำงานต่างๆ ให้เหมาะสมต้องคำนึงถึงสภาพธรรมชาติของงานทั้งหมดที่ส่งผลต่อร่างกายทั้ง 9 ส่วน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้เต็มประสิทธิภาพของร่างกายในส่วนต่างๆ และส่งผลช่วยลดความเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 NPRU
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) ข้อแนะนำเกี่ยวกับการยศาสตร์บางประการ สำหรับงานนั่งทำงาน พนักงานควรสามารถเอื้อมถึงบริเวณเนื้องานได้ทั้งหมดโดยไม่ต้องเอื้อมสุดแขน หรือบิดเอี่ยวตัวโดยไม่จำเป็น อิริยาบถท่านั่งที่ดี หมายถึงการที่พนักงานสามารถนั่งอยู่ทางด้านหน้าของเนื้องาน และใกล้กับเนื้องาน ควรมีการออกแบบเก้าอี้นั่งและโต๊ะงาน เพื่อให้พื้นหน้างานอยู่ในระดับความสูงประมาณข้อศอก ส่วนของหลัง ควรอยู่ในแนวตรงและปล่อยไหล่ตามสบาย ไม่เกร็ง หากทำได้ ควรจัดให้มีที่รองรับข้อศอก ปลายแขนหรือข้อมือที่สามารถปรับระดับได้ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) หลักการเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยมือเปล่าอย่าง ปลอดภัย ท่าการยกสิ่งของที่ไม่ถูกต้อง อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016
5. การป้องกันและควบอันตรายด้านการยศาสตร์ (ต่อ) ขั้นตอนการเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยมือเปล่าอย่างปลอดภัย อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน :สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016