แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
Advertisements

INTREGRATION H A & H P H.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
Patiphak Namahoot Dip. Thai Board of Family Medicine Director of Chumsaeng Hospital.
นพ.นิวัฒน์ชัย นามวิชัยศิริกุล อาจารย์แพทย์ประจำสำนักวิชาแพทยศาสตร์
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
แนวคิดและรูปแบบการฟื้นฟูผู้ป่วยจิตเวช แบบการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ สุชาดา สาครเสถียร BSc (PT), MOT. ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศรีธัญญา.
Family assessment and Home health care
Siriporn Chitsungnoen
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
Patient centered medicine การดูแลผู้ป่วย โดยผู้ป่วยเป็นสำคัญ
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
การประเมินผู้ป่วยและครอบครัว ในการดูแลระยะยาว
Overview of Family Medicine
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
INHOMESS นพ.นนท์ โสวัณณะ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
Family assessment การประเมินปัญหาสุขภาพครอบครัว
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
มีจำนวน 1 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2559
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
Family assessment.
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
การใช้ยา.
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
NKP Nursing Care Model : Integrated of Care from Entry to COC
Public Health Nursing/Community Health Nursing
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
แนะนำหนังสือใหม่ พฤศจิกายน 2560
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
สร้างเครือข่ายในชุมชน
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
มีจำนวน 8 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
Working with the families of the Midlife
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ ๒ (มกราคม-มีนาคม๒๕๕๗)
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี การประยุกต์แนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวในคลินิกหมอครอบครัว Overview Concept of Family Medicine in Primary Care Cluster แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี

Outlines 1. แนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว 2. การประยุกต์แนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวในคลินิกหมอครอบครัว

หลักการของเวชศาสตร์ครอบครัว เวชปฏิบัติระดับปฐมภูมิ (Primary care) First contact บริการด่านแรก Accessibility Continuity การดูแลต่อเนื่อง Comprehensive care การดูแลผสมผสาน Coordinated care การส่งต่อและเชื่อมประสานบริการ Community care : ยึดชุมชนเป็นฐาน การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม (Holistic care) Patient-centered การดูแลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง Family-oriented : การดูแลทั้งครอบครัว “The family as a patient” Community-oriented การดูแลในระดับชุมชน

ชนิดของเวชปฏิบัติ Primary Care(ปฐมภูมิ) Secondary Care(ทุติยภูมิ) คนแรก (First Contact/ Accessibility) ดูแลต่อเนื่อง (Continuous) ดูแลผสมผสาน (Comprehensive) ทำงานเป็นทีม (Coordinated) ยึดชุมชนเป็นฐาน (Community care) Secondary Care(ทุติยภูมิ) ดูแลระยะสั้น และ มีที่ปรึกษา Tertiary Care(ตติยภูมิ) ดูแลโรคที่พบไม่บ่อย ต้องดูแลอย่างใกล้ชิดโดยแพทย์เฉพาะทาง

Primary care (เวชปฏิบัติปฐมภูมิ) คนแรก (First Contact/ Accessibility) ดูแลต่อเนื่อง (Continuous) ดูแลผสมผสาน (Comprehensive) ทำงานเป็นทีม (Coordinated) ยึดชุมชนเป็นฐาน (Community care) สถานีอนามัย (สอ.) ศูนย์สุขภาพชุมชน (PCU,CMU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) คลินิกหมอครอบครัว

การเข้าถึงบริการ (Accessibility/ First contact care) 1 สะดวก ง่าย ใกล้บ้าน 2 ไม่มีอุปสรรค 3 ติดต่อผ่านโทรศัพท์ www.themegallery.com Company Logo

ดูแลต่อเนื่อง (continuous care) 1 มีทีมสุขภาพประจำครอบครัว ดูแลทั้งป่วยและไม่ป่วยต่อเนื่อง 2 3 ข้อมูลเก็บรวบรวมทันสมัย www.themegallery.com Company Logo

ดูแลแบบองค์รวมผสมผสาน (comprehensive care) 1 ครอบคลุม กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ครบถ้วน ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู 2 www.themegallery.com Company Logo

สังคม จิต กาย บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม สร้างเสริม ป้องกัน จิตวิญญาณ (ปัญญา) รักษา สังคม ฟื้นฟู จิต กาย

การประสานบริการ (Coordinated care) 1 อสม/เจ้าหน้าที่เป็น “เจ้าของไข้” 2 ส่งต่อ รับกลับ แบบเอื้ออาทร 3 การแพทย์ฉุกเฉินมีประสิทธิภาพ www.themegallery.com Company Logo

หลักการเวชศาสตร์ครอบครัว 4 หลักการเวชศาสตร์ครอบครัว 4. Coordinated care : การร่วมกับทีมเพื่อให้บริการ การประสานการทำงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในหน่วยบริการปฐมภูมิกับระบบสุขภาพต่างๆ

ระบบสนับสนุน Green channel www.themegallery.com Company Logo

ยึดชุมชนเป็นฐาน (Community care) 1 สร้างศักยภาพชุมชน (Empowerment) 2 ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ กองทุนสุขภาพเข้มแข็ง 3 www.themegallery.com Company Logo

COPC Community-Oriented Primary Care ชุมชน COPC Community-Oriented Primary Care การทำเวชปฏิบัติปฐมภูมิ โดยใช้บริบทของชุมชนเป็นฐาน

กระบวนการสุขภาพชุมชน (Community Health Process) เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ประเมินภาวะสุขภาพ การประเมินผล การวินิจฉัยชุมชน โดยชุมชน มีส่วนร่วม ระบุปัญหา จัดลำดับ หาสาเหตุ การดำเนินงาน การวางแผน

เครื่องมือศึกษาชุมชน 7 ชิ้น แผนที่เดินดิน ผังเครือญาติ โครงสร้างองค์กรชุมชน ระบบสุขภาพชุมชน ปฏิทินชุมชน ประวัติศาสตร์ชุมชน ประวัติชีวิตบุคคลที่น่าสนใจ

Primary care เวชปฏิบัติปฐมภูมิ บริการระดับแรก ที่อยู่ใกล้ชิดชุมชนมากที่สุด ดูแลสุขภาพประชาชน ทั้งในระดับ บุคคล ครอบครัว และชุมชน อย่างใกล้ชิด ตั้งแต่ก่อนป่วย ไปจนถึงการดูแลเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่วยและหลังเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ เพื่อให้เกิดสุขภาพดีและมีชุมชนเข้มแข็งต่อไป

การดูแลโดยให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง บุคคล การดูแลโดยให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผู้ป่วยมาด้วย อาการไม่สบาย ค้นหาทั้ง 2 ด้าน ด้านผู้ป่วย ความคิด (Ideas) ความรู้สึก (Feelings) รบกวนชีวิตประจำวัน (Function) ความคาดหวัง (Expectations) ด้านหมอ ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ วินิจฉัยแยกโรค เข้าใจ ความเจ็บป่วย หาทางช่วยเหลือ

การดูแลแบบองค์รวม Holistic Care ชุมชน ครอบครัว บุคคล ความเจ็บป่วย(จิตใจ) โรค(กาย)

ครอบครัว “เนื่องจากผู้ป่วยทุกคนย่อมเป็นสมาชิกของครอบครัวในครอบครัวหนึ่ง การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นจึงไม่ใช่การเจ็บป่วยของบุคคลเพียงคนเดียว แต่อาจเป็นได้ทั้งเหตุและผลของสภาวการณ์ครอบครัวที่ผู้ป่วยเกี่ยวข้องอยู่” สายพิณ หัตถีรัตน์

Family oriented care เครื่องมือต่างๆ ที่ทำให้มองเห็นภาพครอบครัวในตัวผู้ป่วย Basic communication skill Family genogram Family life cycle Family system Home visit

Genogram: ผังเครือญาติ ครอบครัว Genogram: ผังเครือญาติ นพพร 60 ปี CVA ดวงตา 60 ปี ผอ.เจนภพ 45 ปี นพนภา 40 ปี Anxiety disorder มุตตา 24 ปี suiticide เนตรนภิศ 38 ปี อมร 40 ปี พงศกร 41 ปี ประพงศ์ 33 ปี ต้อง 17 ปี Drug addict ต่อ 16 ปี ต้อม 6 ปี ADHD เจนภพและนพนภามีลูก 3 คนคือ ต้อง สาวน้อยวัย 17 ปี ที่โตเกินวัยและเป็นสาวซ่า ต้องเป็นลูกรักของเจนภพแต่เป็นไม้เบื่อไม้เมากับนพนภา ในขณะที่ ต่อ ลูกชายคนรองวัย 16 ปีเป็นลูกรักของแม่ นพนภาคอยปรับทุกข์ด่าว่าเจนภพให้ลูกชายฟัง โดยไม่รู้ว่าทำให้ต่อดูแคลนพ่อและเริ่มเบี่ยงเบนทางเพศ เจนภพ นพนภายังมีลูกหลงอีก 1 คนชื่อ ต้อม เป็นเด็กสมาธิสั้น เจ้าอารมณ์ พูดจาหยาบคาย เพราะได้ยินตัวอย่างมาจากแม่และ ยายนภางค์ ที่จงชังเจนภพ

แผนภูมิครอบครัว (Family Tree) วาดอย่างน้อย 3 รุ่น เริ่มจากตัวผู้ป่วยหลัก ลำดับพี่น้อง /สามีภรรยา จาก ซ้ายไปขวา วงรอบสมาชิกบ้านเดียวกับผู้ป่วย รายละเอียดสมาชิก ความสัมพันธ์ในครอบครัว

วัย หรือ วงจรชีวิตครอบครัว 1. ระยะคู่ครอง 2. ระยะเริ่มมีลูก 3. ระยะลูกยังเล็ก 4. ระยะลูกวัยเรียน 5. ระยะลูกวัยรุ่น 6. ระยะลูกเป็นผู้ใหญ่ 7. ระยะวัยกลางคน 8. ระยะวัยชรา

พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์

การประเมินครอบครัว (Family assessment) ปัญหาของครอบครัว : แผนภูมิครอบครัว : วัยครอบครัว วิธีแก้ปัญหาของครอบครัว ที่พึ่งของครอบครัว ผลต่อปัญหาสุขภาพในครอบครัว

การดูแลแบบองค์รวม Holistic Care ชุมชน ครอบครัว บุคคล ความเจ็บป่วย(จิตใจ) โรค(กาย)

“ หมอประจำตัวคนไข้และครอบครัว ” “ หมอครอบครัว, พยาบาลครอบครัว” “Family doctor, family physician, family nurse” An expert to explore the complex interaction of physical, psychological and social problem

coordinator/supporter บทบาทพยาบาล/เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของศูนย์สุขภาพชุมชน advocate/community leader learner role model provider case manager teacher researcher coordinator/supporter counselor

HT, COPD,MI, DM, CA, CVA, Accident ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เด็กที่ถูกทารุณกรรม ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง คนแอบแฝง คนหมดหวัง ผู้ถูกล่ามขัง เอดส์/วัณโรค

Ecology of medical care White KL. NEJM 1961;265(18):885-892)

รูปแบบการให้บริการในหน่วยบริการปฐมภูมิ 1. ด้านการรักษาพยาบาล (Treatment) การพัฒนาศักยภาพการรักษาพยาบาล การตรวจรักษาโรคที่พบบ่อยในชุมชน การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

หลักการส่งเสริมสุขภาพ 5 อ. 2. ด้านการส่งเสริมสุขภาพ (promotion หลักการส่งเสริมสุขภาพ 5 อ. อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ (สุขภาพจิต) อนามัยสิ่งแวดล้อม อบายมุข

3. การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) *การออกกำลังกายผู้สูงอายุ

การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในชุมชน การเยี่ยมบ้านและให้คำแนะนำการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ

4. ด้านการป้องกันโรค (Prevention) โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

เอกลักษณ์ของบริการระดับปฐมภูมิ เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิที่ใกล้บ้านใกล้ใจ ใกล้ชิดผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน ทำให้เข้าใจและทราบบริบท ข้อจำกัด สภาพแวดล้อมที่อาจส่งผลต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ความเข้าใจ ความใกล้ชิดผู้ป่วยและครอบครัว ตลอดจนการที่สามารถติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะที่มีในการให้บริการระดับปฐมภูมิ

เทคนิคการซักประวัติ แนะนำตัว ตาไว หูไว รับทราบปฏิกิริยา เช็คความรู้ ความคิด อารมณ์ ให้ความรู้ที่ผู้ป่วยต้องการ เปิดโอกาสให้ถาม

BATHE Technique B ackground : เกิดอะไรขึ้น A ffect : รู้สึกอย่างไร T rouble : อะไรเป็นปัญหาหนักที่สุด H andling : มีวิธีรับมืออย่างไร E mpathy : แสดงความเห็นใจ

บทสรุปการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว ตามแนวทางเวชศาสตร์ครอบครัว การดูแลผู้ป่วยและครอบครัวตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นการรวบรวมทักษะต่างๆ ของการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม (holistic)มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วยและผู้ดูแลในฐานะแพทย์/พยาบาลประจำครอบครัว นำไปสู่การทำ เวชปฏิบัติครอบครัว ให้เป็นบริการสุขภาพที่ใกล้บ้านและใกล้ใจ

บทบาทหน่วยบริการปฐมภูมิ สร้างทีมงานที่รับผิดชอบประชาชนร่วมกัน ทีมงานมีความสุขและความภูมิใจในการทำงาน สร้างคุณค่าและเอกลักษณ์ ให้กับระบบบริการปฐมภูมิ โดยใช้แนวความคิดของ เวชศาสตร์ครอบครัว เพิ่มศักยภาพของ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ

สรุปหลักการของเวชศาสตร์ครอบครัว “ดูแลแต่แรกทุกเรื่อง ต่อเนื่อง เบ็ดเสร็จ ผสมผสาน บริการเข้าถึงสะดวก บวกระบบปรึกษาและส่งต่อ” Holistic- First Contact- Continuity- Comprehensive-Coordinate-Context