สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
Risk Management System
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560 สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560 เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2560 ระหว่างวันที่ 27-29 สิงหาคม 2560

ประเด็นการตรวจราชการ สรุปผลการตรวจราชการ ประเด็นการตรวจราชการ เป้าหมาย พัทลุง สงขลา ตรัง ยะลา ปัตตานี นรา สตูล อัตราตายของผู้ป่วย STROKE (<ร้อยละ 7) < 7% x / อัตราการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง < 130 อัตราตายทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน < 4 : พัน รพ.ระดับ A S M F ดำเนินการได้ตามมาตรการดูแลแบบประคับประคอง   อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ STEMI อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ < 28 : แสน รพ.F2 ขึ้นไป ให้Fibrionolytic Drug) ในผู้ป่วยชนิด STEMI 100% ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาการผ่าตัดรักษา ใน 4 สัปดาห์ > 80% ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยเคมีบำบัดใน 6 สับดาห์ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยรังสีบำบัดใน 6 สับดาห์ refer ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีการลดลงของeGFR<4l/min/1.73m2/yr > 65% ร้อยละของผู้ป่วย (Blinding Cataract) ผ่าตัดภายใน 30 วัน ร้อยละผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสายตา > 75% จำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายในแต่ละ รพ. >1 ราย จำนวนผู้บริจาคดวงตาจากผู้เสียชีวิตในแต่ละ รพ. A และ S> > 5 ราย อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) (PS Score > 0.75) < 1%

Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD) ตัวชี้วัด 1.ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (DM ≥ ร้อยละ 40 , HT ≥ ร้อยละ 50) 2. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด CVD Risk ≥ ร้อยละ 80

ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ตามค่าเป้าหมายที่เหมาะสม ปี 2560 เขตสุขภาพที่ 12 จำแนกรายจังหวัด (1 ต.ค. 59 –21 ส.ค. 60) แหล่งข้อมูล : Health Data Center (HDC)

ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ตามค่าเป้าหมาย ที่เหมาะสม ปี 2560 เขตสุขภาพที่ 12 จำแนกรายจังหวัด (1 ต.ค. 59 –21 ส.ค. 60) แหล่งข้อมูล : Health Data Center (HDC)

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงอายุ 35 – 60 ปี ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เขตสุขภาพที่ 12จำแนกรายจังหวัด ปีงบประมาณ 2560 (1 ต.ค. 59 –21 ส.ค. 60) แหล่งข้อมูล : Health Data Center (HDC)

ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ผู้ป่วย DM และ HT ยังควบคุมสภาวะของโรคไม่ได้ ข้อมูล การเชื่อมโยงรหัส lab ยังไม่ถูกต้อง ทำให้ข้อมูลไม่ถูกดึงเข้าสู่ระบบ HDC - มีการลงทะเบียนผู้ป่วยรายใหม่ซ้ำซ้อนทำให้จำนวนผู้ป่วยสูงกว่าความเป็นจริง - ผู้ป่วยที่ยังไม่ถึงรอบเจาะ /แพทย์ไม่ได้สั่งเจาะ HbA1C ถูกนับเป็นผู้ป่วยที่คุมไม่ได้ มีค่า BP ครบ 2 ครั้ง มีความครอบคลุม ร้อยละ 38.83 มีผล HbA1C มีความครอบคลุม ร้อยละ 41.52 2. ผู้รับผิดชอบงาน ขาดความเข้าใจในการบันทึกและไม่สามารถเข้าถึงข้อมูล HDC 3. ผู้ป่วย ขาดกินยาไม่ถูกต้องและขาดความตระหนัก 1. ข้อมูล พัฒนาระบบข้อมูล และมี Data Cleaning ให้ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ควรเพิ่มความครอบคลุมของการเจาะ HbA1C และ วัด BP ให้ครบ 2 ครั้ง ควรมีช่องทางให้ผู้รับผิดชอบงาน สามารถเข้าถึงข้อมูล ควรมีการชี้แจงและกำกับติดตาม การบันทึกข้อมูลโดย System Manager ควรวิเคราะห์สาเหตุเพื่อปรับการดูแล รักษาในผู้ป่วยขาดนัด และมีกลุ่ม/ชมรม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างความตระหนักให้แก่ผู้ป่วย

อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง STROKE อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เกณฑ์ < 7

STROKE ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ผู้ป่วยเข้าถึงบริการช้า -นราธิวาสอัตราผู้ป่วยให้ยาระบายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ ใน 4.5 ชั่วโมง หลังเกิดอาการ= 10.88 (62/570ราย) ผู้ป่วยขาดความเข้าใจอาการโรค และเชื่อหมอบ้านมากกว่า - พัทลุง to RT –PA < 60 นาที =18.75%(3/16) Door to RT –PA < 60 นาที =18.75%(3/16) -ข้อจำกัดด้านสิทธิการักษา ส่งผู้ป่วยส่งสัย STROKE ไป รพชทั้งที่ไม่มี เครื่อง CT -ทบทวน Key Process พบว่า ผู้ป่วยที่มาล่าช้ายังมีความเชื่อในหมอบ้าน ระยะทางที่มาถึงรพ.ไกล แม้ว่ามีการขยายไปสู่ระดับ รพช. รพ.สต. อสม. -เกณฑ์มาตรฐานที่ใช้วิเคราะห์ผู้ป่วย เข้าข่าย stroke ทบทวนกระบวนการ fast track รอยต่อระหว่างส่งต่อ ความพร้อม เจ้าหน้าที่/เครื่องมือ/ความแม่นยำการวินิจฉัย -เน้นการพัฒนา Onset- To –Door -ควรสนับสนุนและพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในstroke unit -พัฒนาระบบการรับส่งต่อผู้ป่วยที่อยู่ตามรอยตะเข็บให้มีการส่งต่อระหว่างจังหวัดได้

สาขา COPD อัตราการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เป้าหมาย < 130 /100,000 ประชากร

สาขา COPD ***ข้อมูลจาก HDC 27 สิงหาคม 2560

ปัญหาที่พบ ข้อเสนอแนะ ระบบข้อมูล/การลงข้อมูล การลง ICD10 ซ้ำผู้ป่วยคนเดิม(ไม่มีอาการแต่มาตามนัด) มีความคลาดเคลื่อนในการวินิจฉัยโรคหอบหืด เช่น โรคที่เกิดจากสาเหตุอื่นถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้ป่วย COPD มีโรคร่วมมากที่เป็นสาเหตุของการ admit แต่ถูกลงข้อมูลเป็น COPD ทำให้ตัวชี้วัดสูงเกินความเป็นจริง พฤติกรรมผู้ป่วย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังสูบบุหรี่ (ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นอันดับ 1 ของประเทศ ข้อมูล HDC 26 ส.ค 60) หน่วยงานผู้รับผิดชอบระบบข้อมูล พัฒนาโปรแกรมการลงระบบบันทึกข้อมูลคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD quality of care) -ผู้ลงข้อมูลสามารถเข้าถึงแก้ไขข้อมูลได้ ลดขั้นตอนรายละเอียดของข้อมูล

อัตราตายทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน PPHN (2,500 g ) preterm<1000 <1500-2000 server BA server RDS Sepsis MAS เสียชีวิตระหว่างการส่งต่อ Intrauterrine transfrr system = 100 % รพช./รพสตคัดกรองครรภ์เสี่ยง เตรียมเลือกที่คลอด /วางแผนการคลอด กรณีเด็กผิดปกติ unexpect ประสานกุมารแพทย์ในการส่งต่อ ภาวะแทรกซ้อนขณะส่งต่อ -ตำแหน่งท่อช่วยหายใจไม่เหมาะสม -Hypothermia BT < 36.5 C

ข้อค้นพบ ทารกส่วนใหญ่เสียชีวิตด้วยภาวะแทรกซ้อน/ความพิการแต่กำเนิด/เสียชีวิตระหว่างส่งต่อการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ เตียง NICU มีจำนวนไม่ตรงตามเป้าหมายตัวชี้วัด แต่เพียงพอเนื่องจากอัตราการครองเตียงต่ำ ควรสนับสนุนเครื่องมือที่ใช้ส่งต่อทารก คือ (Transport Incubator/ Transport ventilator) ข้อเสนอแนะ ทบทวนกระบวนการ -คัดกรอง/ติดตามหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง เช่น DM/HT - กระบวนการส่งต่อทารก การเกิดภาวะแทรกซ้อน -การคัดกรองหัวใจพิการ - Intrauterrine transfersystem สูติแพทย์/ อายุแพทย์/ พยาบาล ประสานงานการดูแลร่วมกัน รพช รพสต คัดกรองในชุมชน โดยมี อสม.เยี่ยมติดตาม หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง มีฐานข้อมูลร่วม ประสานส่งข้อมูลร่วมกันระหว่างรพทสต. รพช. ในชุมชน กรณีขาดนัด รพสต อสม ประสานในชุมชน

สาขาสูติกรรม สิ่งที่ตรวจพบ การแก้ไข -แม่ตกเลือดเสียชีวิต 1 รายครรภ์ก่อนหน้ามีประวัติตกเลือด และครรภ์นี้เป็นท้องแฝด -1ราย =KPI ตก -มีการทบทวนเวชระเบียนอย่างละเอียดเพื่อโอกาสพัฒนา -มีแนวทางการปฏิบัติสำหรับการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง -ใช้ถุงตวงเลือด พัฒนาระบบขอเลือด ปรับแนวทางการรายงานstaff ในกลุ่มเสี่ยงสูง 0.75= (1ราย/134ราย)

สาขาหัวใจและหลอดเลือด อัตราตายในโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดSTEMI เกณฑ์ <10 ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้รับการขยายหลอดเลือดและหรือยาละลายลิ่มเลือด เกณฑ์>80

สาขาหัวใจและหลอดเลือด ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ DOOR TO Needle Time ไม่ได้ตามเป้า - ปัญหาระบบ fast treck /สิทธิการเบิก - ขาดความเข้าใจเกี่ยวอาการแสดงของโรค ตัดสินใจช้า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น DM/HT ผู้สูงอายุ/สูบบุหรี่ มาตรฐานการส่งต่อผู้ป่วยยังไม่ชัดเจน-การประสานงานระหว่างหน่วยงาน (ผู้ป่วยญาติ-1669-รพช รพสต-รพท-เจ้าหน้าที่ ER)) บางส่วนเป็น NSTEMI เกิดอาการแทรกซ้อน Killip 4 /Shock ระหว่างส่งต่อ ตัวชี้วัดย่อยผ่านเกณฑ์ แต่อัตราการการตายยังคงสูง ขาดแพทย์/นักเทคโนโลยีด้านหัวใจ -แพทย์หัตถการด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด -อายุรแพทย์ด้านโรคหัวใจ -พัฒนาระบบ STEMI Alert -เตรียมการรักษาผู้ป่วยSTEMI รถฉุกเฉินรพช.มีการทำ EKG และถ่ายรูปปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง -ควรมีการคัดกรองด้วย CVD risk ในกลุ่มเสี่ยงอย่างทั่วถึง -เพิ่มมาตรการการดูแลในผู้ป่วยกลุ่ม NSTEMI -กำหนดตัวชี้วัดย่อยกระบวนการ อาจปรับเปลียนตามปัญหาและบริบทภายพื้นที่

สาขามะเร็ง ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาการผ่าตัดรักษา ใน 4 สัปดาห์ เกณฑ์ > 80 ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดใน 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาใน 4 สับดาห์ Refer Refer Refer Refer Refer

สาขามะเร็ง ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ -ขาดข้อมูลผู้ป่วยรังสีรักษาที่ Refer มอ. -มี Early Detection (Mammogram, Colonoscopy)ให้ความร่วมมือในการทำ แต่ รอการตัดสินใจในการรักษานาน -ผู้เสียชีวิตจากมะเร็ง เพิ่มสูงขึ้น (ปอด ตับ ปากมดลูก) ศัลยแพทย์ไม่เพียงพอ -มีการเจรจาระหว่างจังหวัด/ภายในเขต 12 และมอ.ในการส่งกลับข้อมูลผู้ป่วยรังสีรักษา -สนับสนุนบุคลากร/อบรมศักยภาพพยาบาล -สร้าง Role model ที่เคยเป็นผู้ป่วยมะเร็ง ส่วนกลางสนับสนุน 1.อัตรากำลังศัลยแพทย์ 2.พัฒนาศักยภาพ/จัดอบรม CNC (Cancer Nurse Coordinator)

ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ข้อมูล 1.ปัญหาของการระบบคัดกรอง (เจาะ-จุ่ม)ลงระบบห่างกัน 1 สัปดาห์ระบบจะตัด 2.ปัญหาการเปลี่ยนเกณฑ์การคัดกรองผู้ป่วย CKD 3.ผู้ที่ปฎิบัติงานไม่สามรถเข้าแก้ไขข้อมูลได้ การติดตามการรักษา การติดตามผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ไม่สามารถควบคุมได้ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย DM/HT /สูงอายุ พฤติกรรม 1.คนไข้ปฏิเสธการรักษา/คนไข้หลุดระบบและคนไข้นอกคลินิกเยอะ 2.ไม่รับทานยาตามแพทย์สั่ง-พึ่งยาสมุนไพร ระบบข้อมูล -หน่วยงานผู้รับผิดชอบข้อมูลควรปรับระบบการบันทึกข้อมูล โดยลดขั้นตอนการลงข้อมูล/ผู้ปฎิบัติงานเข้าถึงแก้ไขได้/มีระบบส่งกลับยังรพสต. -มีระบบการติดตามป่วย CKD ใช้รวมกันระหว่าง รพศ-รพช-รพศต. กรณีผู้ป่วยขาดนัดติดตามไม่ได้ -เน้นการคัดกรองใน NCD Clinic ปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างสหสาขาวิชา พฤติกรรม เน้นการให้ความรู้พฤติกรรมรายบุคคล และจัดกิจกรรมส่งเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพฤติกรรมการดูแลตนเอง

ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ การผ่าตัด bliding cartaract ทำได้สูงถึง 87.36 ส่วนการคัดกรองตาในผู้สูงอายุได้ 48.75 ขาดผู้รับผิดชอบการที่ชัดเจนคัดกรองตาในผู้สูงอายุ (กลุ่มเวชกรรม-กลุ่มงานจักษุ) ผู้รับผิดชอบงานลงข้อมูลไม่ถูกต้อง ครบถ้วน พยาบาล Eye Nurse ไม่เพียงพอ ผู้รับผิดชอบไม่สามารถเข้าแก้ไขข้อมูลได้ เนื่องจากไม่มี PASSWORD/USERNAME การลงข้อมูลในโปรแกรม vision 2020 พยาบาลของ รพสต. ลงข้อมูลไม่ทัน ผู้ป่วยปฏิเสธการผ่าตัด/ความเชื่อด้านศาสนามีผลต่อการตัดสินใจ -กำหนดผู้รับผิดชอบให้ชัดเจนกรณีคัดกรองในผู้สูงอายุ -รพสต.มีส่วนร่วมในการค้นหา/คัดกรอง -เน้นคัดกรองในคลีนิคสูงอายุ/NCD Clinic -ส่วนกลางสนับการอบรมหลักสูตร Eye Nurse -จัดหลักสูตรคู่มือการคัดกรองโรคตาเบื้องต้นให้ รพช/รพสต

สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ ตัวชี้วัด จำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายในแต่ละ รพ.Donor เป้าหมาย 38 แห่ง > 1 ราย : 100 hospital death จำนวนผู้บริจาคดวงตาจากผู้เสียชีวิตในแต่ละ รพ. A และ S>5 ราย : 100 hospital death ผลงาน สงขลา 1 ราย ตรัง 2 ราย รวม 3 ราย สงขลา 4 ราย ตรัง 1 ราย นราธิวาส 1 ราย 6 ราย ผลงาน สตูล นราธิวาส ยะลา ผู้จำนงบริจาคอวัยวะ(ราย) 34 301 79 ผู้จำนงบริจาคดวงตา(ราย) 17 269 - ทุกจังหวัดในเขต 12 มีศูนย์รับบริจาคอวัยวะ มีคณะกรรมการเป็นรูปแบบ

ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ขาดผู้ประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ ที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง 4 เดือน - ขาดผู้จัดเก็บดวงตาที่ผ่านการอบรม จังหวัดพัทลุงยังไม่มีหน่วยบริการที่สามารถปลูกถ่ายอวัยวะได้ ความเชื่อของประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม อาจส่งผลต่อหลักความเชื่อ ทางศาสนา วัฒนธรรมว่าการบริจาคอวัยวะเป็นสิ่งผิดหลักศาสนา -กำหนดประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง 4 เดือน -ส่งผู้เข้ารับการอบรมจัดเก็บดวงตา -ประสานผู้นำด้านศาสนา -ทำความเข้าใจกับญาติผู้ป่วย

ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ แพทย์ /พยาบาลขาดแคลน เครือข่ายหน่วยกู้ชีพระดับตำบล ไม่ครอบคลุมทุกตำบล (พัทลุง) การประเมิน ER คุณภาพไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ความต่อเนื่องของข้อมูล เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงาน การส่งต่อ Trauma Fast Track ยังบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ระบบข้อมูลไม่เอื้อต่อการนำมาใช้วิเคราะห์ยังมีความยุ่งยากในการประมวลผลข้อมูล จัดทำแผนพัฒนาเฉพาะทางภายในเขต (ทั้งระยะ 4 เดือน และระยะสั้น) ส่วนกลาง -จัดทำคู่มือเกณฑ์การประเมิน ER คุณภาพ ECS -สนับสนุนแพทย์เฉพาะทางในบางสาขา เช่นแพทย์ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน แพทย์ศัลยกรรมประสาท

ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ -ขาดความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย ไม่เป็นตาม Guideline Sepsis -ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ/ภาวะแทรกซ้อนร่วม/โรคที่พบส่วนใหญ่ Pneumonia/COPD/มารพ.อาการรุนแรง Sepsis shock -ผู้ป่วยติดเชื้อเข้าถึงบริการได้ล่าช้า -การดูแลผู้ป่วยต้องติดตามต่อเนื่อง พัฒนาการใช้ Guideline Sepsis/standing order Sepsis/Sepsis shock -มีมาตรการรองรับเชื้อดื้อยาในรพ พัฒนารพชุมชนเรื่องการวินิจฉัยรักษาเบื้องต้น พัฒนาระบบ fast track