บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อ 6 มาตรการภายใต้แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางอัญชนา ตราโช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
กลุ่มเกษตรกร.
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อ 6 มาตรการภายใต้แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางอัญชนา ตราโช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7

มาตรการที่ 1 ลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร

มาตรการที่ 1 ลดค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิต มาตรการที่ 2 เพิ่มผลผลิตต่อไร่ กระบวนการดำเนินงานการลดต้นทุนและการเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตรปี 2559 มาตรการที่ 1 ลดค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิต 1.1) ค่าปุ๋ยเคมี 1.2) ค่าสารเคมี 1.3) ค่าพันธุ์ 1.4) ค่าอาหารสัตว์น้ำ/อาหารสัตว์ 1.5) ค่าแรงงาน/เครื่องจักรกลทางการเกษตร (Motor pool) 1.6) ค่าเช่าที่ดิน 1.7) ค่าไฟฟ้า 1.8) ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก 1.9) แหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ ราคาปัจจัยการผลิต ลดลงตามมาตรการ ราคาปุ๋ยลดลง 0.80 -1.40 บาท/กก. ราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวลดลง 1 บาท/กก. ลดค่าบริการเกี่ยวนวด ข้าว 50-100 บาท/ไร่ ลดค่าสารเคมีการเกษตร 5-10 % ลดค่าเช่าที่นา 200 บาท/ไร่ มาตรการที่ 2 เพิ่มผลผลิตต่อไร่ 2.1) ระบบน้ำ ปริมาณน้ำ และการจัดการน้ำที่เหมาะสม 2.2) วิเคราะห์และปรับปรุงบำรุงดิน 2.3) จัดหาพันธุ์ดีที่เหมาะสม 2.4) ส่งเสริมการปลูก/เลี้ยงสัตว์/บำรุงรักษา/เก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อเข้าสู่มาตรฐานสินค้าเกษตร เป้าประสงค์ เกษตรกรทั่วไปมีต้นทุนการผลิตลดลง  12% ผลผลิตและมูลค่าต่อหน่วยเพิ่มขึ้น  6% ผลผลิตได้มาตรฐานมีตลาดรองรับสินค้าเกษตรที่แน่นอน มีรายได้เพิ่มขึ้นภายใน ปี 2559 3.1) ให้ความรู้ด้านการตลาด/จัดทำ story สินค้าโดดเด่นของจังหวัด 3.2) การวิเคราะห์อุปสงค์/อุปทาน สินค้าเกษตร 3.3) ชี้แจง/สร้างความเข้าใจข้อมูลด้านการตลาด/จัดหาตลาดรองรับ 3.4) ส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์/Brand สินค้าโดดเด่น มาตรการที่ 3 การตลาด 4.1) ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่ม ถ่ายทอดความรู้/เทคโนโลยี มุ่งสู่เกษตรแบบแปลงใหญ่ 4.2) วางแผนการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 4.3) ส่งเสริมการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ 4.4) ประชุมคณะกรรมการลดต้นทุนฯ เพื่อติดตามความก้าวหน้า/รายงานผลต่อเนื่อง มาตรการที่ 4 การบริหารจัดการ

บูรณาการลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสการแข่งขันสินค้าเกษตร เจ้าภาพ ประชุม ติดตาม ประสานระดับกรมและกระทรวงในส่วนกลางและ Single Command 76 จังหวัด ทุกวันที่ 5 ของเดือน รายงานเริ่ม 5 ก.พ. 59 เป็นต้นไป ประเมินผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของเกษตรกรที่ได้รับประโยชน์ (ทุก 6 เดือน รวม 2 ครั้ง ในปี 2559) สศก. ปี 59  0.6 ล้านบาท ปี 60  2.5 ล้านบาท สนับสนุน พณ./คน. แจ้งพาณิชย์จังหวัด ลดราคาปุ๋ยเคมีและสารเคมีในรอบ 6 เดือน (ธ.ค. 58 – พ.ค. 59) ลดลง 5-10 % ของราคา พ.ย. 58 กข. ลดค่าพันธุ์ข้าว กิโลกรัมละ 1 บาท (ตั้งแต่ 17 ส.ค. 58 เป็นต้นไป) สปก. ยกเว้นค่าเช่าที่ดินและลดอัตราดอกเบี้ยค่าเช่าซื้อที่ดิน ในพื้นที่ 56 จังหวัด เป็นระยเวลา 1 ปี ปศ. ลดราคาพันธุ์สัตว์ 8 - 25 % ตั้งแต่ 4 ม.ค. – 31 ธ.ค. 59 1. ลดค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิต

บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อมาตรการที่ 1 (ลดต้นทุน) ลดต้นทุนการผลิตโดยใช้เครื่องมือ เครื่องจักร การเกษตร ทดแทนแรงงานคนมากขึ้น ลดการใช้สารเคมี ทดแทนด้วยสารชีวภาพ ใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าการวิเคราะห์ดิน ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสดมากขึ้น พัฒนากลุ่มเกษตรใช้สารอินทรีย์ลดใช้สารเคมีทางการเกษตร จัดตั้งธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ – ส่งเสริมเกษตรกรรวมกลุ่มผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และจัดตั้งเป็นธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ จัดทำบัญชีครัวเรือน บันทึกค่าใช้จ่ายเพื่อวางแผนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการบริหารจัดการแบบกลุ่ม เพื่อลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต เช่น การใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกัน ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก เช่น การทำ Biogas ในฟาร์มปศุสัตว์

มาตรการที่ 2 การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม(Zoning)

แนวความคิดการปฏิบัติ เป้าประสงค์ ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรตามความเหมาะสมของพื้นที่ ให้เกิดความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต แนวความคิดการปฏิบัติ ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ที่มีศักยภาพ (S๑ และ S๒) ปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S๓ และ N) มาตรการ มาตรการเตรียมความพร้อมและประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ มาตรการกำหนดแนวโน้มความต้องการสินค้าเกษตร มาตรการกำหนดพื้นที่เหมาะสมการผลิตสินค้าเกษตร มาตรการขับเคลื่อนและส่งเสริมในระดับพื้นที่ มาตรการติดตามประเมินผล

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมพัฒนาที่ดิน กรมประมง กรมปศุสัตว์ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมการข้าว

บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อมาตรการที่ 2 (ZONING) เตรียมความพร้อม ประชาสัมพันธ์แนวคิดการกำหนดพื้นที่เหมาะสมการผลิตสินค้าเกษตร ตามแนวโน้มความต้องการของตลาด ผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน GAP เป็นแหล่งทุนให้แก่สมาชิกในการปรับเปลี่ยนการผลิต อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด

มาตรการที่ 3 โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่

พื้นที่ดำเนินการและระยะเวลา วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยมีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการการผลิตและการตลาด ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับฟาร์มขนาดใหญ่และพัฒนาเป็น smart farmer เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานส่งเสริมการเกษตรแบบบูรณาการของทุกภาคส่วนในพื้นที่ให้สอดกับสถานการณ์ ศักยภาพพื้นที่ และตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกร กิจกรรม 1 สร้างความเข้าในร่วม - ตั้งคณะทำงาน/ตั้ง 4 ทีมงานในพื้นที่ - ประชุมชี้แจง/จัดทำคู่มือโครงการ 2 พัฒนาทีมผู้จัดการแปลงใหญ่/สร้างผู้จัดการในอนาคต(เกษตรกร) 3 วางแผนการดำเนินงานแปลงใหญ่ วิเคราะห์/วางเป้าหมายและแนวทางพัฒนาโดยเกษตรกรสมาชิกมีส่วนร่วมในการจัดทำ กิจกรรม (ต่อ) 4 พัฒนาองค์กรเกษตรกร สนับสนุนการรวมกลุ่ม/พัฒนาสมาชิกให้เป็น smart farmers /เกษตรผู้นำ (เตรียมการเป็น ผจก. ในอนาคต) 5 ดำเนินการในแปลงใหญ่ พัฒนาการผลิตตามแนวทางลดต้นทุนการผลิต 6 การขยายผล พัฒนาแปลงทั่วไป 7 การประกวด 76 แปลง เดือน ตค. – ธค. 59 พื้นที่ดำเนินการและระยะเวลา 76 จังหวัด 268 จุด (แปลงต้นแบบ 76 แปลง แปลงทั่วไป 192 แปลง) ระยะเวลาดำเนินการ 1 ระยะสั้น (พฤศจิกายน 2558 – กันยายน 2559) พัฒนาแปลงต้นแบบ 76 แปลง 2 ระยะยาว ปี 2560 ( 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป) พัฒนาแปลงทั่วไป

บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อมาตรการที่ 3 (แปลงใหญ่) วางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด พัฒนากลุ่มการผลิตสินค้าเกษตรที่มีความต้องการแบบเฉพาะ หรือผลิตสินค้าตามที่ผู้บริโภคสั่งหรือต้องการสินค้าชนิดนั้น ๆ ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่ม ถ่ายทอดความรู้/เทคโนโลยี มุ่งไปสู่การทำเกษตรแบบแปลงใหญ่ และพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วม ( 5 ร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมจัดหา ร่วมผลิต ร่วมขาย และร่วมรับประโยชน์

มาตรการที่ 4 เกษตรอินทรีย์

แนวคิดในการปฏิบัติงาน เสริมความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเดิม และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้โดยขยายผลจากกลุ่ม/เกษตรกรที่ประสบความสำเร็จแล้วในพื้นที่ พื้นที่การดำเนินงาน พื้นที่ต้นแบบ จ. ยโสธร พื้นที่ในจังหวัดอื่นๆ

แผนปฏิบัติการ ยโสธร Model ด้านเกษตรอินทรีย์ เป้าประสงค์ ยโสธรเป็นเมืองเกษตรอินทรีย์ โดยปี 2560 มีพื้นที่เข้าสู่ ระบบเกษตรอินทรีย์เพิ่ม 60,000 ไร่ (รวมกับพื้นที่เดิม 40,000 ไร่ รวมเป็น 100,000 ไร่)

แผนปฏิบัติการ ยโสธร Model ด้านเกษตรอินทรีย์ (ต่อ) มาตรการ กิจกรรม หน่วยงานดำเนินงาน 1. การเตรียมความพร้อม 1.1 จัดทำ MOU กับ จ.ยโสธร มกอช. ร่วมกับหน่วยงานใน กษ. 1.2 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลและสภาพปัญหาเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่ สศก. ร่วมกับหน่วยงานใน กษ. 2. พัฒนาการผลิตสู่การรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2.1 พัฒนากลุ่มเกษตรอินทรีย์เดิมให้เป็นกลุ่มต้นแบบและเป็นศูนย์เรียนรู้ สศก./มกอช. ร่วมกับหน่วยงานในกษ./พณ./ธ.ก.ส./เอกชน 2.2 พัฒนากลุ่มที่มีความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2.3 ขยายพื้นที่สร้างกลุ่มใหม่ 3. การติดตามประเมินผล 3.1 ติดตามและรายงานผล กษ.จว./คณะทำงาน/สศก. 3.2 ประเมินผลโครงการ สศก.

แผนปฏิบัติการ จังหวัดอื่นๆ ด้านเกษตรอินทรีย์ เป้าประสงค์ พื้นที่เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อปี

แผนปฏิบัติการ จังหวัดอื่นๆ ด้านเกษตรอินทรีย์ (ต่อ) มาตรการ กิจกรรม หน่วยงานดำเนินงาน 1. การเตรียมความพร้อม 1.1 จัดทำฐานข้อมูลเกษตรอินทรีย์ มกอช./สศก. 1.2 พัฒนาบุคลากร/กลุ่มเกษตรกร/สถาบันเกษตรกร สศก./พด/ปศ./กสก./กป./สปก./กข. 2. การส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ 2.1 พัฒนาการผลิตสู่เมืองเกษตรอินทรีย์ ทุกหน่วยงานในกษ. 2.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กสส. 2.3 พัฒนาการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้เข้าสู่มาตรฐาน กข./สปก./พด./ปศ./กป./วก. 3. การรับรองมาตรฐาน 3.1 จัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตร มกอช. 3.2 การตรวจรับรองการผลิต วก./กข./กป./ปศ./สปก. 3.3 รักษาระบบคุณภาพหน่วยรับรองมาตรฐาน กป./มกอช.

แผนปฏิบัติการ จังหวัดอื่นๆ ด้านเกษตรอินทรีย์ (ต่อ) มาตรการ กิจกรรม หน่วยงานดำเนินงาน 4. การพัฒนาต่อยอดการผลิต การแปรรูป สู่การตลาด 4.1 เชื่อมโยงการผลิตสู่ตลาด สปก./ปศ./กสก. 5. การสร้างความรู้ความเข้าใจสื่อสารประชาสัมพันธ์ 5.1 ประชาสัมพันธ์ กข./วก./มกอช./ปศ./กป./พด./สปก. 6. การติดตามประเมินผล 6.1 ติดตามและรายงานผล กษ.จว./คณะทำงาน/สศก. 6.2 ประเมินผลโครงการ สศก.

บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อมาตรการที่ 4 (เกษตรอินทรีย์) ผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน GAP โดยมีจุดมุ่งหมายสุดท้ายที่การผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ รับซื้อผลผลิตที่เป็นเกษตรอินทรีย์ในราคาที่สูงกว่าราคาผลผลิตทั่วไป และจัดหาตลาดสำหรับจำหน่ายผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำให้แก่เกษตรกรที่ทำการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ จัดอบรม ให้ความรู้แก่สมาชิกในการทำเกษตรอินทรีย์

มาตรการที่ 5 ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)

เป้าประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ให้มีความเข้มแข็ง 2. เพื่อขยายการให้บริการของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)  

ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอละ 1 ศูนย์ รวม 882 ศูนย์ 77 จังหวัด เป้าหมาย ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอละ 1 ศูนย์ รวม 882 ศูนย์ 77 จังหวัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 15หน่วยงาน กสก./กวก./กข./พด./ชป./สศก./ปม./สปก. / กสส./ปศ./กตส./สป.กษ./กยท./กมม./สวก.

กิจกรรมหลักในภาพรวม การพัฒนาศักยภาพ ศพก. การให้บริการของ ศพก. การติดตามประเมินผล

บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อมาตรการที่ 5 (ศูนย์เรียนรู้) บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อมาตรการที่ 5 (ศูนย์เรียนรู้) พัฒนาศูนย์เรียนรู้ของสหกรณ์เตรียมความพร้อม ประชาสัมพันธ์ การให้บริการความรู้ เป็นศูนย์กลาง ให้การสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ของสมาชิกสหกรณ์

มาตรการที่ 6 ธนาคารสินค้าเกษตร

ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร(กรมส่งเสริมสหกรณ์) ธนาคารสินค้าเกษตร โครงการ วัตถุประสงค์ ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ (กรมพัฒนาที่ดิน) - กระตุ้นให้เห็นประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้ - ร่วมกันผลิตและใช้อย่างต่อเนื่อง เพื่อลดต้นทุน มาตรการ 1 เพิ่มขีดความสามารถธนาคารสินค้าเกษตร (กลุ่มเดิม) ธนาคารโค-กระบือ (กรมปศุสัตว์) - เพื่อให้เกษตรกรได้มีโค–กระบือไว้ใช้แรงงาน เพิ่มผลผลิต เพิ่มรายได้ มาตรการ 2 ขยายผลการจัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร เพื่อชุมชนตามความพร้อม (รายใหม่) ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน (กรมการข้าว) - ชาวนาในชุมชนมีเมล็ดข้าวพันธุ์ดีใช้เพียงพอ - ชาวนามีเมล็ดพันธุ์ข้าวสำรองใช้ในชุมชน เพื่อให้สมาชิกลดภาระการเลี้ยงลูกโคในฟาร์ม สมาชิกมีแม่โคคุณภาพ ทดแทนโคนมปลดระวาง สมาชิกลดต้นทุนการผลิต มีรายได้เพิ่ม ธนาคารโคนมทดแทน (กรมส่งเสริมสหกรณ์) มาตรการ 3 จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร(กรมส่งเสริมสหกรณ์) - ฝากข้าวเปลือก/ถอนข้าวสาร - ยืมปัจจัยการผลิต/ชำระคืนด้วยข้าวเปลือก

ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร กิจกรรมที่ดำเนินการปี 2559 กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ 1. สนับสนุนให้เกษตรกรนำวัสดุเหลือใช้มา ผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ 2. คัดเลือกธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ต้นแบบ 1. ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ 87 แห่ง 2. ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ต้นแบบ 12 แห่ง 67.51 ล้านบาท หน่วยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ 1. ติดตามการเลี้ยงโค-กระบือที่เกษตรกร ได้รับแล้ว 109,000 ตัว 2. ส่งเสริมเกษตรกรรายใหม่ให้มีโค-กระบือ ใช้เพื่อการเกษตรเพิ่มเติม 9,000 ตัว 3. ส่งเสริมการจัดการแบบรวมกลุ่ม 1. เกษตรกรที่มีโค-กระบือเดิม เพื่อใช้ แรงงาน 109,000 ตัว 2. เกษตรกรรายใหม่ ได้รับโค-กระบือ จากการบริจาค 9,000 ตัว 3. มีกลุ่มเกษตรกรตัวอย่างที่ประสบ ความสำเร็จ 6.867 ล้านบาท หน่วยงานรับผิดชอบ กรมปศุสัตว์ หน่วยงานบูรณาการ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ธนาคารโค-กระบือ ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน 1. ส่งเสริมการดำเนินงานและเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการธนาคาร เมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน 2. ส่งเสริมการจัดตั้งเมล็ดพันธุ์ข้าว เฉพาะถิ่น/ข้าวสี 1. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน 70 แห่ง 2. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน (ข้าวเฉพาะถิ่น/ข้าวสี) 3 แห่ง 5.792 ล้านบาท หน่วยงานรับผิดชอบ กรมการข้าว หน่วยงานบูรณาการ กรมส่งเสริมการเกษตร 1. คัดเลือกสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 2. สหกรณ์รับฝากเลี้ยงลูกโคเพศเมียจาก สมาชิก แล้วให้ถอนคืนเป็นโคสาวท้อง และพร้อมรีดนม สหกรณ์ 3 แห่ง 13.566 ล้านบาท หน่วยงานรับผิดชอบ กรมส่งเสริมสหกรณ์หน่วยงานบูรณาการ กรมปศุสัตว์ ธนาคารโคนมทดแทน ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร 1. จัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร 2. สนับสนุนการดำเนินงานตามรูปแบบ ธนาคาร ธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร 10 แห่ง 100,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ กรมส่งเสริมสหกรณ์หน่วยงานบูรณาการ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ **กรมส่งเสริมสหกรณ์จะสนับสนุนงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายให้จังหวัดละ 50,000 บาท

บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อมาตรการที่ 6 (ธนาคารสินค้าเกษตร) เตรียมความพร้อม ประชาสัมพันธ์แนวคิดการจัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร เช่นธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร (ฝาก ข้าวเปลือก ถอนข้าวสาร) รวมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เตรียมความพร้อม จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร