การควบคุมของระบบปฏิบัติการ ด้านการเงินและการบัญชี (Financial and Accounting Operations Controls) วิชา การควบคุมปฏิบัติการและการตรวจสอบภายใน GSIA5303 Operational Controls and Internal Auditing หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วันอาทิตย์ที่ 1 และ 8 สิงหาคม 2553 13:00-15:40น. 22/11/61
แนะนำวิทยากร ไพรัช ศรีวิไลฤทธิ์ CIA CISA CBA CCSA CFSA CISSP CFE หัวหน้าตรวจสอบภายใน บมจ. ธนาคารทิสโก้ ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ (2528) ปริญญาโทบริหารธุรกิจ ธรรมศาสตร์ฯ (2533) IIA’s EIAP รุ่นที่ 7 จุฬาฯ (2546) ประสบการณ์ด้านวิศวกรรม 5 ปี ประสบการณ์ด้านการเงินในทิสโก้ 20 ปี ประธาน ชมรมผู้ตรวจสอบภายในธนาคารและสถาบันการเงิน วิทยากรและคณะทำงาน สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย 22/11/61
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายในของระบบปฏิบัติการด้านการเงินและการบัญชี เข้าใจจุดควบคุมหลักและสามารถวิเคราะห์จุดอ่อนในเบื้องต้นของระบบปฏิบัติการด้านการเงินและการบัญชี สามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ในการประเมินและปรับปรุงการควบคุมการปฏิบัติการด้านการเงินและการบัญชีในองค์กรในเบื้องต้น 22/11/61
แนวคิดเกี่ยวกับการเงินและการบัญชี 22/11/61
แหล่งเงินทุน และเงินกู้ยืม งบประมาณการ การขาย ยอดขายในระยะยาว คชจ. ขาย ต้นทุนผลิต คชจ. บริหาร ลงทุน Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute โสหุ้ย แรงงานทางตรง วัตถุดิบ เงินสด งบการเงิน แหล่งเงินทุน และเงินกู้ยืม 22/11/61
งบกำไรขาดทุน - - - - รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร รายได้ ต้นทุนขาย รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร รายได้ ต้นทุนขาย กำไรเบื้องต้น - ค่าใช้จ่ายการขาย-บริหาร กำไรจากการดำเนินงาน - Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute ดอกเบี้ยจ่าย กำไรก่อนหักภาษี - ภาษี กำไรสุทธิ - 22/11/61
งบกำไรขาดทุน ตัวอย่างงบกำไรขาดทุน 22/11/61 Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute 22/11/61
ทรัพย์สิน หนี้สิน และ ส่วนของผู้ถือหุ้น งบดุล ทรัพย์สิน = หนี้สิน + ส่วนของผู้ถือหุ้น ทรัพย์สิน หนี้สิน และ ส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด เงินกู้ระยะสั้น Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ระยะยาว สินทรัพย์ถาวร ส่วนของผู้ถือหุ้น 22/11/61
งบดุล ตัวอย่างงบดุล 22/11/61 Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute 22/11/61
งบกระแสเงินสด การเปลี่ยนแปลง ของยอดเงินสด = เงินสดเข้า - เงินสดออก ผลิต งานระหว่างทำ ผลิต ค่าใช้จ่ายทางตรง สินค้า เสื่อมค่า ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์-สุทธิ ขายเชื่อ ขาย เงินสด วัตถุดิบ Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute จ่าย ซื้อ ขาย ซื้อ ลูกหนี้ เงินสด ชำระหนี้ เจ้าหนี้ เก็บเงิน ชำระหนี้ ปันผล ลงทุน กู้ยืม ผู้ถือหุ้น หนี้ระยะยาว 22/11/61
งบกระแสเงินสด ตัวอย่างงบกระแสเงินสด 22/11/61 Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute 22/11/61
ลักษณะความสัมพันธ์ สรุป รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร ทรัพย์สิน = หนี้สิน + ส่วนของผู้ถือหุ้น Recognition that System is an integral part of organization Not something external Policies and procedures are important Failure to follow will result in sanctions Following system is part of every job Not something in addition to All staff responsible for following internal control policies Management is key Establishes policies and procedures (handout #1) Monitors and evaluates procedures Must demonstrate commitment to abide by policies Must set a high standard and lead by example Management’s commitment to ethics Reinforce integrity and ethics Promote awareness of ethical behavior Adoption of Code of Ethics policy (handout #2) Encourage employees to identify possible misconduct Adoption of the Whistleblower policy (handout #3) Hold employees accountable Take immediate action Should not cost more than benefit it creates Benefit = extent to which internal control system limits loss Cost = time and money it takes to implement Reasonable assurance, NOT absolute เงินสดเข้า - เงินสดออก การเปลี่ยนแปลง ของยอดเงินสด = 22/11/61
การตรวจสอบงานแคชเชียร์ 22/11/61
หลักการบริหารเงินสด เร่งรัดการจัดเก็บ วางแผนและชะลอการจ่าย จัดทำประมาณการ ลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ จัดทำรายงานเงินสดคงเหลือ ติดตามการหมุนเวียนของเงินสด 22/11/61
ลักษณะงาน งานแคชเชียร์ รับเงิน จ่ายเงิน ดูแลรักษา อื่นๆ รับเงินสด รับเช็ค ตั๋วเงิน ตรวจนับเงิน ตรวจเอกสาร บันทึกรับ ตรวจเอกสาร ตรวจการอนุมัติ จ่ายเงินสด จ่ายเช็ค ออกตั๋ว บันทึกจ่าย จัดเก็บเงิน คัดธนบัตร ดูแลรักษาเงิน โอนรายการ งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร รายการการเงินอื่น สมุดเงินสดย่อย ทะเบียนใบสำคัญ ทะเบียนเช็ค ออกใบรับเงิน 22/11/61
ปัญหา ปัญหาที่มักพบในงานแคชเชียร์ พนักงานขาดความรู้ความชำนาญ ขาดความก้าวหน้าในงาน รายได้ต่ำ-ความรับผิดชอบสูง ทุจริตในการควบคุมรับ-จ่ายเงิน วงเงินสดคงคลังไม่เหมาะสม ขาดการวางแผนการเงิน ระบบเอกสารทางการเงินไม่สมบูรณ์ รายงานไม่ครบถ้วนถูกต้อง ตรวจสอบไม่ได้ 22/11/61
ทุจริต ทุจริตที่มักพบในงานแคชเชียร์ ทุจริตการรับ-จ่ายเงินสด ทุจริตการฝาก-ถอนเงินธนาคาร นำเงินสดไปใช้ส่วนตัว ทุจริตการรับ-จ่ายเช็ค ปลอมลายเซ็นเช็ค ปลอมลายเซ็นอนุมัติจ่ายเงิน 22/11/61
ทุจริต (ต่อ) จ่ายเงินเดือน-ค่าแรงไม่มีตัวตน ทุจริตการจ่ายเงินสดย่อย ทุจริตการเรียกเก็บเงินจากลูกค้า นำทรัพย์สินบริษัทไปขาย-ใช้ส่วนตัว ทุจริตการให้ส่วนลดลูกค้า พนักงานทำเงินขาด-เกินบัญชี 22/11/61
ข้อควรระวัง การควบคุมด้านรายรับ ควรใช้เครื่องบันทึกเงินสด (cash register) แยกผู้ใช้เครื่องบันทึกเงินสดกับผู้ถือกุญแจ ออกใบเสร็จหรือหลักฐานทุกครั้งที่รับเงิน นำฝากเงินที่ได้รับแต่ละวันเข้าธนาคารทันที ทำรายงานการรับเงินประจำวัน มีการควบคุมใบเสร็จ กรณีใช้พนักงานเก็บเงิน รับเช็คล่วงหน้า ต้องจัดทำทะเบียนและเก็บในตู้เซฟ ใบเสร็จรับเงิน (รวมถึงเอกสารควบคุมทุกชนิด) ต้องมีเลขที่เล่มที่ มีทะเบียนควบคุม เก็บรักษาปลอดภัย เบิกใช้ตามลำดับ 22/11/61
ข้อควรระวัง การควบคุมด้านรายจ่าย การทำใบสำคัญจ่าย (voucher) ต้องมีลายเซ็นผู้อนุมัติ ตรวจสอบเอกสารและยอดหนี้ค้างก่อนชำระหนี้ ผู้บริหารกำหนดตัวผู้อนุมัติและวงเงินที่มีอำนาจอนุมัติจ่าย ประทับตรา “PAID” ในเอกสารที่จ่ายแล้ว แยกหน้าที่คนจัดทำใบสำคัญ เช็ค จ่ายเงิน ออกจากกัน จัดให้มีทะเบียนคุมเช็ค หลีกเลี่ยงการจ่ายเงินสด ควรจ่ายเป็นเช็คและขีดคร่อมทุกครั้ง จัดให้มีการทำงบกระทบยอดธนาคารกับยอดทางบัญชี มีการสับเปลี่ยนหน้าที่พนักงานในเวลาที่เหมาะสม 22/11/61
หลักการควบคุมที่ดีในงานแคชเชียร์ 22/11/61
หลักการควบคุมที่ดี 10+1 ข้อ เป็นข้อกำหนดในการปฏิบัติงานอย่างกว้างๆ เป็นแนวทางที่ควรแนะนำ เป็นหลักที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าดี ไม่ใช่ประกาศิตที่ห้ามฝ่าฝืน ตราบใดที่เรามีการควบคุมอื่นชดเชย (Compensating Control) อย่างพอเพียง หรือผู้บริหารเข้าใจและยอมรับในความเสี่ยงได้ 22/11/61
สรุป 10 หลักการควบคุมที่ดี Responsibility & Accountability Change in Presence Keeping & Recording Prompt Receipt Segregation of Duties Centralize Receipt Cash Fast Money Tasks Limited Access Cash Drawer Secure Storage Independent Review 22/11/61
Responsibility & Accountability หลักการ #1 Responsibility & Accountability กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ชัดเจนแก่พนักงาน It’s my job! ถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ สื่อสารอย่างชัดเจน คำบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ผังองค์กร (Organization Chart) 22/11/61
หมายความว่ายังไง ที่ว่าเงินขาดไป 2000 บาท ผมให้คุณไปแล้วนะ หลักการ #2 Change in Presence การส่งมอบเงินระหว่างกัน ควรได้รับการตรวจนับต่อหน้าทั้งสองฝ่าย หมายความว่ายังไง ที่ว่าเงินขาดไป 2000 บาท ผมให้คุณไปแล้วนะ 22/11/61
หลักการ #3 Keeping & Recording การบันทึกรายการที่ดี ครบถ้วนถูกต้อง เชื่อถือได้ ครบถ้วนถูกต้อง เชื่อถือได้ = มีหลักฐานให้ตรวจสอบภายหลังได้ ครบถ้วนถูกต้อง เชื่อถือได้ = ลูกค้าแต่ละรายได้รับการปฏิบัติอย่าง เป็นธรรมโดยคิดค่าใช้จ่ายหรือให้ ส่วนลดอย่างถูกต้อง ครบถ้วนถูกต้อง เชื่อถือได้ = เป็นที่เห็นชัดเจนว่า รายการถูกทำโดย ใคร เป็นจำนวนเท่าไร และเมื่อใด 22/11/61
หลักการ #3 Keeping & Recording จะบันทึกรายการอย่างครบถ้วนถูกต้อง เชื่อถือได้ ได้อย่างไร นำระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องบันทึกเงินสด และอุปกรณ์ต่างๆ มาช่วยในการทำงาน เพื่อลดความผิดพลาด ใช้เช็คแทนเงินสดให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ (แต่ไม่ใช่ในการจ่ายเงินสดย่อยหรือรายการเล็ก) บันทึกรายการให้เป็นปัจจุบัน ไม่ปล่อยให้ค้างนาน ทำตามระเบียบวิธีปฏิบัติที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ไม่ลัดขั้นตอน 22/11/61
หลักการ #4 Prompt Receipt ทุกรายการต้องมีการออกใบรับหรือใบเสร็จ มีป้ายเตือนให้ลูกค้าขอใบเสร็จ หรือตรวจสอบยอดรวมในเครื่องรับเงินทุกครั้ง ใบเสร็จคือ หลักฐานการรับ-จ่ายเงินทั้งของฝ่ายลูกค้าและพนักงาน ช่วยปกป้องทั้งสองฝ่ายจากความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการทำรายการ 22/11/61
หลักการ #5 Segregation of Duties แบ่งแยกหน้าที่ระหว่างพนักงาน ให้มีการถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของกันและกัน เก็บรักษา (Custody) บันทึกรายการ (Record Keeping) ทำงบพิสูจน์ยอด เงินฝากธนาคาร (Reconciliation) 22/11/61
หลักการ #5 Segregation of Duties การแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างพนักงาน การคำนวณกระทบยอดควรทำเป็นประจำและโดยพนักงานที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกเช็ค รับ-จ่ายเงินรายวัน หรือบันทึกรายการ การตรวจนับเงินสดเปรียบเทียบกับยอดรับรวมควรทำโดยพนักงานที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรับเงิน ไม่ให้พนักงานทำรายการตั้งแต่ต้นจนจบได้ด้วยตัวคนเดียว 22/11/61
Centralize Receipt Cash หลักการ #6 Centralize Receipt Cash รวมจุดรับเงินในบริษัทให้มีน้อยจุดที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพิ่มประสิทธิภาพ ลดสถานที่เก็บรักษาเงิน 22/11/61
หลักการ #7 Fast Money Tasks ทำรายการที่เกี่ยวกับเงินให้จบสมบูรณ์โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ บันทึกการรับเงินทันที สลักหลัง (Endorse) เช็คทั้งหมดทันทีที่ได้รับ นำฝากเงินสดทั้งหมดที่ได้รับเข้าบัญชีธนาคารภายในวันเดียวกัน เพิ่มความครบถ้วนถูกต้อง เชื่อถือได้ของรายการ ลดความเสี่ยงความสูญเสียจากการสูญหายหรือทุจริต 22/11/61
Limited Access Cash Drawer หลักการ #8 Limited Access Cash Drawer การดูแลรักษาและควบคุมกองเงินสด และการเข้าถึงลิ้นชักเงินควรจำกัดให้มีผู้รับผิดชอบเพียงคนเดียว ใครบอกได้บ้างว่าทำไมเงินในลิ้นชักที่พวกคุณดูแลถึงขาดไป? ผมเปล่าครับ หนูเปล่าค่ะ 22/11/61
หลักการ #9 Secure Storage สถานที่เก็บรักษา แบบฟอร์มใบเสร็จเปล่า Deposits in Transit ลิ้นชักเงิน และ เครื่องรับเงินสด ต้องจำกัดให้เข้าถึงได้เฉพาะผู้ที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่รับผิดชอบเท่านั้น 22/11/61
หลักการ #10 Independent Review มีการตรวจสอบเป็นประจำโดยหัวหน้างานหรือผู้จัดการที่เป็นอิสระจากการทำรายการ 22/11/61
หลักการ #10 Independent Review ตัวอย่างของการตรวจสอบโดยผู้เป็นอิสระจากรายการ ตรวจนับเงินสดโดยไม่แจ้งล่วงหน้า ตรวจทานงบพิสูจน์ยอด เงินฝากธนาคาร ตรวจการจ่ายและเอกสารประกอบ เดินตรวจตราการทำงานในแผนก การดูแลสั่งการตามปกติ การยกเว้น กลับรายการ แก้ไขรายการ ต้องได้รับอนุมัติและเซ็นกำกับโดยหัวหน้างานหรือผู้จัดการทุกครั้ง หัวหน้างาน ผู้จัดการและ ผู้บริหารที่ดูแลสายงานควรได้รับการอบรมให้ทราบถึงความเสี่ยงทุจริต 22/11/61
หลักการสุดท้าย Control Awareness พนักงานทุกคน ตั้งแต่ ผู้จัดการ หัวหน้างาน พนักงานประจำเคาน์เตอร์ และพนักงานสนับสนุน มีหน้าที่รับผิดชอบในการตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและริเริ่มแก้ไขสิ่งที่บกพร่อง ทุกคนมีหน้าที่ต้องคอยสอดส่องและรายงานเมื่อมีการไม่ปฏิบัติตามระเบียบหรือขั้นตอนที่กำหนดโดยผู้บริหาร พบความผิดพลาด หรือพฤติกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบในการแก้ไข โดยระบุจุดอ่อนของการควบคุม และพยายามหาวิธีการที่เหมาะสมในการแก้ไขข้อบกพร่องและปรับปรุงงานของตน 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม Responsibility & Accountability 1 ก่อนส่งมอบลิ้นชักให้แคชเชียร์รอบใหม่ (หรือก่อนเลิกงาน) แคชเชียร์ปิดลิ้นชัก ตรวจนับเงินใส่ซองส่งเงิน ซึ่งสั่งพิมพ์พิเศษ และมีเลขที่ล่วงหน้า พร้อมบันทึกจำนวนเงินแต่ละชนิดลงบนช่องต่าง ๆ ที่พิมพ์ไว้แล้ว พร้อมลงนามแคชเชียร์ผู้ส่งเงิน และปิดผนึกซอง Centralized Receipt Limited Access Cash Drawer Fast Money Tasks Keeping & Recording 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม Responsibility & Accountability 2 แคชเชียร์ แจ้งหัวหน้าฝ่ายต้อนรับเพื่อทำการเบิกกุญแจหน้าต่างหย่อนซอง (Drop Key) พร้อมบันทึกในรายงานการเบิกกุญแจหน้าต่างหย่อนซอง (Drop Key Log Book) โดยมีรายละเอียด แคชเชียร์ผู้เบิกกุญแจ หัวหน้าฝ่ายต้อนรับผู้รักษากุญแจ วันที่ เวลา Segregation of Duties Keeping & Recording 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม Change in Presence 3 แคชเชียร์พร้อมกับพยานจากฝ่ายต้อนรับเปิดหน้าต่างหย่อนซองในตู้นิรภัยเก็บเงิน โดยก่อนหย่อนซองให้มีการนับปริมาณซอง (โดยไม่ต้องนับเงิน) พร้อมกับลงรายงานการหย่อนซอง Drop Envelope Log Book โดยมีปริมาณซอง ชื่อแคชเชียร์ ชื่อพยาน วันที่ เวลา แต่ไม่ต้องแจ้งจำนวนเงิน (หรืออาจใช้เครื่องตอกเวลา) โดยเมื่อหย่อนซองแล้วจะต้องให้พยานตรวจสอบว่า ไม่มีซองติดค้างอยู่บนหน้าต่างหย่อนซอง Secure Storage Keeping & Recording Independent Review 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม Responsibility & Accountability 4 กำหนดหน้าที่และเวลาที่แน่นอน ทันทีที่เริ่มงานช่วงเช้า หัวหน้าการเงินส่วนหลัง (General Cashier) เบิกกุญแจเปิดตู้นิรภัย Safe Key กับหัวหน้าฝ่ายบัญชี โดยจะต้องมีการบันทึกการเบิกกุญแจ (Safe Key Log Book) โดยมีรายละเอียด ชื่อหัวหน้าการเงินผู้ขอเบิก ชื่อพยานฝ่ายต้อนรับ วันที่ เวลาเบิก และ เวลาส่งคืน Segregation of Duties Keeping & Recording 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม 5 หลังจากเบิกกุญแจโดยทันที หัวหน้าการเงิน พร้อมกับพยานฝ่ายต้อนรับ ร่วมกันเปิดตู้นิรภัย และตรวจสอบจำนวนซองตาม Drop Envelope Log Book และถือซองมาเปิดพร้อมตรวจนับเงินให้ตรงกับซอง และลงนามตรวจนับเงินบนซองส่งเงิน Independent Review Keeping & Recording 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม Responsibility & Accountability 6 หัวหน้าการเงิน กระทบยอดเงินสดรับตามที่นับได้จริง กับรายงานการรับเงินจากระบบ และสอบทาน Drop Key Log Book และ Drop Envelope Log Book เพื่อสอบทานความแตกต่าง และสืบสวนหาสาเหตุทันทีที่พบความแตกต่าง Independent Review 22/11/61
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมภายใน งานแคชเชียร์ ธุรกิจโรงแรม 7 พนักงานบัญชีทั่วไป กระทบยอดบัญชีเงินสดในมือ ทุกสัปดาห์ และ ณ สิ้นเดือน เพื่อตรวจสอบว่า เงินสดในมือ ณ สิ้นเดือน ควรมีจำนวนเงินคงเหลือเพียง 1 วัน ยกเว้น วันหยุดเสาร์อาทิตย์ และกระทบยอดเงินฝากธนาคาร ณ สิ้นเดือน และส่งให้ Controller สอบทานพร้อม Drop Key Log Book, Drop Envelope Log Book และ Safe Key Log Book Responsibility & Accountability Segregation of Duties Independent Review 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต และการควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต 22/11/61
พนักงานเสิร์ฟ - ร้านอาหาร ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต สับเปลี่ยนหมุนเวียน พนักงานห้องอาหาร มีการกำหนดเลขที่ล่วงหน้าของบัตรส่วนลด และบันทึกความถี่ในการใช้บัตรส่วนลด และให้ผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับแคชเชียร์และห้องอาหาร สอบทานความผิดปกติ 1 พนักงานเสิร์ฟร่วมมือกับแคชเชียร์ห้องอาหารหมุนเวียนบัตรส่วนลดค่าอาหาร และนำเงินส่วนลดค่าอาหารไปใช้ส่วนตัว 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต แคชเชียร์ - ค้าปลีก ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต สลับเปลี่ยนพนักงานประจำกะ ติดตั้งป้ายประกาศ เรื่อง นโยบายการออกใบเสร็จทุกครั้งที่รับเงิน ห้ามแคชเชียร์นำกระเป๋าเข้าบริเวณที่ทำงาน มีการตรวจค้นตัวก่อนและหลังเลิกงาน 2 แคชเชียร์กะเช้า รับเงินสดจากการขายลูกค้า แต่ไม่นำเงินเข้าระบบคอมพิวเตอร์ และไม่ได้ออกใบเสร็จรับเงินให้และนำเงินสดไปใช้ส่วนตัว โดยอ้างกับลูกค้าว่ายังไม่ได้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต แคชเชียร์ - โรงแรม ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต ติดตั้งประกาศนโยบาย เรื่อง อัตราแลกเปลี่ยนของโรงแรม มีการสุ่มนับเงินสดโดยไม่ได้นัดหมาย และเปรียบเทียบเงินตราต่างประเทศกับเอกสารใบรับแลกเงินตราต่างประเทศในขณะนั้น 3 แคชเชียร์โรงแรมนำเงินสดจากลิ้นชักมาให้ลูกค้าแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยไม่ได้ออกใบเสร็จรับเงิน โดยให้อัตราที่สูงกว่าอัตราเคาน์เตอร์ธนาคาร แต่ต่ำกว่าหรือเท่ากับเคาน์เตอร์แคชเชียร์ และนำส่วนต่างไปใช้ส่วนตัวโดยดำเนินการทั้งหมดภายในรอบตนเอง 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต แคชเชียร์ - โรงแรม ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต ประกาศนโยบาย เรื่อง การไม่คืนเงินสดจากแคชเชียร์ สืบสวนและตรวจสอบการลดให้โดยผู้มีอำนาจอนุมัติ และ อิสระจากฝ่ายที่ลดให้ เช่น ผู้จัดการทั่วไป (General Manager) หรือ ผู้อำนวยการบัญชี (Controller) 4 แคชเชียร์โรงแรมนำเงินสดออกจากลิ้นชัก โดยใช้ใบลดให้ (Rebate Voucher) อ้างว่าลูกค้าไม่พึงพอใจ และขอเงินคืนจากโรงแรม แต่นำเงินไปใช้ส่วนตัว 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต หัวหน้าแคชเชียร์ ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต มีผู้ที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเงิน และ แคชเชียร์ ทำหน้าที่สอบทานการเรียงลำดับเลขที่ของเอกสาร เช่น ผู้ตรวจสอบรายได้ (Internal Auditor) 5 หัวหน้าแคชเชียร์ทำลายเอกสารที่แคชเชียร์ไม่ได้บันทึกรายการรับเงินบางรายการ และ นำเงินสดส่วนที่เกินจากรายงานไปใช้ส่วนตัว 22/11/61
พนักงานรักษาเงินสดย่อย ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต จำกัดจำนวนเงินการเบิกเงินสดย่อยแต่ละครั้ง มีตัวอย่างลายเซ็นผู้รับเงิน หรือ ผู้รับมอบอำนาจให้ได้รับเงิน กำหนดนโยบายระยะเวลาตั้งแต่ส่งใบเบิกเงินสดย่อย และ การคืนเงินสดย่อยที่ชัดเจน มีการรายงานค่าใช้จ่ายผ่านเงินสดย่อยจากระบบบัญชีทั่วไปให้ผู้จัดการฝ่ายต่าง ๆ ทราบ 6 พนักงานรักษาเงินสดย่อย อ้างกับแผนกที่ขอเบิกเงินสดย่อยว่า เงินสดย่อยไม่เพียงพอ แต่ให้ทิ้งเอกสารไว้ก่อน แล้วนำเอกสารที่แผนกที่ขอเบิกทิ้งไว้ ไปเบิกชดเชยเงินสดย่อยโดยปลอมลายเซ็นผู้รับเงิน และนำเงินที่ได้รับไปหมุนใช้ส่วนตัว แล้วพยายามดึงเวลาการคืนเงินให้แผนกที่ขอเบิก 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต หัวหน้าการเงิน ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต แยกผู้รับเงินกับผู้บันทึกบัญชี บันทึกการรับชำระหนี้เป็นรายวัน และมีผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตรวจสอบรายงานการรับชำระหนี้จากฝ่ายการเงิน กับ รายงานการรับชำระหนี้จากฝ่ายบัญชี 7 หัวหน้าการเงิน นำเงินสดรับชำระจากลูกหนี้ ไปทดแทนเงินสดรับจากการขายเงินสด โดยก่อนวันถึงเกินกำหนด (overdue) ก็นำเงินสดจากลูกหนี้รายอื่นมานำเข้าบัญชี (บันทึกการรับชำระหนี้เป็นรายวัน และกระทบยอดรายการเดบิตบัญชีลูกหนี้ กับ เงินสดรับชำระให้ตรงกันเป็นประจำวัน) 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต หัวหน้าการเงิน ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต ให้พนักงานบัญชีทั่วไปกระทบยอดบัญชีเงินฝากธนาคารจาก ต้นฉบับ Bank Statement หรือ ใช้ Internet Banking 8 หัวหน้าการเงิน ไม่นำเงินสดจากการขายเข้าบัญชี แต่ทำรายการรับเงิน และปลอม Bank Statement และถ่ายเอกสารให้กับพนักงานบัญชีทั่วไป โดยอ้างว่า ได้รับแฟกซ์จากธนาคาร 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต หัวหน้าการเงิน ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต นำกุญแจตู้นิรภัยในห้องหัวหน้าการเงินใส่ไว้ใน Drop Safe ตอนเย็น มีการสุ่มนับเงินทอน และเงินสดโดยผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง 9 หัวหน้าการเงินนำเงินสดกลับบ้าน และหมุนเวียนวงเงินทอนในตู้นิรภัย กับเงินสดจากการขาย 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต พนักงานบัญชีลูกหนี้ ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต สอบทานการตัดหนี้สูญ และส่งจดหมายติดตามทวงถาม โดยผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับบัญชีลูกหนี้ มีหนังสือแจ้งลูกค้าเรื่อง นโยบายการชำระด้วยเช็คขีดคร่อมเข้าบัญชี แยกหน้าที่การรับเงินออกจากหน้าที่บัญชี สอบทานงบแยกอายุลูกหนี้ และส่งใบแจ้งยอดให้ลูกค้า (Statement) โดยผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเงินและบัญชี 10 พนักงานบัญชีลูกหนี้ พยายามตัดหนี้สูญ และติดตามลูกหนี้นำเงินมาชำระ แต่นำเงินไปใช้ส่วนตัว พนักงานบัญชีลูกหนี้ แจ้งลูกค้าให้เขียนเช็คเงินสดเท่านั้นในการชำระเงิน และเบิกเงินสดมาใช้ส่วนตัว และไม่ยอมออกใบเสร็จรับเงินให้ลูกค้าโดยอ้างว่าจะส่งทางไปรษณีย์ตามหลัง และหมุนเงินในลูกหนี้แต่ละรายไม่ให้ติด Overdue Aging 22/11/61
ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต พนักงานจัดซื้อ ตัวอย่างความเสี่ยงทุจริต การควบคุมเพื่อป้องกันทุจริต ห้ามหรือจำกัดจำนวนเงินต่ำสุดในการซื้อสินค้าด้วยเงินสด ให้ผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องสอบทานและยืนยันยอดเจ้าหนี้ที่ค้างนาน สับเปลี่ยนพนักงานจัดซื้อในการสั่งซื้อสินค้าแต่ละประเภท แจ้งผู้ขายให้ส่งนโยบายเรื่องส่วนลด และจัดทำรายงานติดตามส่วนลดโดยผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ 11 พนักงานฝ่ายจัดซื้อแจ้งว่าต้องการเบิกเงินล่วงหน้า (Cash Advance) ไปซื้อสินค้าเงินสดโดยอ้างว่าเป็นร้านค้าบุคคลธรรมดาไม่มีใบเสร็จและนำบัตรประชาชนของบุคคลอื่นมาเบิกเงิน และแจ้งเจ้าหนี้ให้ติดตามเรื่องเงินที่พนักงานฝ่ายจัดซื้อเท่านั้น พนักงานฝ่ายจัดซื้อพยายามซื้อสินค้าเป็นจำนวนเงินสูงกับผู้ขายบางรายเพื่อให้ได้รับส่วนลดส่งเสริมการขาย และระบุให้ผู้ขายสั่งจ่ายส่วนลดเป็นเช็คเงินสดส่งให้พนักงานฝ่ายจัดซื้อ 22/11/61
เงินสด และการควบคุมเงินสด 22/11/61
เงินสดและการควบคุมเงินสด ความหมายของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด สมุดเงินสดสองช่อง การจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร งบพิสูจน์ยอดเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร. 22/11/61
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสด (Cash) เงินสดในมือและเงินฝากธนาคาร เป็นสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีสภาพคล่องมากกว่าสินทรัพย์หมุนเวียนประเภทอื่น ๆ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าหรือสินทรัพย์ รายการเทียบเท่าเงินสด (Cash Equivalent) เงินลงทุนระยะสั้นซึ่งมีสภาพคล่องสูง พร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นเงินสดในจำนวนที่ทราบได้ และมีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อยหรือไม่มีนัยสำคัญ 22/11/61
เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินสดในมือ (Cash on Hand) ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ เช็คที่ครบกำหนด แคชเชียร์เช็ค ดร๊าฟธนาคาร เช็คส่วนบุคคล ที่ยังไม่ได้นำฝากธนาคาร ธนาณัติที่ยังไม่ได้นำไปขึ้นเงิน เงินสดย่อย เงินฝากธนาคาร (Cash at Bank) ประเภทกระแสรายวัน ประเภทออมทรัพย์ เงินฝากประจำที่ธนาคารยินยอมให้ถอนได้เมื่อผู้ฝากต้องการ 22/11/61
รายการที่ไม่นับรวมเป็นเงินสดของกิจการ เงินสดที่พนักงานยืมไปเพื่อทำธุรกิจให้กิจการ เช็คลงวันที่ล่วงหน้า (Post-dated Checks) เช็คที่ธนาคารคืน หรือเช็คที่เจ้าของบัญชีมีเงินไม่พอจ่าย (Not Sufficient Fund Cheques) เงินมัดจำตามสัญญา เงินฝากธนาคารที่มีข้อจำกัดของการใช้เงิน เช่น เงินกองทุนเลี้ยงชีพ เงินฝากเพื่อไถ่ถอนหุ้นกู้ เงินสำรองตามกฎหมาย อากรแสตมป์คงเหลือ. 22/11/61
รายการเกี่ยวกับเงินสด รายการรับเงินสด รับเงินลงทุนจากเจ้าของ ขายสินค้าได้รับเงินสด รับชำระหนี้จากลูกหนี้การค้า ขายสินทรัพย์อื่น ๆ รับชำระหนี้จากลูกหนี้อื่น ๆ กู้เงินจากบุคคลภายนอกหรือสถาบันการเงินอื่น ๆ รับรายได้อื่น ๆ เช่น ดอกเบี้ยรับ รายการจ่ายเงินสด ถอนทุน ซื้อสินค้าเป็นเงินสด จ่ายชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้การค้า ซื้อสินทรัพย์อื่น ๆ จ่ายชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้อื่น ๆหรือเงินกู้ระยะสั้นและเงินกู้ระยะยาว จ่ายค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน เช่น ค่าน้ำค่าไฟ ค่าเช่าสำนักงาน จ่ายค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น ดอกเบี้ยจ่าย 22/11/61
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด แบ่งการควบคุมภายในเป็น 2 ด้านตามลักษณะของรายการที่เกี่ยวข้องกับเงินสด วิธีการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดด้านรับ วิธีการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดด้านจ่าย 22/11/61
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด วิธีการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดด้านรับ แบ่งหน้าที่ระหว่างพนักงานที่ลงบันทึกบัญชี กับพนักงานรักษาเงินสดออกจากกัน ต้องออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งที่มีการรับเงินสด ลงเลขที่ใบเสร็จรับเงินเรียงตามลำดับ โดยจัดพิมพ์เลขที่ไว้ล่วงหน้า ต้องมีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสดรับ และนำไปฝากธนาคารในวันนั้น จัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ตรวจสอบเงินสดเป็นครั้งคราว โดยไม่บอกล่วงหน้า. 22/11/61
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด วิธีการควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดด้านจ่าย แยกหน้าที่การรับเงินและจ่ายเงินสดออกจากกัน มีระบบใบสำคัญจ่าย และทำทะเบียนคุมใบสำคัญจ่าย การจ่ายเงินแต่ละครั้งควรจ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นรายการที่จำนวนเงินเล็ก ๆ น้อย ๆ ให้จ่ายจากเงินสดย่อย และจัดทำทะเบียนคุมเช็ค การจ่ายเงินด้วยเช็ค ควรใช้เช็คตามลำดับเลขที่ เช็คฉบับใดเขียนผิดต้องยกเลิก แล้วเก็บไว้เป็นหลักฐาน การลงลายมือชื่อในควรมีอย่างน้อย 2 คนใน 3 คน จัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารตอนสิ้นเดือน. 22/11/61
เงินขาดและเกินบัญชี เงินสดคงเหลือปลายงวด = เงินสดคงเหลือต้นงวด + เงินสดรับระหว่างงวด – เงินสดจ่ายระหว่างงวด เงินขาดและเกินบัญชี (Short cash and over account) = เงินสดที่ตรวจนับได้ - เงินสดคงเหลือปลายงวด (จากการบันทึกบัญชี) หมายเหตุ: เงินเกินบัญชี คือ กรณีที่เงินที่ตรวจนับได้ มีมากกว่า เงินสดคงเหลือปลายงวดที่ได้จากการบันทึกบัญชี เงินขาดบัญชี คือ กรณีที่เงินที่ตรวจนับได้ มีน้อยกว่า เงินสดคงเหลือปลายงวดที่ได้จากการบันทึกบัญชี 22/11/61
เงินขาดและเกินบัญชี การบันทึกในกรณีเงินขาดบัญชี ตัวอย่างกิจการแห่งหนึ่ง ตรวจนับเงินสดในตอนสั้นวันได้ 540 บาท แต่เครื่องรับเงินสดแสดงยอดขายประจำวัน 550 บาท แสดงว่าเงินขาดบัญชี 10 บาท การบันทึกบัญชี: เดบิต เงินสด 540 เงินขาดและเกิน (ค่าใช้จ่าย) 10 เครดิต ขายสินค้า 550 22/11/61
เงินขาดและเกินบัญชี การบันทึกในกรณีเงินเกินบัญชี จากตัวอย่างเดิม กิจการ ตรวจนับเงินสดในตอนสั้นวันได้ 540 บาท แต่เครื่องรับเงินสดแสดงยอดขายประจำวัน 530 บาท แสดงว่าเงินเกินบัญชี 10 บาท การบันทึกบัญชี: เดบิต เงินสด 540 เครดิต ขายสินค้า 530 เงินขาดและเกิน (รายได้) 10 22/11/61
สมุดเงินสด 2 ช่อง เป็น สมุดรายวันขั้นต้น ที่บันทึกรายการเกี่ยวกับ การรับและการจ่าย เงินสดและเงินฝากธนาคาร และ เป็น สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ของบัญชีเงินสด และบัญชีเงินฝากธนาคาร หมายเหตุ: ถ้ากิจการลงบันทึกบัญชีในสมุดเงินสด 2 ช่องแล้ว ไม่ต้องไปลงรายการในสมุดรายวันทั่วไป และไม่ต้องเปิดบัญชีแยกประเภททั่วไป บัญชีเงินสด และบัญชีเงินฝากธนาคารอีก 22/11/61
รูปแบบของสมุดเงินสด 2 ช่อง วดป รายการ เลขที่บัญชี เงินสด ธนาคาร ม.ค. 1 ยอดยกมา 500 700 ม.ค. 3 ซื้อสินค้า 51 70 18 ขายสินค้า 41 120 15 เจ้าหนี้การค้า 21 220 20 ลูกหนี้การค้า 150 25 ค่าน้ำค่าไฟ 52 ยอดยกไป 400 630 620 850 22/11/61
สมุดเงินสด 2 ช่อง ขั้นตอนการลงบันทึกบัญชีในสมุดเงินสด 2 ช่อง ถ้าเป็นการรับเงินสด/เงินฝากธนาคาร ลงบัญชีด้านเดบิตในสมุดเงินสด ใช้ชื่อบัญชีตรงข้าม (ยกเว้นรายการเปิดบัญชี) ถ้าเป็นการจ่ายเงินสด/เงินฝากธนาคาร ลงบัญชีด้านเครดิตในสมุดเงินสด ใช้ชื่อบัญชีตรงข้าม ส่วนบัญชีด้านตรงข้ามของข้อ 1 และข้อ 2 ให้ผ่านรายการบัญชีที่เกี่ยวข้องไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปด้านตรงข้าม หายอดคงเหลือของบัญชีเงินสด และเงินฝากธนาคารตอนสิ้นงวด 22/11/61
การพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ทำไมต้องพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ถ้ากิจการมีการเปิดบัญชีเงินฝากประเภทกระแสรายวัน กิจการจะได้รับใบแจ้งยอดของธนาคาร (Bank Statement) ตอนสิ้นเดือน อาจมีรายการบางรายการที่กิจการยังไม่ได้บันทึกบัญชี เนื่องจากยังไม่ทราบ หรือกิจการอาจมีการบันทึกบัญชีในบางรายการแต่ธนาคารยังไม่ได้บันทึกบัญชี มีผลทำให้ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ และยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคารไม่เท่ากัน กิจการจึงต้องจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเพื่อหายอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง 22/11/61
การพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ความแตกต่างทางด้านเวลา ธนาคารบันทึกบัญชีแล้ว แต่กิจการยังไม่ทราบ หรือกิจการบันทึกบัญชีแล้วแต่ธนาคารยังบันทึกบัญชีให้ไม่ทัน ความผิดพลาดที่เกิดจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ในด้านการบันทึกรายการบัญชี หรือบันทึกตัวเลขผิด กิจการบันทึกรายการแต่เพียงฝ่ายเดียว ธนาคารบันทึกรายการแต่เพียงฝ่ายเดียว กิจการหรือธนาคารบันทึกรายการผิดพลาดในบัญชีของตนเอง 22/11/61
การพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร สาเหตุที่ทำให้ยอดเงินฝากธนาคารของกิจการไม่เท่ากับ ยอดเงินฝากตาม Bank Statement กิจการบันทึกรายการแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่ธนาคารยังไม่ได้บันทึกบัญชี เงินฝากระหว่างทาง (Deposit in Transit) เช็คค้างจ่าย (Outstanding Check) ธนาคารบันทึกรายการแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่กิจการยังไม่ได้บันทึกบัญชี ธนาคารเรียกเก็บเงินตามตั๋วเงินรับแทนกิจการ พร้อมดอกเบี้ยรับ ธนาคารจ่ายชำระหนี้ตามตั๋วเงินจ่ายแทนกิจการ พร้อมจ่ายดอกเบี้ย ธนาคารจ่ายค่าใช้จ่ายแทนกิจการ ธนาคารหักค่าธรรมเนียมธนาคาร 22/11/61
การพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร สาเหตุที่ทำให้ยอดเงินฝากธนาคารของกิจการไม่เท่ากับ ยอดเงินฝากตาม Bank Statement กิจการบันทึกบัญชีผิดพลาด กิจการลงบันทึกรับเงิน / จ่ายเงินด้วยจำนวนเงินที่สูงหรือต่ำกว่าความเป็นจริง กิจการลงบันทึกด้วยชื่อบัญชีที่ผิด ธนาคารบันทึกบัญชีผิดพลาด ธนาคารนำเช็คของผู้ฝากรายอื่น มาหักบัญชีของกิจการ ธนาคารนำเช็คของของผู้ฝากรายอื่น มาฝากเข้าบัญชีของกิจการ ธนาคารบันทึกจำนวนเงินฝาก/ ถอนด้วยจำนวนเงินที่ผิด 22/11/61
การพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วิธีการจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร (Bank Reconciliation) พิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเพื่อหายอดที่ถูกต้อง พิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไปหาอีกฝ่ายหนึ่ง พิสูจน์จากยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการไปหายอดเงินฝากตามใบแจ้งยอดของธนาคาร (Book to Bank) พิสูจน์จากยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคารไปหายอดเงินฝากตามสมุดบัญชีของกิจการ (Bank to Book) 22/11/61
การพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วิธีการค้นหาข้อแตกต่างยอดเงินฝากธนาคารของกิจการและของธนาคารในกรณีที่ยอดเงินฝากไม่เท่ากัน ตรวจสอบใบแจ้งยอดของธนาคารในเดือนปัจจุบันว่ามีการปรับข้อแตกต่างของเดือนก่อนหรือไม่ เปรียบเทียบสมุดบัญชีของกิจการกับใบแจ้งยอดของธนาคาร ว่ามีข้อแตกต่างหรือไม่ (โดยทำเครื่องหมายทั้งของกิจการและธนาคาร) รายการ ด้านเดบิต ของกิจการเทียบกับ ช่องฝาก ของธนาคาร รายการ ด้านเครดิต ของกิจการเทียบกับ ช่องถอน ของธนาคาร สรุปรายการที่ไม่มีเครื่องหมายว่าเกิดจากสาเหตุใด แล้วนำรายการนั้นมาเป็นข้อแตกต่างเพื่อทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร 22/11/61
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ตัวอย่าง การจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วิธีการหายอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (ด้านกิจการ) บริษัท .......................... งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ณ วันที่............. ยอดเงินฝากตามสมุดบัญชีของกิจการ xxx บวก ธนาคารเรียกเก็บเงินตามตั๋วแทนกิจการ เงินตามหน้าตั๋ว xxx ดอกเบี้ยรับ xxx กิจการลงบันทึกบัญชี (ฝากเงิน) ต่ำไป xxx xxx xxx หัก ค่าธรรมเนียมธนาคาร xxx เช็คคืน xxx ค่าใช้จ่ายที่กิจการให้ธนาคารจ่ายเงินแทน xxx กิจการลงบันทึกบัญชี (ฝากเงิน) สูงไป xxx xxx ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง xxx 22/11/61
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ตัวอย่าง การจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วิธีการหายอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (ด้านธนาคาร) บริษัท .......................... งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ณ วันที่............. ยอดเงินฝากตามใบแจ้งยอดของธนาคาร (Bank Statement) xxx บวก เงินฝากระหว่างทาง xxx ธนาคารหักผิดบัญชี xxx xxx xxx หัก เช็คค้างจ่าย xxx ธนาคารนำเช็คของกิจการอื่นมาเพิ่มเงินฝากให้กิจการ xxx xxx ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง xxx หมายเหตุ: งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วิธีการหายอดที่ถูกต้อง ยอดเงินฝากธนาคารที่ได้จะต้องเท่ากัน ไม่ว่าจะหาทางด้านกิจการหรือธนาคาร 22/11/61
เงินสดย่อย 22/11/61
เงินสดย่อย เงินสดย่อย (Petty Cash Fund) เป็นเงินสดที่มีไว้ใช้จ่ายสำหรับค่าใช้จ่ายจำนวนเล็กน้อย และเป็นรายการที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ไม่สะดวกที่จะจ่ายเป็นเช็ค ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเงินสดย่อย เรียกว่า ผู้รักษาเงินสดย่อย (Petty Cash Custodian). 22/11/61
ขั้นตอนเกี่ยวกับเงินสดย่อย การตั้งวงเงินสดย่อย การจ่ายเงินสดย่อย การเบิกชดเชยเงินสดย่อย. 22/11/61
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสดย่อย การบันทึกระบบเงินสดย่อยโดยไม่ได้กำหนดวงเงินไว้แน่นอน (Fluctuating System) เมื่อตั้งวงเงินสดย่อย เมื่อจ่ายเงินสดย่อย ณ วันที่เกิดรายการ Dr. เงินสดย่อย xxx Cr. เงินฝากธนาคาร xxx Dr. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ xxx Cr. เงินสดย่อย xxx หมายเหตุ: บันทึกรายจ่ายต่าง ๆ ในสมุดเงินสดย่อยแล้วผ่านรายการจากสมุดเงินสดย่อยไปบัญชีแยกประเภท สมุดเงินสดย่อยเป็นสมุดบัญชีเล่มหนึ่งของกิจการ 22/11/61
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสดย่อย การบันทึกระบบเงินสดย่อยโดยไม่ได้กำหนดวงเงินไว้แน่นอน (Fluctuating System) เมื่อขอเบิกชดเชยเงินสดย่อย Dr. เงินสดย่อย xxx Cr. เงินฝากธนาคาร xxx หมายเหตุ: เบิกชดเชยด้วยจำนวนเงินที่เท่ากับหรือไม่เท่ากับจำนวนที่จ่ายไปจริง ในวันสิ้นงวดเงินสดในมือของผู้รักษาเงินสดย่อยจะตรงกับบัญชีเงินสดย่อย จึงไม่ต้องมีการปรับปรุงบัญชี 22/11/61
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสดย่อย การบันทึกเงินสดย่อยโดยกำหนดวงเงินไว้แน่นอน (Imprest System). เมื่อตั้งวงเงินสดย่อย เมื่อจ่ายเงินสดย่อย ณ วันที่เกิดรายการ Dr. เงินสดย่อย xxx Cr. เงินฝากธนาคาร xxx หมายเหตุ: การจ่ายต้องทำใบสำคัญจ่ายขึ้นทุกครั้งที่มีการจ่ายเงิน โดยมีลายเซ็นผู้อนุมัติทุกครั้ง บันทึกรายการจ่ายลงในสมุดเงินสดย่อย (เป็นการบันทึกความทรงจำว่าได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายอะไร จำนวนเท่าใด) 22/11/61
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสดย่อย การบันทึกเงินสดย่อยโดยกำหนดวงเงินไว้แน่นอน (Imprest System). เมื่อขอเบิกชดเชยเงินสดย่อย ณ วันสิ้นระยะเวลาที่กำหนดของเงินสดย่อย Dr. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ xxx Cr. เงินฝากธนาคาร xxx 22/11/61
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสดย่อย การบันทึกเงินสดย่อยโดยกำหนดวงเงินไว้แน่นอน (Imprest System). ในกรณีที่มีใบสำคัญเงินสดย่อยค้างเบิกชดเชย ณ วันสิ้นงวด ให้ปรับปรุงรายการค่าใช้จ่ายที่ค้างเบิก เมื่อขอเบิกชดเชยในเดือนถัดไปของงวดบัญชีใหม่ Dr. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ xxx Cr. เงินฝากธนาคาร xxx 25x1 ธ.ค.31 Dr. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ xxx Cr. เงินสดย่อย xxx 25x2 ม.ค 1 Dr. เงินสดย่อย xxx Cr. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ xxx หมายเหตุ: บันทึกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โดยไม่ต้องแยกว่าค่าใช้จ่ายจำนวนไหนเป็นของปีก่อน และค่าใช้จ่ายงวดไหนเป็นของปีปัจจุบัน 22/11/61
ประโยชน์ของเงินสดย่อย แบ่งแยกหน้าที่ให้ผู้รักษาเงินสดย่อยรับผิดชอบเกี่ยวกับ การใช้จ่ายเล็ก ๆ น้อย ๆ รายการที่ปรากฏอยู่ในสมุดเงินสดมีจำนวนน้อยลง ความผิดพลาดลดลง พิสูจน์ยอดเงินสดย่อยทำได้สะดวก เพราะจำนวนเงินไม่มากนัก เงินสดย่อยคงเหลือ = วงเงินสดย่อย – รายจ่ายในระหว่างงวด (ตามเอกสารใบสำคัญจ่าย) 22/11/61
การตรวจสอบด้านบัญชี และการเงินอื่นๆ 22/11/61
รายการบัญชีอื่น ๆ ลูกหนี้และการขาย การผลิตและสินค้าคงเหลือ การซื้อและเจ้าหนี้ สินทรัพย์ถาวร (ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์) เงินลงทุน หนี้สิน รายได้ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์อื่น (ทรัพยากรธรรมชาติ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน) การตรวจสอบภาษีเงินได้. 22/11/61
การตรวจสอบลูกหนี้การค้าและการขาย วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความมีอยู่จริง สิทธิและภาระผูกพัน ความครบถ้วน การตีราคาที่ถูกต้องเหมาะสม การแสดงรายการและการเปิดเผยในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบ การสอบถามจากผู้บริหาร การอ่านรายงานการประชุม ตรวจเช็คสัญญาต่าง ๆ ที่สำคัญ ตรวจเช็คกระบวนการขายและออกใบกำกับภาษี การส่งหนังสือยืนยันยอด การตรวจตัดยอด (Cut-off) การตรวจสอบเอกสารการขาย (Invoice, Delivery Oder, เงื่อนไขของการขาย ฯลฯ) การสอบทานวิธีการตั้งลูกหนี้และกำหนดมูลค่า การสอบทาน Aging ลูกหนี้ การสอบทานการตัดจำหน่ายลูกหนี้. 22/11/61
การตรวจสอบการผลิตและสินค้าคงเหลือ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความมีอยู่จริง สิทธิและภาระผูกพัน ความถูกต้องครบถ้วน การตีราคาที่ถูกต้องเหมาะสม วิธีการตรวจสอบ ใช้แนวทางการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ตรวจแผนและกระบวนการผลิต ตรวจสอบรายงานความสูญเสีย ตรวจสอบการตีราคาสินค้า ตรวจสอบการจัดเก็บสินค้าและเบิกจ่ายสินค้า สังเกตการณ์การตรวจนับสินค้า ตรวจการกระทบยอดสินค้าคงเหลือ ตรวจการตัดยอดสินค้าคงเหลือ ตรวจสอบมูลค่าสินค้าคงเหลือ สอบทานนโยบาย Write-off สินค้าคงเหลือ ตรวจสอบการแสดงรายการและการเปิดเผยในงบการเงิน. 22/11/61
การตรวจสอบสินทรัพย์และสินทรัพย์อื่นๆ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความถูกต้องครบถ้วน ความมีอยู่จริง การตีราคา สิทธิและภาระผูกพัน เกิดขึ้นจริง การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล วิธีการตรวจสอบ ตรวจสอบยอดรวมตามบัญชีแยกประเภทกับบัญชีทะเบียนคุมสินทรัพย์ สอบทานนโยบายการบัญชี ตรวจสอบรายการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสินทรัพย์ ตรวจสอบความมีตัวตนของสินทรัพย์ (เทียบรายการทะเบียนกับของจริง) สอบทานนโยบายตรวจนับสินทรัพย์ สอบทานนโยบายการจัดการกับสินทรัพย์สูญหายหรือด้อยค่า ตรวจสอบงานระหว่างก่อสร้าง การโอนไปเป็นสินทรัพย์ถาวร ตรวจสอบการจัดประเภทค่าใช้จ่ายฝ่ายทุน (Capital Expense) และค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าใช้จ่าย (Revenue Expense) 22/11/61
การตรวจสอบสินทรัพย์และสินทรัพย์อื่นๆ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความถูกต้องครบถ้วน ความมีอยู่จริง การตีราคา สิทธิและภาระผูกพัน เกิดขึ้นจริง การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล วิธีการตรวจสอบ (ต่อ) ตรวจเช็คนโยบายการคิดค่าเสื่อมราคาและการคิดค่าเสื่อมราคา ตรวจเช็คภาระค้ำประกัน การประกัน และภาระผูกพันของสินทรัพย์ การตีราคาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ และการคิดค่าสูญสิ้นไป (Depletion Rate). 22/11/61
การตรวจสอบการลงทุน วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความมีอยู่จริง ประสิทธิภาพและความเหมาะสม ความถูกต้องและครบถ้วน การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลในงบ วิธีการตรวจสอบ ตรวจสอบการจัดประเภทหลักทรัพย์ (เพื่อค้า เผื่อขาย ตราสารหนื้ถือจนครบกำหนด และเงินลงทุนทั่วไป) ตรวจเช็คกับเอกสาร สัญญา ใบหุ้นของการลงทุนแต่ละประเภท การกระทบยอดการลงทุน การวิเคราะห์เปรียบเทียบ การขอคำยืนยันยอดการลงทุน ตรวจเช็คกับเอกสารการซื้อขายเงินลงทุนระหว่างงวด และการบันทึกกำไรขาดทุน ตรวจการบันทึกผลตอบแทนจากเงินลงทุนทั้งที่เป็นตัวเงินและผลตอบแทนในลักษณะอื่น ๆ. 22/11/61
การตรวจสอบการลงทุน วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความมีอยู่จริง ประสิทธิภาพและความเหมาะสม ความถูกต้องและครบถ้วน การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลในงบ วิธีการตรวจสอบ (ต่อ) ตรวจสอบการลงทุนระหว่างกันของบริษัทร่วม บริษัทย่อยและความมีอยู่จริงของรายการ สอบทานรายงานการประชุม ตรวจสอบการแสดงรายการและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน เช่นการบันทึกแบบวิธีส่วนได้เสีย การใช้มูลค่ายุติธรรม การบันทึกกำไรขาดทุนในงวดบัญชี การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับภาระผูกพัน และการค้ำประกันต่าง ๆ. 22/11/61
การตรวจสอบเจ้าหนี้การค้าและหนี้สิน วัตถุประสงค์การตรวจสอบ มูลค่าที่ถูกต้องครบถ้วน ความมีอยู่จริง การแสดงรายการ ภาระผูกพันมีการเปิดเผยและรายงานอย่างเหมาะสม วิธีการตรวจสอบ การยืนยันยอด การตรวจสอบรายละเอียดใบแจ้งหนี้ การตรวจตัดยอดใบรับสินค้า การตรวจสอบการจ่ายเงินหลังสิ้นงวด สอบทานกระบวนการรับสินค้า ตรวจสอบกับใบรับสินค้า ตรวจเช็คการตั้งหนี้ว่ามีเอกสารครบถ้วนและมีการแสดงประเภทรายการอย่างถูกต้อง ตรวจเอกสารหลักฐานการค้ำประกันและภาระผูกพันเจ้าหนี้ ใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบในมุมต่าง ๆ ตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อและการตั้งหนี้. 22/11/61
การตรวจสอบส่วนของเจ้าของ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ การมีอยู่จริง มูลค่าที่ถูกต้องและครบถ้วน ภาระผูกพัน การแสดงรายงานและการเปิดเผยในงบ วิธีการตรวจสอบ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในการถือครองหุ้น ตรวจสอบการจัดประเภทของหุ้น ตรวจสอบรายการในแบบ บอจ. 5 ทดสอบรายการในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ทดสอบการคำนวณกำไรต่อหุ้น ดูรายงานการประชุมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงหรือกระทบกับสัดส่วนการถือครองหุ้น สอบทานรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นและการอนุมัติการจ่ายเงินปันผล. 22/11/61
การตรวจสอบส่วนของเจ้าของ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ การมีอยู่จริง มูลค่าที่ถูกต้องและครบถ้วน ภาระผูกพัน การแสดงรายงานและการเปิดเผยในงบ วิธีการตรวจสอบ (ต่อ) ตรวจสอบกระบวนการจ่ายเงินปันผลและเอกสารที่เกี่ยวข้องและการบันทึกบัญชีการจ่ายเงินปันผล ตรวจสอบการตั้งสำรองต่างๆ รวมทั้งสำรองตามกฎหมาย 5% จนกว่าจะครบ 10% ของทุนจดทะเบียน ตรวจเช็คกรณี ที่ดูไม่ค่อยปกติ เช่น เช็คเงินปันผลที่ไม่มีผู้มารับเป็นเวลานาน ๆ การตั้งสำรองผิดประเภท ฯลฯ. 22/11/61
ภาษีที่เกี่ยวข้อง ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม – ภาษีซื้อ ภาษีขาย ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือน ภาษีป้าย ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร. 22/11/61
การตรวจสอบภาษีเงินได้ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความถูกต้องครบถ้วน การแสดงรายการและเปิดเผยข้อมูล ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการวางแผนภาษี วิธีการตรวจสอบ ตรวจเช็ครายงานภาษีซื้อ – ภาษีขาย กรณีที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะมีการดำเนินการอย่างเหมาะสม สอบทานนโยบายและแนวทางการวางแผนภาษี ตรวจสอบการยื่นแบบ ภพ. 30 ตรวจสอบการยื่นแบบ ภงด. 50 51 ตรวจเช็คการคำนวณภาษีตามเกณฑ์ของ มาตรา 65 ทวิ และ 65 ตรี ตรวจเช็คการคำนวณการหักภาษี ณ ที่จ่าย และการยื่นแบบตามมาตรา 69 ทวิ 69 ตรี 3 เตรส และ ทป 4/2528 สอบทานการยื่นขอคืนภาษีต่าง ๆ ในเวลาที่กำหนด. 22/11/61
การตรวจสอบภาษีเงินได้ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความถูกต้องครบถ้วน การแสดงรายการและเปิดเผยข้อมูล ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการวางแผนภาษี วิธีการตรวจสอบ (ต่อ) ตรวจเช็คการยื่นเสียภาษีโรงเรือน (ภ.ร.ด. 2 – ก.พ.) ตรวจเช็คการยื่นเสียภาษีที่ดิน (ภ.บ.ท. 5 – เม.ย.) ตรวจเช็คการยื่นเสียภาษีป้าย (ภ.ป. 1 – มี.ค.) ตรวจเช็คการยื่นหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ณ ที่จ่าย ภงด.1 – ม.ค. (ในการตรวจสอบงานบริหารงานบุคคล) ตรวจเช็คการเสียภาษีศุลกากร ตรวจเช็คการเสียภาษีสรรพสามิต. 22/11/61
การตรวจสอบรายได้-ค่าใช้จ่าย วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความมีอยู่จริง ประสิทธิภาพและความเหมาะสม ความถูกต้องและครบถ้วน การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลในงบ วิธีการตรวจสอบ ตรวจสอบกระบวนการจ่ายเงินในการซื้อของและค่าบริการต่างๆ ตรวจสอบเงินเดือนและค่าแรง ใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบหาความสมเหตุสมผล ตรวจสอบการจ่ายค่าเช่าต่าง ๆ สอบทานยอดธนาคารกับเงินที่จ่ายออกไป ตรวจเช็คการยกเลิกเอกสารที่มีการเบิกจ่ายไปแล้ว ทดสอบการผ่านรายการทางบัญชี ทดสอบความเหมาะสมการจัดประเภทค่าใช้จ่ายต่าง ๆ สอบทานความครบถ้วนของเอกสารประกอบการเบิกจ่าย. 22/11/61
การตรวจสอบรายได้-ค่าใช้จ่าย วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความมีอยู่จริง ประสิทธิภาพและความเหมาะสม ความถูกต้องและครบถ้วน การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลในงบ วิธีการตรวจสอบ (ต่อ) ตรวจสอบรายได้จากการขายทั่วไป สอบทานเรื่องการให้ส่วนลด และสินค้าคืน ตรวจเช็คการขายสิ่งที่ไม่ใช่รายการค้าปกติ ตรวจเช็ครายละเอียดใบกำกับสินค้ากับใบสั่งซื้อลูกค้า ตรวจสอบประเภทลูกค้าที่สั่งซื้อ ทดสอบการผ่านรายการทางบัญชี ทดสอบความเหมาะสมการจัดประเภทรายได้ต่าง ๆ ทดสอบการเบิกจ่ายสินค้าเนื่องจากการขาย. 22/11/61
ตัวอย่างระบบการรับคำสั่งซื้อ เครดิต และส่งของ 22/11/61
จุดควบคุมในระบบการรับคำสั่งซื้อ เครดิต และส่งของ แบบ Paper-based System ใบสั่งซื้อ จากลูกค้า เตรียมใบ อนุมัติขาย จุดควบคุมเสริมอื่น ๆ Customer Purchase Order อนุมัติผู้ซื้อ สอบทานวงเงินเครดิต ณ จุดสั่งซื้อ แบบฟอร์มใบอนุมัติขายมีเลขที่พิมพ์ไว้ล่วงหน้า เก็บรักษาแบบฟอร์มเปล่าของใบอนุมัติขายในที่ปลอดภัย เก็บรักษาตราประทับอนุมัติขายในที่ปลอดภัย ตรวจสอบกรณีมีสินค้าคืน เปรียบเทียบจำนวนสินค้าที่ลูกค้าสั่งซื้อกับจำนวนที่ส่งให้ลูกค้า สอบทานราคาขาย Sale Order เปรียบเทียบ ใบอนุมัติขาย กับใบสั่งซื้อ แฟ้ม 4/5 ฝ่ายวางบิล /ลูกค้า ใบอนุมัติ ขาย 3 ฝ่ายขาย 5 1/2 4 3 แฟ้ม 2 2 1 ฝ่ายเครดิต เครดิตสอบทาน ประทับตรา อนุมัติขาย ใบกำกับ สินค้า 2/3 ฝ่ายวางบิล /ลูกค้า Bill of Lading 3 2 1 แฟ้ม ใบอนุมัติขาย (1) และ ใบกำกับสินค้า (1) ฝ่ายส่งสินค้า 22/11/61
จุดควบคุมในระบบการรับคำสั่งซื้อ เครดิต และส่งของ แบบ Computerized System ใบสั่งซื้อ จากลูกค้า จุดควบคุมเสริมอื่น ๆ Customer Purchase Order อนุมัติผู้ซื้อ เก็บประวัติการทำรายการ (Audit Trail) เพื่อการตรวจสอบ สอบทานรายการย่อยที่ต่ำกว่าเกณฑ์ของฝ่ายเครดิต ใช้ระบบตรวจเครดิตอัตโนมัติสำหรับคำสั่งซื้อรายการย่อย ให้ลูกค้ากรอกแบบฟอร์มเครดิต ทาง online ระบบงานเข้าถึงได้เฉพาะผู้ใช้งานที่ได้รับอนุญาต ระบบงานมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่นำเข้า แฟ้ม เข้าข้อมูลการ ขายในระบบ Customer Purchase Order ฝ่ายขาย เช็คสินค้าในสต็อค สั่งสินค้าเพิ่ม หรือหาทดแทน มี ในสต็อค ? ไม่มี มี ตั้งเงื่อนไขชำระเงิน เช็คราคา เครดิตสอบทาน Online Flag อนุมัติให้ส่งสินค้า ส่งสินค้า/จัดทำ ใบกำกับสินค้า 2 ลูกค้า ใบกำกับ สินค้า Bill of Lading 1 แฟ้ม 2 ฝ่ายส่งสินค้า 1 22/11/61
จุดควบคุมในระบบการรับคำสั่งซื้อ เครดิต และส่งของ แบบรับคำสั่งซื้อทาง Electronic จุดควบคุมเสริมอื่น ๆ รับคำสั่งซื้อทาง Internet-based Electronic Form รับคำสั่งซื้อทาง Electronic Data Interchange (EDI) ระบบตรวจวงเงินคงเหลือในบัตรเครดิตและแจ้งลูกค้าถ้าไม่เพียงพอที่จะทำรายการ ระบบ flag คำสั่งซื้อสุดท้ายที่เกินวงเงินที่ได้รับอนุมัติเพื่อให้เจ้าหน้าที่เครดิตเข้าตรวจสอบ ระบบ Flag อนุมัติให้ส่งสินค้าโดยอัตโนมัติ ระบบส่งรายงานสถานะคำสั่งซื้อและวันส่งสินค้าถึงลูกค้า มีกระบวนการรักษาข้อมูลบัตรเครดิตลูกค้าเป็นความลับ ลดจุดควบคุมที่ทำงานด้วยมือเพื่อความรวดเร็ว เว้นในกรณีเกิดปัญหาเท่านั้น ลูกค้า เข้าข้อมูลการ ขายในระบบ เข้าข้อมูลการ ขายในระบบ ตรวจสอบเครดิตอัตโนมัติ ตรวจบัตร เครดิต Flag อนุมัติ ให้ส่งสินค้า เช็คสินค้าใน สต็อคอัตโนมัติ ไม่มีการอนุมัติผู้ซื้อ ไม่มีการเช็คราคา ไม่มีการตั้ง เงื่อนไขชำระเงิน ส่งสินค้า/จัดทำ ใบกำกับสินค้า 2 ลูกค้า ใบกำกับ สินค้า Bill of Lading 1 แฟ้ม 2 1 ฝ่ายส่งสินค้า 22/11/61
จุดควบคุมในระบบการรับคำสั่งซื้อ เครดิต และส่งของ กรณีเป็น Drop-Ship Ordered Items จุดควบคุมเสริมอื่น ๆ ใบสั่งซื้อ จากลูกค้า Customer Purchase Order ยืนยัน Supplier อัตโนมัติทาง EDI ว่าได้รับคำสั่งซื้อแล้ว ยืนยันวันส่งสินค้ากับ Supplier ยืนยันให้แน่ใจว่าลูกค้าถูกวางบิลทันทีที่สินค้าส่งถึงมือ ติดตามจำนวนวันที่คาดว่า Supplier จะจัดส่งสินค้าแต่ละรายการ และดำเนินการแก้ไขหากเกินเกณฑ์ที่กำหนด เช่น แจ้งลูกค้า เปลี่ยนสินค้า เปลี่ยน Supplier ยกเลิกการซื้อ รายงานผู้บริหาร ฯลฯ แฟ้ม เข้าข้อมูลการ ขายในระบบ Customer Purchase Order ฝ่ายขาย Fax ผ่านคำสั่งซื้อ ให้ Supplier ทาง Electronic Transmission ยืนยัน Supplier ได้รับคำสั่งซื้อ ใบกำกับ สินค้า จับคู่ใบกำกับสินค้ากับใบสั่งซื้อ จาก Supplier Bill of Lading บันทึกจำนวนที่ ส่งให้ลูกค้า ลงในระบบ ฝ่ายวางบิล รายงาน คำสั่งซื้อที่ยัง ไม่จัดส่ง Open Customer Order Report ตรวจรายการ ที่จับคู่ไม่ได้ ตรวจคำสั่งซื้อ ค้างนาน 22/11/61
จุดควบคุมในระบบการรับคำสั่งซื้อ เครดิต และส่งของ กรณีลูกค้าใช้ Evaluated Receipts Order จุดควบคุมเสริมอื่น ๆ รับคำสั่งซื้อทาง Paper-based Purchase Order รับคำสั่งซื้อทาง Electronic Purchase Order ระบบพิมพ์ Bar Code บน Evaluated Receipts Tag เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการรับสินค้า ระบบ flag คำสั่งซื้อสุดท้ายที่เกินวงเงินที่ได้รับอนุมัติเพื่อให้เจ้าหน้าที่เครดิตเข้าตรวจสอบ ระบบ Flag อนุมัติให้ส่งสินค้าโดยอัตโนมัติ ตรวจสอบความถูกต้องของระบบงานและรหัสบน ERT ตรวจสอบกระบวนการเรียกเก็บหนี้ เพื่อแน่ใจว่า ERT ถูกพิมพ์และจัดส่งแทนใบแจ้งหนี้ ตรวจสอบข้อร้องเรียนลูกค้าเกี่ยวกับ ERT ฝ่ายขาย เข้าข้อมูลการ ขายในระบบ เข้าข้อมูลการ ขายในระบบ แฟ้ม Paper-based Purchase Order Flag เป็น Evaluated Receipts เปรียบเทียบ คำสั่งซื้อกับ วงเงินคงเหลือ วงเงิน เพียงพอ? ไม่ใช่ เครดิต สอบทาน ใช่ Flag อนุมัติ ให้ส่งสินค้า ส่งสินค้า/ จัดทำเอกสาร ลูกค้าเปรียบเทียบ ERT กับ PO No. ที่ตนออกในฐานข้อมูลและชำระค่าสินค้า Evaluated Receipts Tag BOL 2 & ERT ERT ใบกำกับ สินค้า Bill of Lading 1 แฟ้ม BOL 1 2 ฝ่ายส่งสินค้า 1 22/11/61
จุดควบคุมในระบบการรับคำสั่งซื้อ เครดิต และส่งของ ตัวอย่างนโยบายเครดิต ตรวจสอบความมีตัวตนของลูกค้า สำหรับทุกคำสั่งซื้อที่มูลค่าเกิน ___ ฿ ต้องตรวจสอบราคาในเอกสารคำสั่งซื้อที่รับจากลูกค้าก่อนดำเนินการ ไม่มีการขยาย เวลาการรับคืนสินค้า ส่วนลดเพิ่มพิเศษจากปกติ ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารระดับสูง การส่งสินค้า ทุกครั้งต้องได้รับอนุมัติจากฝ่ายเครดิต ฝ่ายเครดิต จะให้เครดิตแก่ลูกค้าทุกรายเว้นแต่มีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหาย มีพนักงานเก็บเงินไม่เกิน 1 คนต่อลูกค้า 1000 คน ผู้จัดการฝ่ายเครดิตมีอำนาจให้ เพิ่ม หรือระงับวงเงิน ลูกค้าทุกรายได้รับวงเงินขั้นต่ำ ___ ฿ เกินจากนี้ต้องส่งงบการเงินและหลักฐานให้บริษัทพิจารณาตาม Credit Scoring วิธีมาตรฐานในการเรียกเก็บหนี้ D-5 email invoice (pdf) D+7 ส่ง invoice ทาง Fax D+9 ทวงถามทางโทรศัพท์ D+15 & >__ ฿ ให้ระงับวงเงิน D+60 ส่ง Collection Agent การเพิ่มวงเงิน ต้องได้รับอนุมัติจากผู้จัดการฝ่ายเครดิตในทุกกรณี คำสั่งซื้อที่เกินวงเงิน ต้องได้รับอนุมัติจากผู้จัดการฝ่ายเครดิตในทุกกรณี 22/11/61
แนวทางการออกแบบและประเมิน ระบบการควบคุม 22/11/61
ความเสี่ยงในกระบวนการซ่อมบำรุงเครื่องจักร วัตถุประสงค์การควบคุม เครื่องจักรควรได้รับการส่งซ่อมบำรุงตามกำหนดเวลา หรือเมื่อจำเป็น งานซ่อมควรรวดเร็ว มีคุณภาพ งานซ่อมแซมที่ผิดพลาดมีน้อยครั้ง บันทึกค่าใช้จ่ายเข้าต้นทุนการผลิต ถูกต้อง ครบถ้วน ตามงวดบัญชี เครื่องจักร อุปกรณ์ และอะไหล่ ได้รับการดูแลปลอดภัย ครบถ้วนไม่สูญหาย ความเสี่ยงในกระบวนการซ่อมบำรุงเครื่องจักร ส่งซ่อมทั้งที่ไม่จำเป็น ไม่ซ่อมบำรุงตามกำหนดเวลา ตอบสนองคำขอซ่อมล่าช้า งานซ่อมล่าช้า คุณภาพงานซ่อมไม่ดี ไม่ได้รับคำขอ คำขอสูญหาย อุปกรณ์ อะไหล่ สูญหาย ไม่บันทึกค่าใช้จ่าย บันทึกไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ล่าช้า. 22/11/61
ผังทางเดินเอกสาร - สัญลักษณ์ สื่อบันทึกข้อมูลถาวร A จุดเชื่อม ในหน้า เอกสารที่มีสำเนาหลายชุด สื่อเก็บข้อมูล Online จุดเชื่อม ต่างหน้า 2/A 3 2 1 กระบวนการที่ทำด้วยมือ ข้อมูลเข้าออก Log, Ledger ช่างประจำเครื่องจักรตรวจสอบตามตารางการซ่อมบำรุง คำอธิบาย กระบวนการ การปฏิบัติงาน การตัดสินใจ ทิศทางการไหลของกิจกรรม และเอกสาร เข้าแฟ้มเอกสารหรือทะเบียน หน้าจอ แสดงผล N 22/11/61
ผังทางเดินเอกสาร กระบวนการซ่อมบำรุงเครื่องจักร ผังทางเดินเอกสาร กระบวนการซ่อมบำรุงเครื่องจักร แต่ละกิจกรรม มีการอนุมัติเหมาะสม แต่ละกิจกรรม ได้รับการตรวจทาน ฝ่ายบัญชี หน่วยซ่อมบำรุง ช่างประจำเครื่องจักร กรอกใบ คำขอ ช่างประจำเครื่องจักรตรวจสอบตามตารางการซ่อมบำรุง หรือเมื่อมีความจำเป็น ระบุเป็น call back ถ้าเสียด้วยสาเหตุเดิม N ใบแจ้งซ่อม 2 1 D ใบแจ้งซ่อมที่ เซ็นรับแจ้งแล้ว หัวหน้าช่างมา ตรวจสอบและ เซ็นรับแจ้ง ช่างดำเนินการ ซ่อมตามใบแจ้ง บันทึกค่าใช้จ่าย ช่างซ่อมบำรุงตรวจเครื่องจักรหาสาเหตุและเบิกอะไหล่ อุปกรณ์ ที่จำเป็น หัวหน้าซ่อมบำรุง เช็คความเรียบร้อย ก่อนส่งมอบงาน A หัวหน้าสายการผลิต ตรวจสอบความ เรียบร้อยของงาน ซ่อมและเซ็นรับ B ใบแจ้งซ่อมที่ เซ็นรับงานแล้ว ช่างประจำเครื่อง บันทึกข้อมูลในการ์ด รายการบำรุงรักษา ประจำเครื่องจักร พนักงานบัญชี รับใบแจ้งซ่อม และสอบทาน เข้าแฟ้ม ตามเลขที่ ใบแจ้ง ลงเวลาในบันทึกการซ่อมแซมประจำวัน บันทึกเวลาที่มาถึงในใบแจ้งซ่อม หัวหน้าสายการผลิต ตรวจสอบและอนุมัติ ในใบแจ้งซ่อม 3 อะไหล่เก็บในตู้ล๊อคกุญแจมีทะเบียนคุม เครื่องจักรอยู่ในโรงงานที่มีรั้วรอบขอบชิด มีอุปกรณ์ CCTV และ ยามรักษาการณ์กลางคืน วันศุกร์ พนักงานบัญชีบันทึก ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ อะไหล่ ค่าแรง เป็นต้นทุนการผลิต ช่างประจำเครื่องจักร หน่วยซ่อมบำรุง ฝ่ายบัญชี แต่ละกิจกรรม ได้รับการบันทึก ใบแจ้งซ่อม 2 1 ช่างประจำเครื่องจักรตรวจสอบตามตารางการซ่อมบำรุง หรือเมื่อมีความจำเป็น ระบุเป็น call back ถ้าเสียด้วยสาเหตุเดิม กรอกใบ คำขอ B พนักงานบัญชี รับใบแจ้งซ่อม และสอบทาน หัวหน้าช่างมา ตรวจสอบและ เซ็นรับแจ้ง หัวหน้าสายการผลิต ตรวจสอบและอนุมัติ ในใบแจ้งซ่อม บันทึกเวลาที่มาถึงในใบแจ้งซ่อม A หัวหน้าสายการผลิต ตรวจสอบความ เรียบร้อยของงาน ซ่อมและเซ็นรับ พนักงานบัญชีบันทึก ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ อะไหล่ ค่าแรง เป็นต้นทุนการผลิต 3 ใบแจ้งซ่อม 2 1 ใบแจ้งซ่อมที่ เซ็นรับแจ้งแล้ว 1 ใบแจ้งซ่อมที่ เซ็นรับแจ้งแล้ว 2 วันศุกร์ ช่างดำเนินการ ซ่อมตามใบแจ้ง บันทึกค่าใช้จ่าย N ช่างประจำเครื่อง บันทึกข้อมูลในการ์ด รายการบำรุงรักษา ประจำเครื่องจักร N เข้าแฟ้ม ตามเลขที่ ใบแจ้ง D ทรัพย์สิน มีการควบคุม ทางกายภาพ หัวหน้าซ่อมบำรุง เช็คความเรียบร้อย ก่อนส่งมอบงาน ใบแจ้งซ่อมที่ เซ็นรับงานแล้ว 1 ช่างซ่อมบำรุงตรวจเครื่องจักรหาสาเหตุและเบิกอะไหล่ อุปกรณ์ ที่จำเป็น เครื่องจักรอยู่ในโรงงานที่มีรั้วรอบขอบชิด มีอุปกรณ์ CCTV และ ยามรักษาการณ์กลางคืน ลงเวลาในบันทึกการซ่อมแซมประจำวัน B A อะไหล่เก็บในตู้ล๊อคกุญแจมีทะเบียนคุม 22/11/61
แบบสอบถามการควบคุมภายใน ตัวอย่าง แบบสอบถามการควบคุมภายใน ตัวอย่าง 22/11/61
Audit Procedure ตัวอย่าง ประเมิน การแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างพนักงาน จากผังองค์กร คำบรรยายลักษณะงาน และขอบเขตอำนาจหน้าที่ วิเคราะห์ ข้อมูล ระบุสิ่งผิดปกติหรือน่าสงสัย เยี่ยมชม และ สอบถาม เจ้าหน้าที่ ผู้รับบริการ ดูตัวอย่างเอกสารหรือ สังเกตการณ์ วิธีปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ ทีละขั้นตั้งแต่ต้นจนจบ และ ระบุความแตกต่าง จากคู่มือ บรรยาย แผนผังทางเดินงาน เอกสาร ระบุจุดควบคุมและ จัดทำ เป็นเอกสาร ตรวจนับ เงินสด แบบฟอร์มเช็ค ใบเสร็จ โดยไม่แจ้งล่วงหน้า เปรียบเทียบ กับทะเบียนคุม ประเมิน ความปลอดภัยในการเก็บรักษา ขนย้าย เบิกจ่ายเงินสด ตรวจตรา หลักฐานว่ามีการจัดทำและตรวจทานงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ตามรอย การบันทึกรายการ ออกยอดรวม คำนวณซ้ำ สุ่มตัวอย่าง เช็คสอบเอกสาร ประเมิน ว่ามีการอนุมัติ ตรวจทานเหมาะสม สอบทาน เอกสารที่สงสัย แล้ว ยืนยัน หรือ เปรียบเทียบ กับข้อมูลจากแหล่งอื่น 22/11/61
สรุป 22/11/61
สรุป เงินสดเป็นสื่อกลางสำคัญที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนหมุนเวียนภายในกิจการ และเป็นทรัพย์สินที่ต้องมีการควบคุมจัดระบบให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันการทุจริต ทุกกิจการที่มีการรับ-จ่ายเงิน จำเป็นต้องมีระบบงานทางการเงินที่สามารถให้บริการทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว การวางระบบการควบคุมภายใน และระบบเอกสารทางการเงิน ต้องเป็นไปอย่างสอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีและหลักการด้านการเงิน การบัญชี และกฎหมายภาษีอากร 22/11/61
Q&A PAIRAT SRIVILAIRIT FSVP Head of Internal Audit TISCO Financial Group Public Company Limited Mobile : +668 1903 1457 Office : +66 2633 7821 Email : pairat@tisco.co.th 22/11/61