การจัดการแปลงหญ้า Forage Management 356443.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Advertisements

Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
ระบบการจัดเก็บในคลังสินค้า
พืชอาหารสัตว์ Forage crops3(2-3-3)
Chemical compsition Digestibility Pasture yield (kg/ha) Voluntary Intake Digestible Nutrients Animal growth product Animal behavior Stocking rate Palatability.
อาหารหยาบ พืชอาหารสัตว์.
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
เอกสาร อัตราราคางาน (Unit Cost) ที่ใช้จัดทำ ปมก. ณ ปัจจุบัน
What is the optimum stocking rate ?
Introduction to Earned Value Analysis.
แท่งเชื้อเพลิงชีวมวล(WoodPellets&Briquettes)
Pasture and Forage Crops Glossary
Enterprise Resources Planning (ERP )
การจัดการการผลิตและการดำเนินงาน Production/Operation Management บทที่ 2 กลยุทธ์การดำเนินงาน เพื่อการได้เปรียบในการแข่งขัน.
Sheet Ac 313 การปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิต
Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP บทบาทของวิศวกรเคมี
บทบาทของวิศวกรเคมี Lecture1_intro_ Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP 1.
Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva- Isarakul Dept. of Animal & Aquatic Science, Fac. of Agriculture, CMU/ 2013 by.
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ธันวาคม 2558.
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.
อ. ชล บุนนาค คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
นโยบาย และนโยบายการศึกษา
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
Energy Consumption and CO2 Emission of Rice Production in THAILAND
พันธุ์หญ้าพืชอาหารสัตว์ที่สำคัญในไทย
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการองค์ความรู้
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
Part 8 Overcoming Discouragement
โครงการพัฒนาทีมจัดการระบบ การจัดการโรคเรื้อรัง ในระดับจังหวัดปี 2554
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
E. I. SQUARE. All rights reserved
Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva-Isarakul
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
Health Promotion & Environmental Health
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
การบดอัดดิน.
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ชื่องานวิจัย Rotational dynamics with Tracker
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
การผลิตและการจัดการการผลิต
เทคนิคการตรวจรับ และ ควบคุมงาน.
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
Animal Health Science ( )
Activity-Based-Cost Management Systems.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 4 อาหารโคเนื้อ.
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
Pulse Width Modulation (PWM)
อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
การประเมินราคา (Cost estimation).
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการแปลงหญ้า Forage Management 356443

เป้าหมายในการผลิตพืชอาหารสัตว์ การนำพืชอาหารสัตว์ไปใช้เลี้ยงสัตว์ให้เพียงพอต่อ ความต้องการของสัตว์ พืชอาหารสัตว์ที่ใช้มีคุณภาพดีเหมาะสมกับสัตว์ และการให้ผลผลิตของสัตว์

หญ้าซิกแนลนอน (Brachiaria decumbens)

หญ้าซิกแนลเลื้อย (Brachiaria humidicola)

หญ้าซิกแนลตั้ง (Brachiaria brizantha)

Para: หญ้าขน (Bracchiaria mutica )

หญ้ารูซี หรือ หญ้าคองโก (Brachiaria ruziziensis)

Guinea grass: หญ้ากินนี (Panicum maximum)

Napier : Elephant grass (Pennisetum Purpureum)

Type of Forage Crops หญ้า ลักษณะ % CP Yield หญ้าซิกแนล ลำต้นเป็นกอเตี้ย 6-10 1.3-2.6 ตันต่อไร่ สูงประมาณ 30-60 ซม. หญ้าขน :Para ทรงพุ่ม 60-150 ซม. 3-6 0.5-5 ตันต่อไร่ ตัวใบมีขนาดยาว 10-30 ซม. ตามข้อและกาบใบมีขนสีขาวหยาบกว่าหญ้ารูซี ไม่ทนทานต่อการเหยียบย่ำ หญ้ารูซี Ruzi ลักษณะทรงพุ่มคล้ายหญ้าซิกแนล 10-13 0.5-6 ตันต่อไร่ ทรงพุ่มสูงประมาณ 90-100 ซม. มีใบอ่อนนุ่มและมีขนนุ่มมือ ต่างกับหญ้าขนตรงที่ลำต้น ไม่ยืดยาว ขนาดความยาวปล้องสั้นกว่า

Type of Forage Crops หญ้า ลักษณะ % CP Yield หญ้ากินนี Guinea grass กอตั้งตรงสูง 150-240 ซม. 4-14 6-8 ตันต่อไร่ ต้นเป็นมันสีเขียวเข้ม หญ้าเนเปียร์ Napier ลำต้นสูงใหญ่คล้ายต้นอ้อย 4-10 1-10 ตันต่อไร่ ตั้งตรงสูง 180-450 ซม. ตัวใบเป็นมันมีขนหยาบปกคลุม สัตว์ชอบกินและมีความน่ากินสูง

การใช้ประโยชน์ทุ่งหญ้า (Pasture Utilisation) วิธีการตัดสด (Fresh Cut หรือ Cut and Carry)   - เป็นวิธีการใช้ประโยชน์จากทุ่งหญ้าโดยการขนย้ายพืชอาหารสัตว์ จากแปลงมาให้โคกิน - การตัดอาจทำได้โดยการเกี่ยว การใช้เครื่องมือทุ่นแรง

Advantage &Disadvantage ข้อดี - ใช้ประโยชน์จากพืชได้เต็มประสิทธิภาพ (Efficiently Land Utilized)         - พืชมีความสม่ำเสมอในการเจริญเติบโตครั้งต่อไป - เหมาะกับพืชที่ให้ผลผลิตสูง - สามารถใช้เลี้ยงโคได้จำนวนเพิ่มขึ้น (Better Per Unit Production) ข้อเสีย ต้องใช้แรงงานและเครื่องจักรอุปกรณ์ (Labor Demand) แปลงหญ้าเสื่อมสภาพเร็ว - ค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยสูง Possible Infectious Disease Outbreaks Cost of Housing

การใช้ (ตัด) แปลงหญ้า ระยะตั้งตัว : หลังปลูก 2 - 3 เดือนหญ้าควรตั้งตัวได้ : มีรากสมบูรณ์ คลุมดินได้เต็มพื้นที่ แตกแขนงและกิ่งก้านดีแล้ว การใช้ : อย่าปล่อยให้หญ้าแก่เกิน 6 - 8 อาทิตย์ อย่าตัดหรือปล่อยวัวแทะเล็มจนเหลือหญ้าสั้นเกินไป หมุนเวียนแปลงอย่างสม่ำเสมอ ให้แปลงหญ้าได้มีเวลาพักฟื้น Under grazing Optimum grazing Over grazing

2) วิธีการปล่อยโคลงแทะเล็ม (Grazing) 1. ระบบปล่อยแปลงเดียว (Continuous Grazing หรือ Set Stocking) เป็นระบบที่ปล่อยให้โคลงแทะเล็มในแปลงหญ้าขนาดใหญ่แปลงเดียว 2. ระบบปล่อยหมุนเวียน (Rotational Grazing) เป็นระบบที่มีการแบ่งแปลงหญ้าออกเป็นแปลงย่อยๆ

Advantage &Disadvantage ข้อดี -  ประหยัดแรงงานและค่าใช้จ่ายในด้านเครื่องจักรอุปกรณ์ในการตัดหญ้า -  โคสามารถเลือกกินหญ้าที่มีคุณภาพดีได้ - มีการคืนกลับของธาตุอาหารจากปัสสาวะและมูลโค -  ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย ข้อเสีย -  โคมีการเหยียบย่ำทำลายพืชอาหารสัตว์ -  ต้องลงทุนในระบบรั้ว -  ถ้าจัดการไม่ดีพอ พืชอาหารสัตว์จะหายไปจากแปลงได้เร็ว -  พืชอาหารสัตว์จะตั้งตัวได้ช้าหลังแทะเล็ม และจะขึ้นไม่ส่ำเสมอ

What is the optimum stocking rate ? การจัดการแปลงพืชอาหารสัตว์ที่ดี : ควรให้มีอัตราสัตว์แทะเล็ม พอดีกับปริมาณของพืชอาหารสัตว์ที่มีอยู่ ทั้งในช่วงฤดูฝน และฤดูแล้ง อัตราสัตว์แทะเล็มที่เหมาะสม เรียกว่า Optimum stocking rate อัตราสัตว์แทะเล็ม จะใช้หน่วยเป็น Animal unit (A.U.) แทนคำว่า “ตัว”

Animal unit (A.U.) หน่วย 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม แม่โค + ลูกโค 1 ตัว = 1.20 A.U. โคพ่อพันธุ์น้ำหนักมากกว่า 300 กิโลกรัม = 1.25 A.U. โคอายุ 1 ปี = 0.50 A.U. แกะพันธุ์ยุโรป 6 ตัว = 1.00 A.U.

การคำนวณ optimum stocking rate พื้นที่ 10 ไร่ ปลูกหญ้ารูซี่ ในช่วงฤดูฝน ถ้าใช้ประโยชน์โดยการปล่อยให้สัตว์แทะเล็ม จะต้องใช้อัตราสัตว์ กี่ หน่วยจึงจะเหมาะสม การคำนวณ โดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ - ผลผลิตของหญ้ารูซี่ - ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็ม (ตั้งแต่ มิถุนายน-พฤศจิกายน) - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ - 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม

การปล่อยสัตว์แทะเล็ม (ตัน/ไร่) ผลผลิต(น้ำหนักแห้ง) ที่ได้ในแต่ละช่วงเวลาของปี ของหญ้ารูซี่ ช่วงเวลา ผลผลิต(น้ำหนักแห้ง)ที่ได้ในสภาพ การตัด (ตัน/ไร่) การปล่อยสัตว์แทะเล็ม (ตัน/ไร่) ผลผลิตในช่วงเวลา ผลผลิตสะสม มิถุนายน - กรกฎาคม สิงหาคม - กันยายน ตุลาคม - พฤศจิกายน ธันวาคม - กุมภาพันธ์ 1.00 0.70 0.65 0.15 1.70 2.35 2.50 0.500 0.350 0.325 0.075 0.850 1.175 1.250

การคำนวณ optimum stocking rate 1. ผลผลิต (น้ำหนักแห้ง) ของหญ้ารูซี่ ในสภาพการแทะเล็ม ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. มีผลผลิตสะสม 1.175 ตันต่อไร่ ดังนั้น พื้นที่แปลงหญ้า 10 ไร่ จะได้ผลผลิตสะสมเท่ากับ 11.75 ตัน (1.175 X 10) หรือ 11,750 กิโลกรัม 2. ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็ม โจทย์ระบุตั้งแต่ ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. รวมเป็นระยะเวลา 183 วัน

การคำนวณ optimum stocking rate ก. การใช้อาหารในแต่ละวัน ระยะเวลาที่แทะเล็มในแปลง 183 วัน ใช้อาหารหยาบ 11,750 กก. ” ” 1 วัน ” ” 1 x 11,750 183 = 64.208 กก. ดังนั้น ปริมาณอาหารหยาบ 64.208 กก. นี้ จะต้องใช้อัตราสัตว์แทะเล็ม กี่ A.U. ?ต่อวัน

การคำนวณ optimum stocking rate วิธีที่ 1 เมื่อ - 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่ มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ ดังนั้น โคน้ำหนัก 100 กิโลกรัม ต้องการอาหาร 3 กิโลกรัม โคโตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม (1 A.U. ) “ 300 X 3 100 = 9 กิโลกรัม

การคำนวณ optimum stocking rate ใน 1 วัน จะใช้อาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม เลี้ยงโคที่โตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม หรืออาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ 1 A.U. เมื่ออาหารหยาบแห้ง 9 กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ 1 A.U. “ 64.208 “ 64.208 X 1 9 = 7.134 A.U. หรือน้ำหนักสัตว์ทั้งหมด 2,140.2 กิโลกรัม (7.134 X 300) ดังนั้นจำนวนโคที่ปล่อยทั้งหมดน้ำหนักรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 2,140.2 กก

การคำนวณ optimum stocking rate ข. อัตราสัตว์ที่ปล่อยแทะเล็ม (optimum stocking rate ) วิธีที่ 2 ระยะเวลา 1 วัน สัตว์ 1 A.U. ต้องการอาหารแห้ง 9 กก. ระยะเวลา 183 วัน --------------”------------- 9 x 183 =1,647 kg. อาหารแห้ง 1,647 kg ระยะเวลา183 วัน ใช้เลี้ยงสัตว์ได้ 1 A.U. ----------- 11,750 --------” ----------- 11,750 1,647 = 7.13 A.U.