การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Print Monitoring and Cost Control
Advertisements

วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ 6 มิติ
ระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินสหกรณ์
ลำดับที่ 1 เมื่อเข้าสู่ web site “ธนาคารแบบก่อสร้าง”
ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
แนวทางการบริหารงานบำรุงทาง โดย นายชัชวาลย์ บุญเจริญกิจ รองอธิบดีฝ่ายบำรุงทาง วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2553.
 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เกษตรศาสตร์ (Bachelor of Science Program in Agriculture) สาขาวิชาเอก พืชไร่ พืชสวน สัตวศาสตร์  หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต.
การบริหารงบประมาณ. รายงานผลการใช้จ่ายเงิน จัดทำแผนการใช้จ่ายเงิน จัดทำคำของบประมาณ.
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ ถูกต้องและต่อเนื่อง นำสาระท้องถิ่นมาบูรณาการกับ สาระแกนกลาง ปรับโครงสร้างเวลาเรียนตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ดำเนินก.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
บทที่ 5 การสร้างแผนภาพความคิด
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
ขั้นตอนการชำระเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
จัดทำโดย นายณัฐศุภญกร ตานาคา ปวส.2/5 การตลาด นางสาวสุพัตรา แจ่มมั่งคั่ง ปวส.2/5 การตลาด นางสาวสุวนันท์ ธรรมจิตร ปวส.2/5 การตลาด
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
เรื่องน่ารู้ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
11 May 2014
ห้องประชุมออนไลน์ Online Conference
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
การป้องกันรักษาความปลอดภัยจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เบื้องต้น
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
คลิก Start เพื่อเข้าสู่เกม
อรกัญญา เมธา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง
KM Day กองแผนงาน ระบบแผนงาน Online 12 กันยายน 2557
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
หลักการ และ กระบวนการขายออนไลน์
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
การพัฒนาและติดตั้งระบบ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
การประชุมซ้อมความเข้าใจการลงทะเบียนและ
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรมที่ 1 ให้นักศึกษาทำภาระกิจตามสถานการณ์ปัญหาที่กำหนด ซึ่งมี 4 สถานการณ์ปัญหา โดยให้ศึกษา และค้นคว้าจาก Internet หรือห้องสมุด แล้วสรุปตามความคิดของตนเอง.
บทที่ 2 การบริการบนระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing Service)
เวปไซต์การบันทึกผลงาน อสม. ดีเด่น ระดับจังหวัด
วิธีใช้ Google form สร้างแบบสอบถามออนไลน์.
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
การให้บริการไฟล์ File Transfer Protocol
Program Auto Form Developed for Green Organizations.
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
สรุปผลงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การพัฒนาข้อมูลสาเหตุการตาย
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
MR. PAPHAT AUPAKA UPDATE PICTURE MEETING ROOM SYSTEM
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การใช้ระบบโปรแกรม การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน  เจ้าหน้าที่ บันทึก
การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
การจัดการข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของโรงเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss ) โดย รัตนา เหตุคุณ หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์กรุงเทพมหานคร กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

เครื่องมือเตือนภัยทางการเงิน CFSAWS:ss คืออะไร 1. เตือนภัยแนวโน้มทางการเงิน - ด้านโครงสร้างทั่วไป - ด้านความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง - ด้านคุณภาพของสินทรัพย์ - ด้านความสามารถในการทำกำไร - ด้านสภาพคล่องทางการเงิน

2. บทบาทการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงิน ฝ่ายบริหาร ฝ่ายจัดการ 3. ผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้สอบบัญชี ผู้ควบคุมภายใน นักวิเคราะห์ทางการเงิน

3. เหตุที่ต้องเตรียมความพร้อม ในการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงิน ข้อมูลในอดีตชี้อนาคต อนาคตที่สามารถกำหนดได้ แนวทางบริหารทางการเงินที่ดีขึ้น ปลอดภัยและเป็นไปอย่างราบรื่น 4) ความรับผิดชอบต่อมวลสมาชิก

4 ขั้นตอนการเทียบเคียงเพื่อบริหารจัดการทางการเงิน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 เพื่อทราบค่าอัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์ในมุมมอง 6 มิติ ของ CAMELS เพื่อเป็นจุดสนใจเบื้องต้นโดยมีระดับการเทียบเคียง 3ระดับ ระดับสูง (ดี) ระดับกลาง (พอใช้) ระดับต่ำ (ต้องปรับปรุง) เพื่อเตรียมความพร้อมในการวิเคราะห์ โดยจัดระดับการวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวัง 4 ระดับ - ระดับปกติ - ระดับมากขึ้น - ระดับพิเศษ - ระดับพิเศษเร่งด่วน เพื่อรายงานและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการให้ประสบผลสำเร็จสร้างการดำเนินงานที่เข้มแข็งและมีเสถียรภาพทางการเงินที่มั่นคง คำนวณอัตราส่วนทางการเงิน เทียบเคียงอัตราส่วนมาตรฐานทางการเงิน (3 อัตรา) ประเมินผลการเทียบเคียงเบื้องต้น วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจการเงิน(CAMELS Analysis)

ดี พอใช้ ขั้นที่ 1 คำนวณอัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์ ขั้นที่ 2 เทียบเคียงอัตราส่วนมาตรฐานทางการเงินของสหกรณ์ ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ระดับมาตรฐาน ความหมาย 1. ดี แสดงถึงความสามารถที่ล้ำหน้า ควรรักษาระดับให้คงอยู่อย่างต่อเนื่อง 2. พอใช้ แสดงถึงความสามารถเป็นที่พอใช้ อาจจะสามารถปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานให้มากขึ้นได้อีก 3. ต้องปรับปรุง แสดงถึงความสามารถที่อาจต้องแก้ไข ปรับปรุง หรือเปลี่ยนปลงวิธีการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น

ขั้นที่ 3 ประเมินผลการเทียบเคียงเบื้องต้น ขั้นที่ 4 วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจทางการเงินในมุมมอง 6 มิติของ CAMELS

ระดับวิเคราะห์และเฝ้าระวัง การเตรียมความพร้อมในการวิเคราะห์ 1. ปกติ เป็นระดับวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวังปกติ แต่อย่างไรก็ตามต้องวิเคราะห์ถึงความสามารถในการพัฒนาได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องหรือไม่ ซึ่งอาจมีด้านใดด้านหนึ่งของ CAMELS ที่ต้องพัฒนาปรับปรุงให้ดีกว่าเดิมก็ได้ 2. มากขึ้น เป็นระดับวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวังมากขึ้น ต้องวิเคราะห์ถึงความสามารถในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีปัญหาด้านใดด้านหนึ่งหรือสองด้านของ CAMELSหรือไม่ ที่ต้องพัฒนาปรับปรุงให้มากขึ้นและดีกว่าเดิมก็ได้ 3. พิเศษ เป็นระดับวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวังเป็นพิเศษ ต้องวิเคราะห์ให้ชัดเจนว่ามีปัญหาด้านใดของ CAMELSรุนแรงหรือไม่ รวมทั้งหาสาเหตุ คืออะไรและมีความจำเป็นที่ต้องแก้ไขปรับปรุงอย่างรวดเร็วหรือไม่ 4. พิเศษเร่งด่วน เป็นระดับวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวังเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วนต้องวิเคราะห์ให้ชัดเจนถึงว่าได้เกิดปัญหาทุกด้านของCAMELS รุนแรงหรือไม่ รวมทั้งหาสาเหตุคืออะไรและมีความจำเป็นที่ต้องแก้ไขปรับปรุงอย่างเร่งด่วนมิฉะนั้นจะเกิดผลเสียหายหรือไม่

การติดตั้งเครื่องมือเตือนภัยทางการเงิน ในกรณี online ผ่านเครือข่าย Internet เข้าสู่ web site กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ที่ http://statistic.cad.go.th เลือก CFSAWS:ss ขั้นตอนดังรูป

ในกรณี Offline ไม่ผ่านเครือข่าย Internet การติดตั้งโปรแกรม App Serv v.2.50 ใส่แผ่นซีดี CFSAWS:ss หรือดาวน์โหลด Program ดังภาพ จากนั้นทำตามขั้นตอน

การเข้าสู่โปรแกรม CFSAWS:ss - กรณี Online เข้าสู่ web site ที่ http://statistic.cad.go.th แล้วไปคลิกที่เครื่องมือ CFSAWS:ss จะขึ้นหน้าจอโปรแกรม CFSAWS:ss

- จากนั้นให้แล้วคลิกที่ปุ่ม Login

- เมื่อหน้าจอโปรแกรมปรากฏดังภาพให้คลิกที่ เข้าสู่โปรแกรมระบบ

บันทึกข้อมูล

• เมื่อบันทึกข้อมูลครบเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม อัตราส่วนทางการเงิน/ ความพร้อมในการวิเคราะห์ ดังภาพ

• คลิกต่อที่หัวข้อ ความพร้อมในการวิเคราะห์ และการเชื่อมโยงกับ CAMELS จะได้ผลดังภาพ

ประมวลผล สหกรณ์ตัวอย่าง

ผลการเทียบเคียงอัตราส่วนที่ได้กับอัตราส่วนมาตรฐานทางการเงิน ระดับการเตรียมความพร้อมในการวิเคราะห์

- ความลึกในแต่ละด้านเชื่อมโยงกับการวิเคราะห์กับ CAMEL - การสั่งพิมพ์ ให้คลิกที่ปุ่ม พิมพ์รายงาน

ผลกระทบที่จะมีต่อมิติของ CAMELS การเลือกอัตราส่วนเทียบเคียงหลัก แนวโน้มและผลที่มีต่อประสิทธิภาพการเนินงาน ผลกระทบที่จะมีต่อมิติของ CAMELS 1. อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร (ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน) มีแนวโน้มสูงขึ้น และยังมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับประสิทธิภาพการดำเนินงาน • การทำกำไร • สภาพคล่องทางการเงิน • ความเข้มแข็งของเงินทุน 2. อัตราลูกหนี้ที่ชำระหนี้ได้ตามกำหนดมีแนวโน้มลดลง และยังมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับประสิทธิภาพ การดำเนินงาน • คุณภาพสินทรัพย์ 3. อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์มีแนวโน้มลดลง และยังมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับประสิทธิภาพ

ค่าเทียบเคียงของอัตราส่วนมาตรฐานทางการเงิน วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องให้เข้มแข็งและมีเสถียรภาพทางการเงิน

1. อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร (ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน) ประเภทสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ระดับมาตรฐาน ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การเกษตร น้อยกว่า 45.00 45.00 – 65.00 มากกว่า 65.00 ออมทรัพย์ น้อยกว่า 25.00 25.00 – 35.00 มากกว่า 35.00 ประมง/นิคม/ร้านค้า/บริการ น้อยกว่า 50.00 50.00 – 70.00 มากกว่า 70.00

2. อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระได้ตามกำหนด ประเภทสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ระดับมาตรฐาน ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การเกษตร มากกว่า 90.00 60.00 – 90.00 น้อยกว่า 60.00 ออมทรัพย์ มากกว่า 95.00 85.00 – 95.00 น้อยกว่า 85.00 ประมง/นิคม/บริการ

3. อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ ประเภทสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ระดับมาตรฐาน ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง การเกษตร มากกว่า 0.20 0.10 – 0.20 น้อยกว่า 0.10 ออมทรัพย์ มากกว่า 0.10 0.04 – 0.10 น้อยกว่า 0.04 ประมง/นิคม/ร้านค้า/บริการ มากกว่า 0.25 0.15 – 0.25 น้อยกว่า0.15

อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อ กำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ปี 2556 ปี 2555 กำไรขั้นต้น 1,100.00 16.92 1,000.00 16.67 บวก รายได้เฉพาะธุรกิจ 500.00 7.96 300.00 5.00 รวม 1,600.00 24.61 1,300.00 21.66 หัก ค่าใช้จ่ายเฉพาะธุรกิจ 400.00 6.15 200.00 3.33 กำไรเฉพาะธุรกิจ 1,200.00 18.46 1,100.00 18.33 บวก รายได้อื่น (รายละเอียด 1) 200.00 3.08 150.00 2.50 รวม 1,400.00 21.54 1,250.00 20.83 หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (รายละเอียด 2) 1,100.00 16.92 930.00 15.50 กำไรสุทธิ 300.00 4.62 320.00 5.33 งบกำไรขาดทุน B A อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อ กำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน (A) ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน จำนวน 1,100.00 บาท (B) กำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน จำนวน 1,400.00 บาท คำนวณได้ = 1,100 /1,400 *100 = ร้อยละ78.57

อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ (C) ทุนสำรอง จำนวน 1,500.00 บาท ปี 2556 ปี 2555 รวมหนี้สิน 1,545.00 35.56 1,110.00 31.44 ทุนของสหกรณ์ ทุนเรือนหุ้น 1,000.00 20.00 900.00 25.50 ทุนสำรอง 1,500.00 48.00 1,200.00 33.99 กำไรสุทธิประจำปี 300.00 9.20 320.00 9.07 รวมทุนของสหกรณ์ 2,800.00 64.44 2,420.00 68.56 รวมหนี้สินและทุนของสหกรณ์ 4,345.00 100.00 3,530.00 100.00 C D อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ (C) ทุนสำรอง จำนวน 1,500.00 บาท (D) สินทรัพย์ จำนวน 4,345.00 บาท คำนวณ 1,500.00/4,345.00 = 0.35 เท่า

วิธีการเข้าสู้ข้อมูลและอัตราส่วนสำคัญเฉลี่ยของสหกรณ์

เกณฑ์ชี้วัดการเงิน- Peer Group สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม สหกรณ์ประมง สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์บริการ สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน กลุ่มเกษตรกร

ตัวอย่างการเปรียบเทียบผล/ค่าเฉลี่ย มิติที่ 1 C : ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ ความเข้มแข็งของเงินทุน อัตราส่วน ร้อยละ/เท่า ค่าเฉลี่ย อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน : 1.98 เท่า 1.96 อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ : 0.12 เท่า 0.07 อัตราการเติบโตทุนของสหกรณ์ : 3.52 % 10.18 อัตราการเติบโตของหนี้ : 17.02 % 18.00 อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของทุน : 7.22 % 8.44 1 1

อัตราหมุนของสินทรัพย์ : 0.41 รอบ 1.12 อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ : มิติที่ 2 A : คุณภาพของสินทรัพย์ อัตราส่วน ร้อยละ/เท่า ค่าเฉลี่ย อัตราหนี้ค้างชำระ : 12.24 % 31.95 อัตราหมุนของสินทรัพย์ : 0.41 รอบ 1.12 อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ : 2.52 % 2.91 อัตราการเติบโตทุนของสหกรณ์ : 12.11 % 15.24 มิติที่ 3 M : ขีดความสามารถในการบริหารบริหาร อัตราส่วน ร้อยละ/เท่า ค่าเฉลี่ย อัตราการเติบโตของธุรกิจ : 12.09 % 13.05

มิติที่ 4 E : การทำกำไร อัตราส่วน ร้อยละ/เท่า ค่าเฉลี่ย กำไรต่อสมาชิก : 5,141.40 บาท 746.35 เงินออมต่อสมาชิก : 209,059.66 บาท 13,547.87 หนี้สินต่อสมาชิก : 56,582.78 บาท 17,671.93 อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร : 31.53 % 52.45 อัตราการเติบโตของทุนสำรอง : 15.41 % 7.85 อัตราการเติบโตของทุนสะสมอื่น : 16.59 % 6.35 อัตราการเติบโตของกำไร/ขาดทุน : -41.89 % 6.20 อัตรากำไรสุทธิ : 6.13 % 2.60 2

มิติที่ 5 L : สภาพคล่อง อัตราส่วน ร้อยละ/เท่า ค่าเฉลี่ย อัตราส่วนทุนหมุนเวียน : 1.32 เท่า 1.12 อัตราหมุนของสินค้า : 14.74 ครั้ง 14.92 อายุเฉลี่ยสินค้า : 24.76 วัน 24.46 อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระได้ตามกำหนด : 87.52 % 68.05 3

โจทย์ฝึกปฏิบัติ ให้แปลความหมายผลของการวิเคราะห์ จากเครื่องมือทางการเงิน ระบบเฝ้าระวังเตือนภัยทางการเงิน แปลความหมายของการวิเคราะห์อัตราส่วน 3 อัตราส่วน 1. อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ (ใช้ข้อมูลจากมิติที่ 1 C) 2. อัตราส่วนค่าใช้จ่ายดำเนินต่อกำไร (ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน) (ใช้ข้อมูลจากมิติที่ 4 E) 3. อัตราส่วนลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระได้ตามกำหนด (ใช้ข้อมูลจากมิติที่ 5 L)

การเทียบเคียงมาตรฐานการเงิน ค่ามาตรฐานระหว่าง 0.10 – 0.20 เท่า ค่าเฉลี่ย 52.45% ค่าเฉลี่ย 68.05% ค่าเฉลี่ย 0.07 เท่า ค่ามาตรฐานระหว่าง 0.10 – 0.20 เท่า ค่ามาตรฐานมากกว่า 65% ค่ามาตรฐานมากกว่า 90% 99.85 75.29 0.10 ดี ปรับปรุง พอใช้

การแปลความหมายและการวิเคราะห์ผล อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร(ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน) สูตร = ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน * 100 กำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน หน่วย เป็น ร้อยละ - เป้าหมาย ต่ำสุด * ค่าเทียบเคียงกับมาตรฐานอยู่ที่ ระดับ ต้องปรับปรุง ( สีแดง ) * อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานอยู่ที่ร้อยละ 75.29 * ค่ามาตรฐานมากกว่า ร้อยละ 65 * ค่าเฉลี่ยควรอยู่ที่ร้อยละ 52.45

การแปลความหมายและการวิเคราะห์ผล - สหกรณ์ควรควบคุมค่าใช้จ่ายดำเนินงานให้อยู่ในอัตราที่เหมาะสมกับธุรกิจของสหกรณ์ เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะ ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ ค่าน้ำประปา ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก หนี้สงสัยจะสูญ ถ้าสหกรณ์ควบคุมค่าใช้จ่ายดำเนินงานให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม * กำไรจะเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ * สภาพคล่องทางการเงินไม่มีปัญหา * กำไรที่เกิดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของทุนสหกรณ์ สร้างความเข้มแข็งด้าน เงินทุนของสหกรณ์ได้เช่นกัน

การแปลความหมายและการวิเคราะห์ผล อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระได้ตามกำหนด สูตร = ลูกหนี้ระยะสั้นชำระได้ตามกำหนด *100 ลูกหนี้ระยะสั้นที่ถึงกำหนดชำระ หน่วย เป็นร้อยละ / เป้าหมาย สูงสุด (100%) * ค่าเทียบเคียงกับมาตรฐานอยู่ที่ ระดับ ดี ( สีเขียว ) * อัตราส่วนของสหกรณ์อยู่ที่ร้อยละ 99.85 ซึ่งสูงกว่าค่า มาตรฐานซึ่งอยู่ที่มากกว่าร้อยละ 90 * ค่าเฉลี่ย อยู่ที่ร้อยละ 68.05

การแปลความหมายและการวิเคราะห์ผล * สหกรณ์สามารถบริหารลูกหนี้ระยะสั้นให้ชำระหนี้ได้ตามกำหนด * ลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระหนี้ได้นั้นเกิดจากการแปลงสัญญา หรือปรับ โครงสร้างหนี้หรือไม่ * ถ้าใช่ก็ไม่ได้เกิดผลดีเป็นการปรับตัวเลขให้เป็นไปตามเป้าหมายหรือ แผนงาน เท่านั้น * เมื่อสหกรณ์ไม่มีลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ * ปัญหาสภาพคล่องทางการเงินก็ไม่มีหรือมีปัญหาน้อย * สหกรณ์ไม่ต้องไปแสวงหาแหล่งเงินทุนเพื่อมารักษาสภาพคล่อง

การแปลความหมายและการวิเคราะห์ผล อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ สูตร = ทุนสำรอง สินทรัพย์ทั้งสิ้น หน่วย เป็น เท่า เป้าหมาย สูงที่สุด อัตราส่วนเฉลี่ย หรือ ค่าที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับ ประเภทสหกรณ์ * ค่าเทียบเคียงกับมาตรฐานอยู่ที่ ระดับ พอใช้ ( สีเหลือง ) อยู่ระหว่าง 0.10-0.20 * ค่าของสหกรณ์อยู่ที่ 0.10 เท่า * ค่าเฉลี่ย อยู่ที่ 0.07 เท่า

การแปลความหมายและการวิเคราะห์ผล * สหกรณ์มีทุนสำรองอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน * เงินทุนของสหกรณ์มีความเข้มแข็ง * สหกรณ์ควรรักษาระดับอัตราค่ามาตรฐานไว้ เพราะ สินทรัพย์ของสหกรณ์จะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา * ทุนสำรองจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี หรือ บางครั้งอาจได้มาจากการบริจาค

สัญญานภาพ 1นาที เทียบเคียง มาตรฐาน ระดับ เฝ้าระวัง การเตรียม ความพร้อม ความลึกใน การวิเคราะห์

สวัสดีค่ะ