โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล Journal Club Fever โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
ทำไมถึงเลือกเรื่องนี้ ?
Have a fever ? Let Tropical medicine take care of you.
หัวข้อFever 2. กลไกการเกิดไข้ 3. ระดับของไข้ 4. สาเหตุของไข้ 1. ความหมาย 2. กลไกการเกิดไข้ 3. ระดับของไข้ 4. สาเหตุของไข้ 5. Journal
ไข้ ( fever) หมายถึง การที่อุณหภูมิของร่างกายสูงเกินปกติ ซึ่งร่างกายคนปกติจะมีอุณหภูมิประมาณ 37 องศาเซลเซียส เมื่อวัดทางปาก ร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีการปรับอุณหภูมิให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม และไม่เปลี่ยนแปลงไปมาก เพื่อให้การทำงานของร่างกายเป็นไปได้อย่างปกติ
กลไกการเกิดไข้ในร่างกาย มีกลไกมาจากแบคทีเรียที่ผลิตท็อกซิน หรือเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายปล่อยสาร ไพโรเจน (Pyrogen) ออกมา สารตัวนี้จะไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวปล่อยสารก่อไข้ คือ เอนโดจีนัส ไพโรเจน (Endogenous pyrogen) ซึ่งจะไปกระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ คือ ไฮโปทาลามัส ให้ทำงานมากขึ้น ทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น
ระดับของไข้
2. ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 38.5 – 39.4 องศาซ. 1. ไข้ตํ่า (Low fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 37.5 – 38.4 องศาซ. 2. ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 38.5 – 39.4 องศาซ. 3. ไข้สูง (High fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 39.5 – 40.5 องศาซ. 4. ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) มีอุณหภูมิตั้งแต่ 40.5 องศาซ. ขึ้นไป
การให้ความหมายของอาการมีไข้แตกต่างกัน ไข้ที่วัดทางหู คือ อุณหภูมิ 37.5 – 41 องศาเซลเซียส ไข้ที่วัดทางทวารหนัก คือ อุณหภูมิ 38.0- 41 องศาเซลเซียส ไข้ที่วัดทางปาก คือ อุณหภูมิ 37.5 – 41องศาเซลเซียส แหล่งข้อมูล (Information source) The Joanna Briggs Institute. Best Practice: Evidence Based Practice Information Sheets for Health Professionals.5 (5) 2001, p1-6. Translated by Assistant Professor Dr. Seepan Kantawang
สาเหตุของไข้ 1. การติดเชื้อที่มีการอักเสบ 2. การที่ร่างกายทำปฏิกิริยากับสิ่งแปลกปลอม เช่น หลังการฉีดวัคซีน 3. ร่างกายขาดน้ำ เช่น อุจจาระร่วง อุณหภูมิภายนอกร่างกายสูงมากๆ 4. ได้รับบาดเจ็บ มีบาดแผล
การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-based Practice) การนำผลการวิจัยมาใช้ในการปฏิบัติ การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-based Practice)
Fever
วัตถุประสงค์ (Objectives) เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของวิธีการลดไข้แต่ละวิธี
ผลของวิธีการลดไข้ต่ออาการไข้ (Effect of interventions on fever) 1 Paracetamol + ibuprofen 2 Paracetamol VS Sponge 3 Paracetamol + Sponge VS Sponge 4 Paracetamol + Sponge VS Paracetamol
การเช็ดตัวลดไข้ (Tepid sponge) หมายถึง วิธีการที่ทำให้ความร้อนในร่างกายลดลงเป็นการถ่ายเทความร้อน โดยใช้น้ำเป็นตัวช่วยพาความร้อนออกจากร่างกาย จากการใช้ผ้าชุบน้ำ บิดหมาดๆ แล้วเช็ดตัวอย่างนุ่มนวล นอกจากนี้ การเช็ดตัว ยังช่วยให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น และช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จึงช่วยเพิ่มการระบายความร้อน และช่วยให้รู้สึกสบายตัว
Journal
Paracetamol plus ibuprofen for the treatment of fever in children (PITCH) : randomiszed controlled trial
randomized controlled trial (RCT) Study design randomized controlled trial (RCT)
Journal Health Technology Assessment 2009 ; Vol. 13 : No.27
professor of primary care health services research Tim J Peters professor of primary care health services research Faculty of Health and Social Care,University of West England,Bristol
recruited and followed up children between January 2005 and May 2007.
Objective To investigate whether paracetamol(acetaminophen) plus ibuprofen are superior to either drug alone for increasing time without fever and the relief of fever associated discomfort in febrile children managed at home.
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการใช้ยาพาราเซตามอลร่วมกับไอบูโพรเฟน เปรียบเทียบกับการใช้ยาแต่ละชนิดเดี่ยวๆ ในการลดไข้ในเด็ก ซึ่งได้รับการดูแลเองที่บ้าน
Primary care and households สถานที่ทำวิจัย Primary care and households in England.
11/24/2018 Participants Children aged between 6 months and 6 years with axillary temperatures of at least 37.8°C and up to 41.0°C.
กลุ่มตัวอย่าง ผู้เข้าร่วมทำการศึกษาเป็นเด็กอายุตั้งแต่ 6 เดือนจนถึง 6 ปี ซึ่งได้รับการดูแลเองที่บ้านที่วัดอุณหภูมิทางรักแร้ได้ระหว่าง 37.8 – 41 องศาเซลเซียส.
Included included children if they were aged between 6 months and 6 years and were unwell with a temperature of at least 37.8°C and up to 41.0°C as a result of illnesses that could be managed at home.
Excluded We followed up children at 24 and 48 hours and at day 5. excluded children if they required hospital admission; were clinically dehydrated; had recently participated in another trial; had previously participated in PITCH; had a known intolerance, allergy, or contraindication to a trial drug18; had a chronic neurological, cardiac, pulmonary (except asthma), liver, or renal disease; or had parents who could not read or write in English. We followed up children at 24 and 48 hours and at day 5.
Intervention/การรักษา Advice on physical measures to reduce temperature and the provision of, and advice to give,paracetamol plus ibuprofen, paracetamol alone, or ibuprofen alone. โดยสุ่มแบ่งออกเป็นกลุ่มที่ได้รับยาพาราเซตามอลร่วม กับไอบูโพรเฟน หรือใช้ยาแต่ละตัวเดี่ยวๆ ในการลดไข้
Paracetamol plus ibuprofen Randomized (n=156) Paracetamol plus ibuprofen (n=52) Paracetamol only (n=52) Ibuprofen only (n=52)
ผลการวิจัย (Results) On an intention to treat basis, paracetamol plus ibuprofen were superior to paracetamol for less time with fever in the first four hours (adjusted difference 55 minutes) พบว่าการใช้ยาสองชนิดร่วมกันช่วยให้ระยะเวลาการมีไข้ในช่วง 4 ชั่วโมงแรกลดลงอย่างชัดเจน (ลดลง 55 นาที) เมื่อเทียบกับใช้ยา paracetamol อย่างเดียว
ส่วนการให้ยาสองชนิดร่วมกันเมื่อเทียบกับใช้ยา ibuprofen อย่างเดียว พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน
39 Paracetamol Temperature (°C) ibuprofen 38 37 36 35 24 4 8 12 16 20 Paracetamol+ibuprofen 37 36 35 24 4 8 12 16 20 time (Hours)
Combined therapy cleared fever faster than paracetamol alone but no faster than ibuprofen alone. พบว่าการใช้ยาสองชนิดร่วมกันจะลดไข้ได้เร็วกว่า ใช้ยา paracetamol อย่างเดียว แต่ไม่เร็วกว่าให้ยา ibuprofen อย่างเดียว
DISCUSSION (อภิปรายผล) In febrile children we found strong evidence of faster time to fever clearance and more prolonged time without fever in the first four hours favouring the use of paracetamol plus ibuprofen and ibuprofen over paracetamol, ในเด็กที่มีไข้ พบว่า หลักฐานที่แข็งแกร่ง ในเวลาที่เร็วในการลดไข้ ใน 4 ชั่วโมงแรก นิยมใช้ paracetamol plus ibuprofen และ ibuprofen มากกว่า paracetamol
Conclusion (สรุปผล) Doctors, nurses, pharmacists, and parents wanting to use medicines to treat young, unwell children with fever should be advised to use ibuprofen first and to consider the relative benefits and risks of using paracetamol plus ibuprofen over a 24 hour period.There is no evidence from the accompanying cost effectiveness evaluation to contradict these findings. ต้องการใช้ยารักษาในเด็กที่มีไข้ ควรแนะนำในการใช้ ibuprofen ครั้งแรก และต้องพิจารณาประโยชน์และความเสี่ยงของการใช้ยา paracetamol + ibuprofen เป็นระยะเวลานานกว่า 24 ชั่วโมง ยังไม่มีหลักฐานที่ขัดแย้งกับการวิจัยนี้
Thank you everybody for your attention