บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
Advertisements

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนมกราคม 2556 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 30 เมษายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 31 สิงหาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122, 2128
Explaining ASEAN REGIONALISM IN SOUTHEAST ASIA
บทบาทของอาจารย์ 9 มทร.กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ปราณีต ศรีศักดา อดีต ผอ.สคบศ กศ.บ.วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก
ประชาคมอาเซียน.
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านในประเทศอาเซียนกับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
กระทรวงสาธารณสุข และอาเซียน
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
ปัญหายาเสพติดแนวชายแดน
Economy Update on Energy Efficiency Activities
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
Road to the Future - Future is Now
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
เรื่องของอาเซียน.
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ชัยเมศร์ อมรพลสมบูรณ์
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานการณ์ และแนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
GATT & WTO.
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
Globalization and the Law
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
Tourism Industry Vs Retail Business in Thailand Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand January 13, 2019.
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
The Association of Thai Professionals in European Region
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
2017 edition of "The World of Organic Agriculture"
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน โดย นายแพทย์ประวิ อ่ำพันธุ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 4 มิถุนายน 2557

มารู้จักประชาคมอาเซียน

ปฏิญญากรุงเทพฯ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510

Bangkok Declaration (ค.ศ. 1967) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน ESTABLISHED 8 August 1967 in Bangkok by 5 countries. (Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand). Brunei joined in January 1984, Viet Nam in July 1995, Laos and Myanmar in July 1997 and Cambodia in April 1999. Main Objectives (i) to accelerate economic growth, social progress and cultural development (ii) to promote regional peace and stability. Basic data: population 500 million, combined GDP US$720 billion, combined exports US$ 735 billion. Average intra-ASEAN tariffs 4.43% compared to 12.76% in 1993. Abundant natural resource and skilled manpower. Mainly middle class, with high purchasing power, half the size of China’s. Some of its members are the world’s top 20 most competitive economies. Stretches across three time zones. Bridges the Indian and Pacific Oceans. One out of every ten persons is Southeast Asian. Main Objectives: “To accelerate the economic growth, social progress and cultural development; to promote regional peace and stability; to maintain close and beneficial cooperation with existing international and regional organizations..”

วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ ที่มา :http://men.mthai.com/work/life-tips/2057.html

อาเซียนถือกำเนิดที่ประเทศไทย ในปี 2510 สมาชิกผู้ก่อตั้ง มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ASEAN Factsheet สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไนฯ ปี 2527 + เวียดนาม ปี 2538 + ลาว ปี 2540 + พม่า ปี 2540 + กัมพูชา ปี 2542

ความสำคัญของอาเซียน ประชากร – 604.8 ล้านคน พื้นที่- 4.5 ล้าน ตาราง กม. GDP รวม 2,178 พันล้าน USD การค้ารวม 2,389 พันล้าน USD การลงทุนจากต่างประเทศ 114,111 ล้าน USD ที่มา : www.asean.org ASEAN Statistics 2011

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ความสำคัญของอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปรียบเทียบกับ ประชากร 604 ล้านคน › สหภาพยุโรป (อันดับ 3 ของโลก) GDP ขนาด 2.18 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ = 5.7 เท่าของไทย (อันดับ 9 ของโลก) การค้าระหว่างประเทศ 2.3 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ 5 เท่าของไทย (อันดับ 5 ของโลก) การลงทุนโดยตรง 114 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ 60% ของจีน (1 ใน 10 ของโลก) การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP growth) 4.7%

ความสำคัญของอาเซียนต่อไทย อาเซียนเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 ของไทยตั้งแต่ 2545 และเป็นแหล่งนำเข้าอันดับที่ 2 ตั้งแต่ปี 2540 จนถึงปัจจุบัน ในปี 2555 มูลค่าการค้า 96,670 ล้าน USD ประมาณ ร้อยละ 20 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทยและไทยได้เปรียบดุลการค้าอาเซียนถึง 16,390 ล้าน USD สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย ประมาณ 20% ของการลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด นักท่องเที่ยวกว่า 6 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 28 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด (มาเลเซียมาไทยมากที่สุด) 9

ภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียน ในการรวมตัวของ 10 ประเทศเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพื่อให้เกิดประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมีแผนการจัดตั้งประชาคมประกอบด้วย 3 เสาหลัก (pillars) ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Politicaland Security Community - APSC) มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง ๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) มุ่งให้เกิดการรวมตัวกัน ทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน ทำให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน ๓) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Social and Cultural Community - ASCC) เพื่อให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียน อยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เมื่อ 20 พ.ย. 2550 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 13 ผู้นำอาเซียนลงนามกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ - มีกฎกติกาในการทำงาน (Rules-based) - มีประสิทธิภาพ (effective) - มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (people-centered) มีผลใช้บังคับเมื่อ 15 ธ.ค. 2551 11

รู้จัก 3 เสาหลัก ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมือง และความมั่นคง อาเซียน ASEAN Security Community ASC ประชาคมสังคม และวัฒนธรรม อาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ASCC ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ASEAN Economic Community AEC 3 เสาหลัก สู่ประชาคมอาเซียน 2015 ประกอบด้วย

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political Security Community APSC 1.มีกฎ กติกา เป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน 2.มีความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน 3.มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 4.มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5.มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี 6.มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน 7.มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political Security Community APSC เป้าหมาย 1. การมีกฎ กติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน 2. มีความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคง สำหรับประชาชนที่ครอบคลุมอย่างรอบด้าน 3. มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 4. มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 5. มีระบบแก้ไขความขัดแย้ง ระหว่างกันได้ด้วยดี 6. มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน 7. มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคาม ความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ASCC 1.เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง 2.มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน 3.มีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 4.ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 5.ส่งเสริม อัตลักษณ์อาเซียน

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ASCC เป้าหมาย 1. เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง 2. มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน 3. มีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 4. ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 5. ส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ความยุติธรรมและสิทธิ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ความยุติธรรมและสิทธิ การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา รวมใจเป็นหนึ่ง ไม่เจ็บป่วย ไม่จน ปลอดภัย มีการศึกษา

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community AEC 1.เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) 2.มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 3.มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4.สามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก 5.เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจและอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน            6.เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของ สินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ 7.ลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคม  8.ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก 9.ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและตลาดทุน การปะกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม 10.พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว 11.พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community AEC เป้าหมาย กลยุทธ์สำคัญ 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว 2. มีความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 3. มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. สามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก 5. เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจและอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขาย            6. เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ 7. ลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคม  8. ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก 9. ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและ ตลาดทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและคมนาคม 10. พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว 11. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ประชาคมการเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558 สัมมนาสื่อมวลชนประชาสัมพันธ์เชื่อมโยงอาเซียน ประชาคมการเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 20 เก็จพิรุณ เกาะสุวรรณ์ 20

คุณลักษณะของประชาคมการเศรษฐกิจอาเซียน เป็นตลาดและฐานผลิตเดียวกัน เปิดเสรีการค้า ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ในปี 2553 เปิดเสรีการค้าบริการ เปิดเสรีบริการเร่งรัด 4 สาขา (e-ASEAN, สุขภาพ ท่องเที่ยว โลจิสติกส์) เปิดเสรีการลงทุน ส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนระหว่างประเทศอาเซียนภายใต้หลัก National Treatment เปิดเสรีการเคลื่อนย้ายเงินทุน ส่งเสริมการเชื่อมโยงตลาดทุนระหว่างกันและพัฒนาตลาดพันธบัตรมาตรการเปิดเสรีบัญชีทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ ลงนาม MRA วิชาชีพ 8 สาขา (วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นักสำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์ นักบัญชี และบริการท่องเที่ยว)

คุณลักษณะของประชาคมการเศรษฐกิจอาเซียน มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง เน้นการดำเนินนโยบายการแข่งขัน e-ASEAN การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การพัฒนา ICT และพลังงาน มีพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่ เท่าเทียมกัน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการขยายตัวของ SMEs ให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกใหม่ (CLMV) เพื่อลดช่องว่างระดับการพัฒนา มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ เน้นการจัดทำ FTA++

: One Vision, One Identity, One Community คำขวัญ AEC หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม คำขวัญ AEC วันอาเซียน ตรงกับวันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี ธงและดวงตราอาเซียน รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีผลผลิต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง

คำขวัญ AEC One Vision, หนึ่งวิสัยทัศน์, One Identity, หนึ่งเอกลักษณ์, One Community หนึ่งประชาคม

ธงประจำชาติประเทศกลุ่มสมาชิก อาเซียนประกอบด้วยสมาชิก 10 ประเทศ ประชากรอาเซียนรวม 604 ล้านคน GDP อาเซียนรวมกัน 2.18 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ 25

ดวงตราอาเซียน รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำเงิน รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีผลผลิต สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง

ปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อม นโยบายรัฐบาลไทย “นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนใน ปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อม และความเข้มแข็ง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และการเมืองและความมั่นคง”

วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งและสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดี ของประชาชนอาเซียนร่วมกัน”

ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย ๖. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน ๑. การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้าและการลงทุน ๓. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ ๘. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน ๔. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๗. การเสริมสร้าง ความมั่นคง ๕. การพัฒนากฏหมาย กฏ และระเบียบ ๒. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความคุ้มครองทางสังคม โดยมีมียุทธศาสตร์ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนเพื่อให้กระทรวงและหน่วยงานต่าง จัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์

ประเด็นท้าทายของอาเซียน ความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติ ศาสนา ระดับการพัฒนา การพัฒนา สถาบันการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันของมหาอำนาจ สหรัฐ รัสเซีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ประชาคมอาเซียน การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากร ตลาด การลงทุน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้งใน ประวัติศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ภูมิภาค 30

ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, Medical Hub, วิชาชีพ ประชาคมอาเซียน-> สาธารณสุข ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, Medical Hub, วิชาชีพ ฝึกอบรมสร้างผู้เชี่ยวชาญ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน E-ASEAN Single-Window คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองลิขสิทธิ์ AEC อยู่ดีกินดี ตลาดรวม ASCC สวัสดิการ สังคม APSC ปลอดภัย มั่นคง MDG คุณภาพชีวิต สิทธิมนุษยชน สวัสดิการสังคม ความเท่าเทียม, อนามัยเจริญพันธุ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ แรงงานต่างด้าว พัฒนาสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค HIV IHR ด่าน อาหารปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหาร สิทธิมนุษยชน อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ายาเสพติด การก่อการร้าย อาวุธชีวภาพ ความร่วมมือด้าน สาธารณภัย และเมื่อวิเคราะห์ในแต่ละ Blueprint แล้วจะมีเรื่องที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขอยู่มากมาย คือ 1. เสา APSC มีเรื่องของ สิทธิมนุษยชน อาชญากรรมข้ามชาติ การค้ายาเสพติด การก่อการร้าย อาวุธชีวภาพ ความร่วมมือด้าน สาธารณภัย 2. เสา AEC เป็นเรื่องที่รัฐบาลให้ความสำคัญมาก คือ ยาอาหารเครื่องมือ บริการสุขภาพ Health, Medical Hub วิชาชีพ (แพทย์ทันตแพทย์ พยาบาล) ฝึกอบรมสร้างผู้เชี่ยวชาญ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน E-ASEAN Single-Window คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองลิขสิทธิ์ 3 เสา ASCC เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุขมากที่สุดและเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนคนไทย คือ MDG คุณภาพชีวิต สิทธิมนุษยชน สวัสดิการสังคม ความเท่าเทียม, อนามัยเจริญพันธุ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ แรงงานต่างด้าว พัฒนาสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค HIV IHR ด่าน อาหารปลอดภัย ความมั่นคงทางอาหา

การเตรียมความพร้อม ของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขได้มีการจัดทำแผนเตรียมการรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงสาธารณสุขโดยมีสำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานหลัก

การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ การลงทุนสร้างโรงพยาบาลหรือสถานบริการด้าน สุขภาพของสมาชิก AEC ไทยตั้งเป้าเป็นศูนย์บริการด้านการแพทย์***** การค้าขาย การท่องเที่ยว โรงแรม คึกคัก บทบาท ของด่านศุลกากรน้อยลง มีปัญหายาเสพติดและ ปัญหาสังคม ตามมามากขึ้น ขาดแคลนสาธารณูปโภคและบริการพื้นฐาน ความ แออัดของเมืองใหญ่ ไทยจะเป็นศูนย์กลางการ ผลิตอาหารโลก***** ปัญหาสังคม การแบ่งชนชั้น ชุมชนเฉพาะกลุ่ม อาชญากรรมสูงขึ้น ผู้มารับบริการด้านสุขภาพ เป็นแรงงานต่างชาติ และผู้ป่วยต่างชาติ มีมากขึ้น มีความหลากหลาย ของเชื้อชาติ ปัญหาโรคอุบัติใหม่ เกิดโรคติดต่อ ที่มา: พิเชฐ บัญญัติ, 2555 http://www.thai-aec.com/

การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสุขภาพ เมื่อเกิด AEC : เกิดการแข่งขันบริการด้านสุขภาพ ที่มา : นายแพทย์ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์

Thailand Center of Excellent Health Care of Asia จำนวนผู้ป่วยชาวต่างชาติและประมาณการรายได้ ปี พ.ศ. จำนวนผู้ป่วยชาวต่างชาติ (ครั้ง) ประมาณการรายได้ (ล้านบาท) 2546 973,552 110 2547 1,103,095 19,635 2548 1,249,984 23,100 2549 1,330,000 36,000 2550 1,373,380 41,000 2551 1,550,000 50,963 2552 1,750,000 63,347 2553 1,980,000 78,740 2554 2,240,000 97,874 2555 2,530,000 121,658 ทีมา: สนง. คณะกรรมการบริหารศูนย์กลางสุขภาพระหว่างประเทศ กรม สบส

สถานการณ์กำลังคนด้านสาธารณสุข บุคลากร จำนวน สัดส่วนต่อประชากร แพทย์ 22,019 1:2,893 ทันตแพทย์ 4,807 1:13,252 เภสัชกร 8,988 1:7,087 พยาบาลวิชาชีพ 120,012 1:532 พยาบาลเทคนิค 9,228 1:6,903 อสม 1,023,700 1:63 ที่มา: สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2554

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ASEAN MRA ได้มีการลงนามใน 7 สาขาวิชาชีพและ 1 ฝีมือแรงงาน สาขาวิชาชีพ วันที่ลงนามความตกลง 1. วิศวกร 9 ธันวาคม 2548 2. พยาบาล 8 ธันวาคม 2549 3. ด้านการสำรวจ 19 พฤศจิกายน 2550 4. สถาปนิก 5. ผู้ประกอบการท่องเที่ยว 9 มกราคม 2552 6. แพทย์ 26 กุมภาพันธ์ 2552 7. ทันตแพทย์ 8. บัญชี

ผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ ข้อมูลจากการสำมะโนประชากรและการเคหะปี ๒๕๕๓ - ประชากรที่ไม่ได้ถือสัญชาติไทย ประมาณ ๒.๗ ล้านคน (ร้อยละ ๔.๑ ของประชากรทั่วประเทศ) - มากกว่าครึ่งอาศัยอยู่ใน กทม และภาคกลาง - ร้อยละ ๙๐ เป็นแรงงานข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้าน คาดว่ายังมีแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตามที่เข้าเมืองแบบผิดกฏหมาย > ๑ ล้านคน (รวมแรงงานต่างชาติไม่ต่ำกว่า ๓ ล้านคน)

ตัวอย่างผลกระทบจากแรงงานข้ามชาติ (ต่อ) การเพิ่มขึ้นของแรงงานข้ามชาติมีผลโดยตรงกับความสามารถในการรองรับของระบบบริการสุขภาพ - อัตราการครองเตียงของแรงงานต่างด้าวโรงพยาบาลในพื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติจำนวนมาก (ชายแดน เขตอุตสาหกรรม - การสื่อสารมีปัญหา - ภาระค่ารักษาพยาบาล - โรคติดเชื้อและโรคเรื้อรัง เช่น วัณโรค เท้าช้าง มาลาเรีย - อนามัยแม่และเด็ก (ทารกน้ำหนักน้อยอยู่ใน รพ. นาน ที่มา: เวทีวิชาการ “ สุขภาพแรงงานข้ามชาติ: ทางออกที่เหมาะสมเพื่อสร้างความ เป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพ โรงแรมทีเคพาเลช ๑๕ ตค. ๕๕

ผลกระทบที่คาดจะเกิดขึ้น 1. สุขภาพคนไทยอาจแย่ลง การไหลทะลักของสินค้าทำลายสุขภาพ เช่น เหล้า สุรา ฯลฯง อาหารและยาที่ไมได้มาตรฐานเข้ามามาก การแพร่กระจายของโรคติดต่อ การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ 2. บริการสุขภาพถูกแย่งชิงทั้งจากกลุ่มคนฐานะดีและแรงงานข้ามชาติ 3. ความเหลื่อมล้ำระหว่างไทยกับเพื่อนบ้าน คนรวยคนจน ก่อปัญหายาเสพติด

การเตรียมความพร้อมกำลังคนด้านสุขภาพ ข้าราชการจะต้องเป็น “ผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง” สร้างเสริมสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ ICT เปิดกว้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน C - Create sense of urgency (ตระหนักความเร่งด่วนและความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง) H - Hear the strategic heartbeat (ค้นหาและพัฒนาพลังแห่งอัจฉริยภาพขององค์กร) A - Architect change blueprint (วางพิมพ์เขียวของการเปลี่ยนแปลง) N - Nurture change ambassador (การเพาะบ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ใหม่) G - Generate short term win (สร้างชัยชนะของการเปลี่ยนแปลง) E - Enhance organization best practices (การสร้างความเป็นเลิศในการเปลี่ยนแปลง) ที่มา : กฤษณ์ รุยาพร(2556) http://www.thai-aec.com/

การเตรียมความพร้อมระบบบริการด้านสุขภาพ เร่งปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน พัฒนาคุณภาพให้ได้มาตรฐาน (เหนือเกณฑ์) เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน มีแผนงานบริการด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มชาวต่างชาติ แรงงานต่างชาติ (การบริการระดับปฐมภูมิ เน้นการป้องกันและควบคุมโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้น) มีกลยุทธ์ที่เหมาะสมเพื่อรักษาและดึงดูดผู้ใช้บริการ http://www.thai-aec.com/

ประเด็นที่ต้องเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้านสาธารณสุขและหน่วยงานรับผิดชอบ (1) ประเด็น (AREA) ผู้รับผิดชอบ 1. สินค้าและการคุ้มครองผู้บริโภค อย. 2. บริการและแรงงานฝีมือ Health and Medical Hub สบส. 3. อาหารปลอดภัย/ความมั่นคงทางอาหาร กรมวิทย์/ สสอป. 4. สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 5. ยาเสพติด กรมแพทย์ 6. การสร้างเสริมสุขภาพ อนามัยเจริญพันธุ์ การควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมอนามัย 7. การควบคุมโรค (ติดต่อและไม่ติดต่อ) HIV, IHR, ด่านด้านสาธารณสุข กรมคร. 8. อนามัยสิ่งแวดล้อม จากการประชุมร่วมกับหน่วยงานของกรมกองต่างๆ ที่ผ่านมาสรุปเป็นแผนงานโครงการที่จะต้องดำเนินการ 17 ประเด็น

ประเด็นที่ต้องเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้านสาธารณสุข และหน่วยงานรับผิดชอบ (2) ประเด็น (AREA) ผู้รับผิดชอบ 9. สาธารณภัย สธฉ. 10. การขับเคลื่อนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านสาธารณสุข สป./ ทุกกรม 11. ระบบบริการสาธารณสุขสำหรับแรงงานต่างด้าว สป 12. สิทธิมนุษยชน สิทธิสตรี สิทธิเด็ก ผู้พิการและผู้สูงอายุ 13. ระบบนิติเวช เพื่อสนับสนุนระบบยุติธรรม 14. พรบ.เชื้อโรค กรมวิทย์ /คร. 15. การจัดประชุมวิชาการ และแหล่งฝึกอบรมนานาชาติ 16. ปรับปรุงกฎหมาย ข้อบังคับ ให้รองรับ 17. Information System

Flagship Project การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

1. การสนับสนุนการเป็นเมืองศูนย์กลาง บริการสุขภาพในอาเซียน พัฒนาศักยภาพ รพศ.ขนาดใหญ่ทีต้องเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการในภูมิภาค 5 แห่ง (รพ. เชียงรายฯ, รพ. สรรพสิทธิประสงค์, รพ. พหลฯ, รพ. หาดใหญ่, รพ. พระปกเกล้า) พัฒนาศักยภาพของ รพ. ขนาดกลางและขนาดเล็กตามแนวตะเข็บชายแดน 50 แห่ง เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศและศูนย์วิจัยพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่างๆ (เทคโนโลยีทันตกรรม เครือข่ายโรคผิวหนังรวมทั้งการปลูกถ่ายรากผม จักษุกรรม การป้องกันตาบอดจากเบาหวาน สนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้แก่สถานบริการในจังหวัดที่เป็นเมืองสุขภาพ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สื่อต่างๆ รองรับการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพสถานบริการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในโรงพยาบาลภาครัฐ และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ (SSRT/FRRT) 2. การใช้ภารกิจด้านสาธารณสุขเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ และการลงทุนเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน พัฒนาระบบการคัดกรอง ณ ด่านช่องทางเข้า-ออกให้ เป็น one-stop service ที่ให้บริการมาตรฐานระดับสากล พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุขที่เป็นภาพรวมของประเทศและเชื่อมต่อเป็น National Single Window พัฒนาความพร้อมของห้องปฏิบัติการใน 4 ภูมิภาค (วัตถุดิบประกอบอาหาร และการสอบสวนโรค พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ (SSRT/FRRT) และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 3. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในประชาคมอาเซียน การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ระบบสารสนเทศ ห้องปฏิบัติการ พัฒนากำลังคน) การจัดระบบการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในจังหวัดชายแดน(พัฒนาความร่วมมือในการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคระหว่างจังหวัดคู่ขนานในพื้นที่ชายแดนไทยก้บประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาศูนย์เฝ้าระวังเชื้อโรคติดต่ออุบัติใหม่) พัฒนา/ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนควบคุมโรคชายแดน การพัฒนาขีดความสามารถของด่านควบคุมโรคในพื้นที่ชายแดนตาม IHR และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

4. พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ส่งเสริมพัฒนาให้สถานบริการสุขภาพมีความพร้อมและศักยภาพในการเข้าสู่การรองรับคุณภาพบริการสุขภาพในระดับนานาชาติ พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพแบบครบวงจร (Thailand Health Complex) พัฒนา IT ณ ศูนย์บริการข้อมูลสุขภาพ (One Stop Service Center) ทั้งระบบ on line และระบบ Offline พัฒนาศูนย์ล่ามตามนโยบาย Medical Hub ประชาสัมพันธ์และการทำ Business Matching รองรับนโยบาย Medical Hub พัฒนาระบบการยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับเดินทางเข้ามารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทยสำหรับกลุ่มสมาชิก GCC และได้จัดทำแผนส่งสภาพัฒน์ประกอบด้วย 3 Flagship คือ

ความท้าทายที่รออยู่ข้างหน้า

สถานการณ์และผลกระทบด้านโรคติดเชื้อ สถานการณ์อาเซียน โรคติดเชื้อที่อาจเกิดจาการเคลื่อนย้ายประชากร และ สินค้าต่างๆ ควรมีมาตรการ กฎ ระเบียบ ที่เป็นมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน ในการควบคุม ป้องกันโรค จุดเด่นที่ประเทศไทยมี ทีมเฝ้าระวังและสอบสวนโรค ด่านควบคุมโรค ผู้เชี่ยวชาญระดับอาเซียน Focal point FETN ระบบอาสาสมัครสาธารณสุข Regional Training Center ด้านระบาดวิทยา FETN = Field Epidemiology Training Network

ประเด็นเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ แพทย์ ภาครัฐ กำลังผลิตเพียงพอ ภาคเอกชน ร่วมเป็นสถาบันการผลิต ศูนย์การเรียนการสอนระดับปริญญา และ หลังปริญญาของอาเซียน พยาบาล รักษาบุคลากรในภาครัฐด้วยค่าตอบแทนและตำแหน่งที่เหมาะสม ภาครัฐ เพิ่มกำลังผลิตมากขึ้น ภาคเอกชน ร่วมผลิต และ ให้ทุนการศึกษา สภาวิชาชีพ ดูมาตรฐานการเรียนการสอน เพื่อผลิต One vision, One idenity, One community and One health

ประชาคมอาเซียนแล้วหรือยัง ท่านพร้อมจะเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนแล้วหรือยัง http://www.thai-aec.com/

เข้าสู่ประชาคมอาเซียน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ การเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ โดย นายแพทย์ประวิ อ่ำพันธุ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ

familyweekend.co.th

เป้าหมาย: ระบบบริการการแพทย์ และสาธารณสุขมีศักยภาพสามารถรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

กระทรวงมี 2 ตัวชี้วัด จำนวนโรงพยาบาลได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. จำนวนโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปมีแนวทาง การให้บริการรองรับการเป็นเมืองศูนย์กลางบริการ สุขภาพในอาเซียน

เขตมี 3 ตัวชี้วัด จังหวัดมีเครือข่ายและระบบเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อชายแดนที่ครอบคลุมสถานบริการทุกระดับ ที่มีประสิทธิภาพ 2. หน่วยงานสาธารณสุขที่มีการพัฒนาทักษะการสื่อสาร ด้วยภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียนแก่บุคลากร 3. สถานบริการสาธารณสุขที่มีการเตรียมความพร้อม ด้านการรักษาพยาบาล

มาตรการและแนวทางการเตรียมความพร้อม สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง เตรียมความ พร้อมด้านการรักษาพยาบาล ครอบคลุม ประเด็นหลัก 3 ด้าน ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านระบบการให้บริการ และ ด้านระบบสนับสนุน ยกระดับมาตรฐานของโรงพยาบาลในสังกัด ให้ผ่านมาตรฐาน HA (Hospital accredittation)

มาตรการและแนวทางการเตรียมความพร้อม พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตาม เกณฑ์มาตรฐาน PCA (Primary Care Award) พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุข /ด้านภาษา /ด้านการบริการ / ด้านวิชาการ / สารสนเทศ รองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

มาตรการและแนวทางการเตรียมความพร้อม พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารในการประสาน การดำเนินงาน รองรับบริการของศูนย์วิชาการและ เครือข่ายบริการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ / จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้

โครงการ /กิจกรรม ปีงบประมาณ 2557 โครงการ /กิจกรรม ปีงบประมาณ 2557 1.โครงการเตรียมความพร้อมการให้บริการสุขภาพ รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2.โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) 3.โครงการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลให้ผ่านมาตรฐาน HA 4.โครงการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์ PC 5.โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อชายแดน 6.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสหวิชาชีพ 7. โครงการพัฒนาบุคลากรด้านภาษาอังกฤษ

แผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข รองรับ AEC ปี 2558 ประเด็น 1 การจัดตั้งศูนย์ประสานงานเครือข่ายในระดับจังหวัด เพื่อเตรียมความ พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปีงบประมาณ 2558 2. การพัฒนาศักยภาพสถานบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ มาตรฐานตามที่กำหนด 3. การพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีศักยภาพในการให้บริการทั้งทางด้านวิชาการ และด้านบริการสุขภาพ 4. การประชาสัมพันธ์ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและศึกษาดูงาน

รู้เขารู้เรา

ประชาคมอาเซียนแล้วหรือยัง ท่านพร้อมจะเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนแล้วหรือยัง

สวัสดี