งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พันธุ์หญ้าพืชอาหารสัตว์ที่สำคัญในไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พันธุ์หญ้าพืชอาหารสัตว์ที่สำคัญในไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พันธุ์หญ้าพืชอาหารสัตว์ที่สำคัญในไทย
หญ้ารูซี่ (Ruzi) Brachiaria ruziziensis หญ้าขนหรือหญ้ามอริชัส (Para grass) Brachiaria mutica หญ้ากินนี (Guinea) Panicum maximum TD 58 หญ้าเนเปียร์ (Napier) Pennisetum purpureum หญ้าอะตร้าตั้ม (Atratum) Paspalum atratum

2 หญ้ารูซี่ (Ruzi) Brachiaria ruziziensis

3 หญ้าขนหรือหญ้ามอริชัส (Para grass) Brachiaria mutica

4 หญ้ากินนี (Guinea) Panicum maximum TD 58

5 หญ้าเนเปียร์ (Napier) Pennisetum purpureum

6 หญ้าอะตร้าตั้ม (Atratum) Paspalum atratum

7 ถั่วพืชอาหารสัตว์บางชนิดในเขตร้อน
ถั่วเวอราโน (Verano stylo, Caribbean stylo) Stylosanthes hamata cv. Verano ถั่วท่าพระสไตโล (Tha pra Stylo) Stylosanthes guianensis ถั่วคาวาเคด Centrosema pascuorum cv. Cavalcade ถั่วเซนโตรหรือถั่วลาย (Centro) Centrosema pubescens

8 ถั่วเวอราโน (Verano stylo) Stylosanthes hamata cv. Verano

9 ถั่วท่าพระสไตโล (Tha pra Stylo) Stylosanthes guianensis

10 ถั่วคาวาเคด Centrosema pascuorum cv. Cavalcade

11 ถั่วเซนโตรหรือถั่วลาย (Centro) Centrosema pubescens

12 ส่วนเหลือทางการเกษตรสำหรับโคนม
ส่วนเหลือจากการเพาะปลูก ส่วนเหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม

13 1. ส่วนเหลือจากการเพาะปลูก
ฟางข้าว มากที่สุด ยอดอ้อย มากแต่ใช้ประโยชน์น้อย ต้นข้าวโพด เปลือกข้าวโพด เฉพาะพื้นที่ ซังข้าวโพด น้อย เปลือกถั่วต่างๆ น้อย

14 เปลือกสับปะรด จุก ใบ เฉพาะพื้นที่ เมล็ดฝ้าย กำลังมาแรง
ใบมัน มาก เก็บยาก เปลือกสับปะรด จุก ใบ เฉพาะพื้นที่ เมล็ดฝ้าย กำลังมาแรง เมล็ด ยางพารา นุ่น น้อย

15 2. ส่วนเหลือจากโรงงานอุตสาหกรรม
กากเบียร์ สด แห้ง กากปาล์ม ชานอ้อย กากมะพร้าว กากถั่วเขียว ถั่วลิสง กากทานตะวัน กากมันสำปะหลัง ก๊าก ก๊าก ก๊าก ก๊าก ๆๆๆๆๆ

16 Crop residues เป็นอาหารหยาบ Industrial residues เป็น วัตถุดิบอาหารข้น
อาหารหยาบ VS อาหารข้น Crop residues เป็นอาหารหยาบ Industrial residues เป็น วัตถุดิบอาหารข้น

17 Roughage แหล่งใหญ่มาจากพืชอาหารสัตว์
แปลงหญ้าปลูก

18 ผลผลิต 90 : 10 ฝน : แล้ง

19 พอหรือไม่ ตลอดปี อาหารหยาบ
ถ้าพอ จบ

20 เพิ่มผลผลิต (น้ำ ปุ๋ย พันธุ์)
ไม่พอ ทำอย่างไร เพิ่มผลผลิต (น้ำ ปุ๋ย พันธุ์)

21 เพิ่มผลผลิต (น้ำ ปุ๋ย พันธุ์)
ไม่พอ ทำอย่างไร เพิ่มผลผลิต (น้ำ ปุ๋ย พันธุ์)

22 สรุป ฝนเหลือ แล้งขาด เหลือแล้วทำอย่างไร เก็บได้หรือไม่ เก็บอย่างไร Silage VS Hay

23 Hay

24 Silage

25 Hay หญ้าแห้ง ข้อดี 1. สามารถทำได้ง่าย สะดวก
2. เหลือใช้สามารถขายได้ทันที่ 3. เพิ่มคูณค่าทางอาหารยูเรีย

26 ข้อเสีย 2. สูญเสียมากในระหว่างการทำ 3. ระวังไฟ
1. ต้องอาศัยแสงแดด 2. สูญเสียมากในระหว่างการทำ 3. ระวังไฟ 4. สูญเสียคุณค่าทางอาหารมาก

27 ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพหญ้าแห้ง
1. ชนิดของพืชที่ใช้ทำหญ้าแห้ง 2. อายุของพืชที่ใช้ทำหญ้าแห้ง 3. สัดส่วนระหว่างใบกับลำต้น 4. ความมีสีเขียวของพืช 5. ระยะเวลาที่ใช้ในการตาก 6. วัชพืชที่ปนอยู่กับหญ้าแห้ง 7. กลิ่นหอมเฉพาะด้วย

28 Silage พืชอาหารสัตว์หมัก
หญ้าหมัก หมายถึง การเก็บถนอมพืชอาหารสัตว์สดในสภาพหมักดองไว้ในหลุมอาหารหมัก (Silo) ในสภาพสูญญากาศ โดยอาศัยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ พวก Lactic acid bacteria เปลี่ยน Carbohydrate เป็นกรด Lactic acid และ ทำให้ pH ประมาณ 4.2 ทำให้พืชอาหารสัตว์อยู่ในสภาพดอง สามารถเก็บไว้เป็นเวลานานนับปี ขบวนการหมักนี้เรียกว่า Ensilage

29 หญ้าหมัก ถนอมพืชอาหารสัตว์ในลักษณะสด

30

31

32 การทำหญ้าหมักมีข้อดีข้อเสีย
สูญเสียคุณค่าทางอาหารค่อนข้างน้อย ทำได้ตลอดปีแม้ว่าเป็นฤดูฝน เก็บรักษานานหลายปีและไม่มีผลต่อคุณค่าทางอาหาร ทำให้ส่วนที่แข็งนิ่มช่วยเพิ่มการกินได้ของสัตว์ ลดปัญหาเรื่องวัชชพืช เมล็ดวัชชพืช

33 ใช้พื้นที่น้อยในการเก็บรักษา
ลดปัญหาเกี่ยวกับไฟในขณะเก็บรักษา สูญเสียในรูปน้ำหนักแห้งน้อยที่สุด ต้นทุนต่ำต่อกิโลกรัมที่ทำ

34 ทุนในการดำเนินการสูง หลังจากเปิดหลุมต้องรีบใช้ให้หมด
ข้อเสีย ต้องใช้มีความรู้ ทุนในการดำเนินการสูง หลังจากเปิดหลุมต้องรีบใช้ให้หมด อาจทำให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ ในไทยวิธีการทำหญ้าหมักสำหรับเกษตรกร ยังไม่เหมาะสม

35 ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุ (Silo)
พืชอาหารสัตวที่นำมาหมักจะมีความสามารถในการหมักต่างกัน การทำพืชอาหารหมักในไซโล การปิดไซโล การเปิดหลุมเพื่อใช้หญ้าหมัก

36

37 การวัดคุณภาพของหญ้าหมัก มาตรฐานที่ใช้ในการวัดคุณภาพของหญ้าหมักคือ
pH ประมาณ 4.2 กรดบิวทีริค < 0.2 % ของน้ำหนักแห้ง NH3 - N < 11 % ของ TN

38 ขบวนการหมัก (Silage fermentation)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้ - เซลล์ของพืชอาหารสัตว์จะหายใจต่อไป ดังสมการ C6H12O6 +6O2-->6CO2+6H2O+ความ ร้อน Oxygen ถูกใช้จนหมดแล้วและ

39 พวกแบคทีเรียที่ไม่ต้องการออกซิเจน (Anaerobic bacteria) พวก Lactobacillus sp. จะทำการสร้าง Lactic aicd C6H12O (C3H6O3) Glucose Lactic acid

40 ในกรณีที่ pH 4.2 ทำให้หญ้าหมักไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ในกรณีที่ pH ลดลงไม่มากพอ และ ความชื้นมาก Clostridium เจริญเติบโต และจะสร้าง Butyric acid ดังสมการ Clostridium sp. 2 (C3H6O3) C4H8O2+2CO2 + 2H2O Lactic acid Butyric acid

41 ผลคือหญ้าหมักที่มีคุณภาพไม่ดี คือ มีกลิ่นเหม็นและเป็นเมือก

42 ปัจจัยที่ผลต่อการหมัก
1. ชนิดของพืช พันธุ์พืชและอายุของพืช คาร์โบไฮเดรตที่ละลายน้ำได้ (Water Soluble Carbohydrate, WSC) Buffer Capacity, m E/kg DM 2. น้ำ ความชื้นในต้นพืช 3. อากาศ 4. สารเสริม (Silage additive)


ดาวน์โหลด ppt พันธุ์หญ้าพืชอาหารสัตว์ที่สำคัญในไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google