Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
Advertisements

D: Detection I: Incident Command S: Safety & Security A: Assess Hazards S: Support T: Triage & Treatment E: Evacuation R: Recovery.
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
EASY ASTHMA CLINIC โรงพยาบาลนครพนม
Pass:
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
โครงการ : การศึกษาและจัดทำระบบ GIS การพัฒนาลุ่มน้ำกลุ่มจังหวัด ( บางปะกง ปราจีนบุรี นครนายก โตนเลสาป ) กลุ่ม D.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
แผนปฏิบัติการยึดคืน พัฒนา และจัดสรรพื้นที่
โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
ศิลปะการทำงาน ให้ได้ผล คนพอใจ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
รายงานความคืบหน้า “โครงการจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์”
17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
ไคเซ็น KAIZEN.
เขตสุขภาพ ที่11.
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
แนวทางการจัดทำรายงาน
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การบริหารจัดการทางการศึกษา (106402)
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
การบริหารความเสี่ยง จากการปฏิบัติงานในระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-GP)
การสร้างบุคลิกภาพในงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
รายงานการประเมินตนเอง
บทที่ 2 การดูแลความสะอาดสุขสบาย
เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
Selecting Research Topics for Health Technology Assessment 2016
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
Animal Health Science ( )
หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการขาย
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
Public Health Nursing/Community Health Nursing
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)

ภัยพิบัติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทกภัย โคลนถล่ม วาตภัย คลื่นสึนามิ การเกิดไฟป่า แผ่นดินไหว และโรคระบาด ฯลฯ ภัยพิบัติจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ สงคราม การก่อการร้าย สถานการณ์วิกฤตทาง การเมือง การรั่วไหลของสารเคมี เป็นต้น

วิกฤตสุขภาพจิต หมายถึง ภาวะเสียสมดุลทางอารมณ์และจิตใจจากสถานการณ์หรือเหตุการณ์วิกฤตที่เกิดขึ้นทำ�ให้เกิดความว้าวุ่น สับสน และความผิดปกติที่คนเราไม่สามารถจะใช้วิธีคิดและการปฏิบัติที่เคยใช้ได้ในภาวะปกติ

ผู้ประสบภาวะวิกฤต หมายถึง ผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทั้งทางตรงและทางอ้อม ประกอบด้วย ผู้ได้รับบาดเจ็บ ครอบครัวผู้เสียชีวิต/บาดเจ็บ ผู้รอดชีวิต ผู้สูญเสียทรัพย์สิน ผู้อยู่ในเหตุการณ์ ผู้ป่วยที่มีประวัติ การรักษาทางจิตเวช และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือ

ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team : MCATT) หมายถึง ทีมสหวิชาชีพที่ให้การช่วยเหลือทางด้านจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ได้แก่ แพทย์ พยาบาลจิตเวช เภสัชกร นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิต และผู้ที่เกี่ยวข้อง

องค์ประกอบของทีมMCATT ระดับอำเภอ บทบาทหน้าที่ แพทย์ พยาบาลที่รับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิต/พยาบาลเฉพาะทางสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช (PG) /พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกายเพื่อประเมินสถานการณ์ ประเมินคัดกรองและให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตในพื้นที่ ถ่ายทอดความรู้ในเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตให้แก่บุคลากรในเครือข่าย เช่น ศูนย์เยียวยาระดับตำบล อสม. รพ.สต. เป็นต้น รายงานผลการปฏิบัติงานตามขั้นตอน เพื่อนำเสนอ War room กระทรวงสาธารณสุข

ระบบการปฏิบัติงาน

ระยะเตรียมการ ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน ระยะวิกฤต (72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์) ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ - 3 เดือน) ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)

ขั้นตอนการปฏิบัติงานช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต สำหรับทีม MCATT ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ

การดำเนินงานให้ความช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต : ระยะเตรียมการ

การดำเนินงานให้ความช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต : ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ – 2 สัปดาห์)

ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) ปัจจัย 4 ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (Psychological First Aid : PFA)

ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์) คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ให้มีการติดตามดูแลต่อเนื่องภายหลัง 2 สัปดาห์

ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์) กลุ่มผู้ประสบภาวะวิกฤตที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวช หรือใช้สารเสพติด กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต กลุ่มผู้สูงอายุและเด็ก กลุ่มผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต

ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ - 3 เดือน) ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ - 3 เดือน)

ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป) ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)

ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป) ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป) ระยะนี้เน้นการส่งเสริม ป้องกัน บำบัด ฟื้นฟูสุขภาพจิต การเฝ้าระวังและค้นหาโรคระยะเริ่มแรกเพื่อป้องกันความพิการทางจิตใจ (Early Detection and Early Intervention)

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต

การใช้เครื่องมือประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต ตามระยะของการเกิดภัยพิบัติสำหรับผู้ใหญ่

การใช้เครื่องมือประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต ตามระยะของการเกิดภัยพิบัติสำหรับผู้ใหญ่