งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทขององค์กรกำกับดูแล ต่อวิชาชีพตรวจสอบภายใน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทขององค์กรกำกับดูแล ต่อวิชาชีพตรวจสอบภายใน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทขององค์กรกำกับดูแล ต่อวิชาชีพตรวจสอบภายใน
GSIA5201 Internal Audit 1: Conceptual and Institutional Framework การตรวจสอบภายใน1: กรอบแนวคิดและโครงสร้างทางสถาบัน หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม และ 6 กันยายน :00-19:00น. 30/12/61

2 แนะนำวิทยากร ไพรัช ศรีวิไลฤทธิ์ CIA CISA CBA CCSA CFSA CISSP
หัวหน้าตรวจสอบภายใน บมจ. ธนาคารทิสโก้ ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ (2528) ปริญญาโทบริหารธุรกิจ ธรรมศาสตร์ฯ (2533) IIA’s EIAP รุ่นที่ 7 จุฬาฯ (2546) ประสบการณ์ด้านวิศวกรรม 5 ปี ประสบการณ์ด้านการเงินในทิสโก้ 18 ปี ประธาน ชมรมผู้ตรวจสอบภายในธนาคารและสถาบันการเงิน (2549) กรรมการ สมาคมผู้ตรวจสอบและควบคุมระบบสารสนเทศ - ภาคพื้นกรุงเทพฯ วิทยากรและคณะทำงาน สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย 30/12/61

3 วัตถุประสงค์การเรียนรู้
พัฒนาการของการกำกับดูแลในต่างประเทศ Sarbanes-Oxley Act 2002 การตรวจสอบในภาครัฐ พัฒนาการของการกำกับดูแลตลาดทุนในประเทศไทย การยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับใหม่ กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการตรวจสอบ งานตรวจสอบในภาคธนาคารและสถาบันการเงิน สรุป 30/12/61

4 การกำกับดูแลกิจการที่ดี
ให้ความเชื่อมั่นว่าสิทธิประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียได้รับการคุ้มครอง ให้ความเชื่อมั่นว่าคณะกรรมการได้ปฏิบัติตามหน้าที่ความรับผิดชอบในการกำกับกลยุทธ์และการดำเนินงานขององค์กรและผู้บริหารระดับสูง ให้ความเชื่อมั่นว่ากระบวนการควบคุมภายในและการรายงานขององค์กรถูกต้อง เชื่อถือได้ และสะท้อนฐานะและผลประกอบการที่แท้จริง 30/12/61

5 โครงสร้างการกำกับดูแลกิจการ
ผู้ตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ สื่อสาร ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ ผู้บริหาร องค์กร มอบหมาย หน่วยงานกำกับดูแล ของทางการ ผู้มีส่วนได้เสียอื่น สาธารณชน มอบหมาย ผู้สอบบัญชี 30/12/61

6 พัฒนาการของการกำกับดูแล ในต่างประเทศ
30/12/61

7 Origins of Internal Auditing
from the Krupp Company in 1875: “…to determine whether laws, contracts, policies and procedures have been properly observed and whether all business transactions were conducted in accordance with established policies and with success. In this connection, the auditors are to make suggestions for the improvement of existing facilities and procedures, criticisms of contracts with suggestions for improvement, etc.” 30/12/61

8 Brief History – US SEC The SEC Acts of 1933 and 1934
“Ivar Kreuger’s Contribution to U.S. Financial Reporting,” Accounting Review, Flesher & Flesher All corporations that report to the SEC are required to maintain a system of internal control that is evaluated as part of the annual external audit. 30/12/61

9 Brief History – Copyright
The Federal Copyright Act 1976 Protects intellectual property in the US Has been amended numerous times since Management is legally responsible for violations of the organization US government has continually sought international agreement on terms for protection of intellectual property globally vs. nationally 30/12/61

10 Brief History – FCPA The Foreign Corrupt Practices Act 1977
Accounting provisions Establish and maintain books, records, and accounts Establish internal accounting controls Transaction authorization Transaction record Control access to assets Compare record with existing Illegal foreign payments 30/12/61

11 Brief History – COSO The Committee of Sponsoring Organizations - 1992
AICPA, AAA, FEI, IMA, IIA Developed a management perspective model for internal controls over a number of years Widely accepted and adopted 30/12/61

12 Sarbanes-Oxley Act 2002 30/12/61

13 Brief History – SOX The Sarbanes-Oxley Act - 2002 522:3 votes
บังคับใช้กับบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ US ใต้การกำกับดูแลของ US SEC รวมบริษัทลูกในต่างประเทศ ประเมิน ประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน เพื่อให้มั่นใจ ถึงความโปร่งใสในการดำเนินงาน การเปิดเผยข้อมูลสำคัญ และความเชื่อถือได้ของรายงานการเงิน บทลงโทษที่รุนแรง 30/12/61

14 SOX Sections 404 Mandates annual controls and procedures evaluation for financial reporting Requires Independent Auditor to issue separate report attesting management’s assertion on controls and procedures effectiveness for financial reporting Management’s report on control over financial reporting a reality for entities filing annual reports required by section 13(a) or 15(d) of the Securities Exchange Act of 1934 Auditors attest to and report on management’s assessment 30/12/61

15 SOX Sections 302 Focus on Management Responsibilities
CEOs and CFOs personally certify their responsibility for controls and procedures disclosure Quarterly filing of control design and effectiveness evaluation Certifying executives state they disclose all significant control deficiencies, material weaknesses and acts of fraud to Audit Committee and Independent Auditor Expanded certification requirement of controls and procedures for financial reporting may be included in SEC final rules 30/12/61

16 SOX 404 / 302 and Audits Integrated Audit Management Auditor
Financial Statements Auditor’s Report Financial Statement Audit Integrated Audit Disclosure controls assessment 404 Management’s report on internal control over financial reporting Auditor’s Report Internal Control Audit included in annual report 302 Certification 30/12/61

17 SOX - Audit Committee Role of Audit Committee
Serve as independent check and balance system Selected from board of directors Usually three members Outsiders (SOX now requires it) Fiduciary responsibility to shareholders Interact with internal auditors Hire, set fees, and interact with external auditors Resolved conflicts of GAAP between external auditors and management 30/12/61

18 การตรวจสอบในภาครัฐ 30/12/61

19 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ประวัติการตรวจเงินแผ่นดินไทย รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตราพระราชบัญญัติสำหรับกรมพระคลังมหาสมบัติใน พ.ศ. 2418 พ.ร.บ. ว่าด้วยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2476 พ.ร.บ. การตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2522 พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ ออกตามความใน ม.312 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กำหนดให้การตรวจเงินแผ่นดิน กระทำโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินที่เป็นอิสระและเป็นกลาง และจัดให้มีสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 30/12/61

20 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
องค์กรตรวจสอบที่อิสระและเป็นกลาง มีหน้าที่ตรวจสอบการรับจ่ายเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ มีอำนาจตรวจสอบ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความประหยัด ของการใช้จ่ายเงินงบประมาณ และตรวจสอบการจัดเก็บภาษีอากร บทบาทครอบคลุม ด้านการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และการตรวจสอบการดำเนินงาน เสนอรายงานผลการปฏิบัติงาน ต่อสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี มีคณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลังพิจารณาลงโทษผู้ฝ่าฝืนมาตรการการควบคุมการเงินของรัฐ 30/12/61

21 การตรวจสอบภายในในภาครัฐ
เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ กระทรวงการคลังกำหนดให้ผู้ตรวจสอบภายในเป็นเครื่องมือของผู้บริหารในการปรับปรุง ควบคุม และติดตามผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ โดยระบุให้ส่วนราชการแต่งตั้งข้าราชการในหน่วยงานเป็นผู้ทำหน้าที่ตรวจสอบภายใน ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ. 2505 ระเบียบการรับ-จ่าย การเก็บรักษาและการนำส่งเงินของส่วนราชการ พ.ศ. 2516 ระเบียบการรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ พ.ศ. 2520 30/12/61

22 การตรวจสอบภายในในภาครัฐ
ในปี พ.ศ รัฐบาลให้ความสำคัญการตรวจสอบภายในมากขึ้น ในฐานะเครื่องมือหนึ่งของผู้บริหารส่วนราชการที่จะสอบทาน ทบทวน และประเมินผลทางด้านการเงิน การบัญชี ว่าเป็นไปตามนโยบายการบริหาร แผนงาน และระเบียบวิธีปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง ครบถ้วน มีประสิทธิภาพ มติ ครม. 17 สิงหาคม 2519 ให้กระทรวง ทบวง กรม และเทียบเท่า รวมถึงจังหวัดทุกจังหวัด มีตำแหน่งอัตรากำลังผู้ตรวจสอบภายในโดยเฉพาะขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางเป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุม โดยกำหนดขอบเขต หน้าที่ความรับผิดชอบ และหลักปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 30/12/61

23 พัฒนาการของการกำกับดูแล ตลาดทุนในประเทศไทย
30/12/61

24 พัฒนาการการกำกับดูแลตลาดทุน
พัฒนาการตลาดทุนและการกำกับดูแลในประเทศไทย ตลาดหุ้นกรุงเทพ พ.ศ พ.ร.บ. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517 พ.ศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เปิดทำการซื้อขาย พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 จัดตั้ง สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป็นองค์กรอิสระทำหน้าที่กำกับดูแลและพัฒนาตลาดทุนโดยมี คณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นผู้กำหนดนโยบายการดำเนินงาน พ.ร.บ. สัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 30/12/61

25 โครงสร้างการกำกับดูแลตลาดทุน
30/12/61

26 โครงสร้างการกำกับดูแลตลาดทุน
พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ แยกหน้าที่การกำกับดูแลระหว่างตลาดแรกและตลาดรอง เพื่อส่งเสริมตลาดทุนให้เติบโตและพัฒนาไปในทิศทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการระดมทุนและการลงทุน ตลาดแรก กำกับและดูแลโดย คณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) มีหน้าที่กำหนด หลักเกณฑ์ ตรวจสอบ และอนุมัติการออกหลักทรัพย์ใหม่ เสนอขายต่อประชาชน ตลาดรอง กำกับและดูแลโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) มีหน้าที่พิจารณาอนุมัติคำขอให้หลักทรัพย์สามารถทำการซื้อขายในตลาดรองหลังจากการเสนอขายหุ้นต่อประชาชนแล้ว 30/12/61

27 การดำรงสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียน
ในปี พ.ศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยออกข้อกำหนดเรื่อง การดำรงสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และการรับหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน บริษัทจดทะเบียนต้องจัดให้มีระบบกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยต้องมี กรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบ มี องค์ประกอบ คุณสมบัติและขอบเขตการดำเนินงานตามที่ ทางการกำหนด 3 เดือน ขึ้น NP / 6 เดือน ขึ้น SP / 1 ปี เพิกถอน บริษัทจดทะเบียนต้องจัดให้มี ระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. 30/12/61

28 การดำรงสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียน
แนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบ ในด้านหน้าที่และความรับผิดชอบต่อผู้ตรวจสอบภายใน ควรจัดให้มี หน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อทำหน้าที่ วิเคราะห์ ประเมิน ให้คำปรึกษา ให้ข้อเสนอแนะและข้อมูล เพื่อเป็นการสนับสนุนแก่ผู้ปฏิบัติงาน กรณีที่ไม่ได้จัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายใน ควรมี ระบบการตรวจสอบภายในอื่น (Outsource) ทดแทน ควรดำรงรักษาให้ระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน เหมาะสมและมีประสิทธิผล ต่อเนื่องตลอดระยะเวลาของการเป็นบริษัทจดทะเบียน 30/12/61

29 การยกระดับบรรษัทภิบาล ในตลาดทุน
30/12/61

30 การยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน
รัฐบาลได้จัดตั้ง คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ ในปี 2545 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมบรรษัทภิบาลอย่างเป็นรูปธรรม กฎหมายและข้อกำหนดต่าง ๆ ของไทย เช่น มาตรฐานการบัญชี ข้อกำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล ส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานสากลอยู่แล้ว ผลักดันให้เกิดบรรษัทภิบาลที่ดีอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืนโดยเน้นทั้งด้านการพัฒนากฎหมายและการดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิด การออกมาตรการจูงใจและผลักดันให้บริษัทมีบรรษัทภิบาลที่ดี ควบคู่กับการให้ความรู้แก่กรรมการ ผู้ลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้อง 30/12/61

31 การยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน
การดำเนินการที่สำคัญเพื่อยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน ในด้าน ความตั้งใจจากภาคเอกชน (Self Disciplines) ตลาดหลักทรัพย์ฯ ออก ข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน แนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบ และ หลักการของการกำกับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อ ให้บริษัทจดทะเบียนใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ ให้เปิดเผยการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการ รวมทั้งเหตุผลที่ไม่สามารถปฏิบัติตามได้ใน แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) และ รายงานประจำปี 30/12/61

32 การเปิดเผยข้อมูลตามแบบ 56-1
การเปิดเผยข้อมูลตามแบบ 56-1 ของบริษัทจดทะเบียน สรุปข้อมูลบริษัท ปัจจัยความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ การประกอบธุรกิจของแต่ละ สายผลิตภัณฑ์ ทรัพย์สิน โครงการในอนาคต ข้อพิพาททางกฎหมาย ทุนและผู้ถือหุ้น การจัดการ การกำกับดูแลกิจการ รายการระหว่างกัน สรุปงบการเงิน การวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รับรองความถูกต้องของ ข้อมูล 30/12/61

33 การเปิดเผยข้อมูลตามแบบ 56-1
การเปิดเผยข้อมูลตามแบบ 56-1 ครอบคลุมเรื่องต่อไปนี้ เพื่อให้ผู้ลงทุนทราบ สถานะปัจจุบัน เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการของบริษัท โครงสร้างการจัดการ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อ การประเมินการควบคุมภายใน 30/12/61

34 หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อ
จัดทำและเผยแพร่โดย ตลท. เพื่อนำเสนอหลักการที่คาดหวังให้บริษัทปฏิบัติตามอย่างเป็นรูปธรรม ในการมีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และเปิดเผยในแบบ 56-1 และรายงานประจำปี 1. นโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ 2. ผู้ถือหุ้น : สิทธิและความเท่าเทียมกัน 3. สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ 4. การประชุมผู้ถือหุ้น 5. ภาวะผู้นำและวิสัยทัศน์ 6. ความขัดแย้งของผลประโยชน์ 7. จริยธรรมธุรกิจ 30/12/61

35 หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อ
จัดทำและเผยแพร่โดย ตลท. เพื่อนำเสนอหลักการที่คาดหวังให้บริษัทปฏิบัติตามอย่างเป็นรูปธรรม ในการมีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และเปิดเผยในแบบ 56-1 และรายงานประจำปี 8. การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 9. การรวมหรือแยกตำแหน่ง 10. ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร 11. การประชุมคณะกรรมการ 12. คณะอนุกรรมการ 13. ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน 14. รายงานของคณะกรรมการ 15. ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน 30/12/61

36 การยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน
การดำเนินการที่สำคัญเพื่อยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน ในด้าน การกระตุ้นให้เกิดแรงผลักดันจากสังคม (Market Disciplines) การจัดอันดับบรรษัทภิบาล (Corporate Governance Rating) ของบริษัทจดทะเบียน รางวัล Disclosure Award แก่บริษัทที่เปิดเผยข้อมูลดี รางวัล Board of the Year Award ประกาศเกียรติคุณคณะกรรมการบริษัทจดทะเบียนที่ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 30/12/61

37 การยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน
การดำเนินการที่สำคัญเพื่อยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน ในด้าน การออกข้อบังคับของทางการ (Regulatory Disciplines) ตลท. กำหนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องมีกรรมการตรวจสอบที่เป็นอิสระ อย่างน้อย 3 คน ทำหน้าที่สอบทานด้าน รายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการทำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน แก้ไข กฎหมายบริษัทมหาชนและกฎหมายหลักทรัพย์ เพื่อเพิ่มความรับผิดชอบของกรรมการและฝ่ายจัดการ มาตรฐานการบัญชี และการกำกับดูแลคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สอบบัญชี 30/12/61

38 พ.ร.บ. หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ฉบับใหม่
30/12/61

39 พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ในปี พ.ศ รัฐบาลได้แก้ไข พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ เพื่อยกระดับสู่มาตรฐานสากล 1. เพิ่มความคุ้มครองผู้ลงทุน เช่น ให้สิทธิผู้ถือหุ้นรายย่อย เสนอวาระการประชุม ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการเปิดเผย ข้อมูลเท็จ และ กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของ กรรมการและผู้บริหาร ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ปรับปรุงโครงสร้าง ก.ล.ต. ให้เป็นอิสระ โดยประธานคณะกรรมการ ก.ล.ต. จะไม่ใช่ รมว. คลัง และมีการ จัดตั้ง คณะกรรมการกำกับตลาดทุน ขึ้นทำหน้าที่ออกกฎเกณฑ์ในการทำธุรกิจของภาคเอกชน เพื่อให้ ก.ล.ต. เน้นกำกับและพัฒนาตลาดทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 30/12/61

40 พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
แก้ไข พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กำหนดให้ กรรมการ ผู้บริหาร ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ข้อบังคับของบริษัท มติกรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพิ่ม ความรับผิดชอบของกรรมการและฝ่ายจัดการ ที่ไม่รักษาหน้าที่ ให้เปรียบเทียบปรับได้ และเพิ่มโทษกรณีฝ่าฝืนโดยทุจริต ไม่ให้ใช้มติผู้ถือหุ้นแก้ตัว กรณีฝ่าฝืนโดยทุจริต 30/12/61

41 พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
แก้ไข พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ให้ความ คุ้มครองผู้ให้เบาะแสแก่ทางการ ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ลูกจ้าง หรือ ที่ปรึกษาและผู้สอบบัญชีที่รับจ้างทำงานให้บริษัท ห้าม กลั่นแกล้งผู้ที่ให้ข้อมูล ให้ถ้อยคำแก่ทางการ เพื่อตรวจสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น เปลี่ยนแปลงตำแหน่งงาน สั่งพักงาน ข่มขู่ หรือ เลิกจ้าง กำหนด โทษปรับ-จำคุก กรรมการและผู้รับผิดชอบการดำเนินงานของบริษัท เว้นแต่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง มาตรการเชิงบริหาร ถอนชื่อจาก ระบบทะเบียนกรรมการ 30/12/61

42 พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
แก้ไข พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ผู้สอบบัญชีมีหน้าที่ แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการกระทำความผิดต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษัท กรณีพบพฤติการณ์การบริหารงานอันเป็นการฉ้อฉล (Corporate fraud) ให้คณะกรรมการตรวจสอบดำเนินการ ตรวจสอบและรายงานผลต่อ ก.ล.ต. ภายใน 30 วัน หากไม่แจ้ง ผู้สอบบัญชีต้องแจ้งให้ ก.ล.ต. ทราบ จัดให้มี เลขานุการบริษัท จัดทำและเก็บรักษาเอกสาร รวมทั้งรายงานการมีส่วนได้เสีย ที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร ไว้อย่างน้อย 5 ปี 30/12/61

43 กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ กรรมการตรวจสอบ
30/12/61

44 เกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่
ปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อกำหนดเดิม และเพิ่มความชัดเจนในทางปฏิบัติ กฎเกณฑ์ของ ก.ล.ต. กำหนดจำนวนและคุณสมบัติ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ข้อบังคับของ ตลท. กำหนดหน้าที่คณะกรรมการตรวจสอบ 30/12/61

45 เกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่
กฎเกณฑ์ของ ก.ล.ต. เกี่ยวกับ จำนวนและคุณสมบัติกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ และต้องไม่ต่ำกว่า 3 คน กรรมการตรวจสอบ มากกว่าหรือเท่ากับ 3 คน และทุกคนต้องเป็นกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ห้ามถือหุ้นเกิน 1% ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด และ ไม่มีส่วนร่วมบริหารงาน ในบริษัทหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ให้บริการ หรือมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ) ในปัจจุบันและ 2 ปีก่อนหน้า 30/12/61

46 เกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่
กฎเกณฑ์ของ ก.ล.ต. เกี่ยวกับ คุณสมบัติเฉพาะของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ต้องมี ความรู้และประสบการณ์ เพียงพอที่จะทำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน ให้เปิดเผยว่ากรรมการตรวจสอบรายใดมีคุณสมบัติดังกล่าวไว้ในแบบ 56-1 และรายงานประจำปี แจ้งรับรองประวัติดังกล่าวต่อ ตลท. 30/12/61

47 เกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่
ข้อบังคับของ ตลท. กำหนดหน้าที่คณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานรายงานการเงินให้ถูกต้องเพียงพอ 2. สอบทานระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิผล พิจารณาความเป็นอิสระของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน เห็นชอบการแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าตรวจสอบภายใน 3. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 30/12/61

48 เกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่
ข้อบังคับของ ตลท. กำหนดหน้าที่คณะกรรมการตรวจสอบ 4. คัดเลือกและแต่งตั้งผู้สอบบัญชี พิจารณาความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี ประชุมกับผู้สอบบัญชีมากกว่า 1ครั้ง ต่อปี โดยไม่มีผู้บริหารร่วมด้วย 5. สอบทานรายการเกี่ยวโยงหรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 7. อื่น ๆ ที่คณะกรรมการมอบหมาย 30/12/61

49 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
ให้เปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีและลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดขั้นต่ำ ความถูกต้อง เชื่อถือได้ของรายงานการเงิน ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน การปฏิบัติตามกฎหมาย ความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ความเห็นหรือข้อสังเกตที่ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ รายการอื่นใดที่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ 30/12/61

50 หน้าที่เพิ่มเติมของบริษัทจดทะเบียน
กรณีมีกรรมการตรวจสอบพ้นตำแหน่งก่อนครบวาระ ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญ บริษัทจดทะเบียนมีหน้าที่รายงานและแจ้งสาเหตุต่อ ก.ล.ต. ทันที กรรมการตรวจสอบที่พ้นตำแหน่ง อาจชี้แจงสาเหตุเพิ่มเติมต่อ ก.ล.ต. และ ตลท. ก็ได้ 30/12/61

51 งานตรวจสอบในภาคธนาคาร และสถาบันการเงิน
30/12/61

52 การกำกับดูแลบริษัทหลักทรัพย์
การกำกับดูแลบริษัทหลักทรัพย์ พิจารณาความรัดกุมของโครงสร้าง ระบบและวิธีการปฏิบัติงานในภาพรวม ปัจจัยชี้วัด วัฒนธรรมการกำกับดูแลการปฏิบัติงานที่ดี มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน แก้ไขตามคำแนะนำของ ก.ล.ต. หรือหน่วยงาน compliance โครงสร้างงานลักษณะเช็คสอบและคานอำนาจกัน ความเป็นอิสระของหน่วยงาน compliance คุณสมบัติและจำนวนของบุคลากร compliance แผนการตรวจสอบดำเนินการอย่างมีระบบและครอบคลุม 30/12/61

53 การกำกับดูแลธนาคารพาณิชย์
กฎเกณฑ์ข้อบังคับเพิ่มเติมของธนาคารแห่งประเทศไทยในส่วนที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี การแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงต้องได้รับความเห็นชอบจาก ธปท. บังคับให้ธนาคารพาณิชย์ต้องมี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การดูแลคุณภาพสินทรัพย์และรักษาเงินกองทุนให้เพียงพอกับสินทรัพย์เสี่ยง การกำกับตรวจสอบโดย ธปท. รายงานพิเศษโดยผู้สอบบัญชี 30/12/61

54 การกำกับดูแลธนาคารพาณิชย์
ข้อกำหนด แนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของสถาบันการเงิน ของธนาคารแห่งประเทศไทย (3 สิงหาคม 2551) การตรวจสอบภายใน เป็นส่วนสำคัญของกระบวนการกำกับดูแลกิจการที่ดี ผู้ตรวจสอบภายใน มีบทบาทสำคัญในการประเมินประสิทธิผลและยกระดับมาตรฐานระบบการควบคุมภายใน และจำเป็นต่อความมั่นคงของระบบการเงิน สถาบันการเงินควรจัดให้มี หน่วยงานตรวจสอบภายใน ที่เหมาะสมกับขนาด ลักษณะ และขอบเขตของกิจกรรม เพื่อทำหน้าที่สอบทานและทดสอบระบบการควบคุมภายในและระบบการบริหารความเสี่ยง 30/12/61

55 การกำกับดูแลธนาคารพาณิชย์
ข้อกำหนด แนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของสถาบันการเงิน ของธนาคารแห่งประเทศไทย (3 สิงหาคม 2551) 1. โครงสร้างการตรวจสอบภายใน ความเป็นอิสระ ความรอบรู้ในวิชาชีพ ความสัมพันธ์และการติดต่อสื่อสาร การกำกับดูแลการตรวจสอบภายใน และการ Outsource งานตรวจสอบภายใน 2. หน้าที่และความรับผิดชอบหลัก ของผู้ตรวจสอบภายใน 3. ขอบเขตของงานตรวจสอบ การประเมินระบบการควบคุมภายใน และการประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลของฝ่ายบริหาร 4. การรายงานและการจัดทำเอกสาร การจัดทำ เก็บรักษากระดาษทำการและรายงานผลการตรวจสอบ 30/12/61

56 การกำกับดูแลบริษัทประกันภัย
ประกาศกรมการประกันภัย เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทประกันภัย (16 สิงหาคม 2549) เพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัทประกันภัยในเรื่อง การตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน การกำกับการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะ บริษัทประกันภัยควรจัดให้มีการตรวจสอบภายใน เพื่อให้มีการประเมินผลการดำเนินงานของบริษัทอย่างอิสระ ช่วยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรให้ทำงานในหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร 30/12/61

57 การกำกับดูแลบริษัทประกันภัย
แนวทางปฏิบัติในเรื่องการตรวจสอบภายในของบริษัทประกันภัย (16 สิงหาคม 2549) สถานภาพในองค์กรและโครงสร้างของหน่วยงาน ความมีใจเป็นอิสระและจรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบ คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายใน การจัดทำคู่มือการตรวจสอบภายใน การวางแผนการตรวจสอบ กระบวนการตรวจสอบ บทบาทอื่นของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ผู้ตรวจสอบภายในจากภายนอกกิจการ (Outsource) 30/12/61

58 สรุป 30/12/61

59 ประสิทธิภาพของการตรวจสอบ
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการตรวจสอบภายใน อำนาจหน้าที่และขอบเขตของงานตรวจสอบภายใน ระดับประสบการณ์ ความสามารถของผู้ตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ การวางแผนงานตรวจสอบระยะยาวและแผนประจำปี ขอบเขต เทคนิค วิธีการตรวจสอบ และการประเมินผล ความเป็นอิสระในการเสนอรายงานของฝ่ายตรวจสอบ ความร่วมมือ และการประสานงานระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี การประเมินและปรับปรุงคุณภาพงานตรวจสอบ 30/12/61

60 สรุปหัวข้อบรรยาย พัฒนาการของการกำกับดูแลในต่างประเทศ
Sarbanes-Oxley Act 2002 การตรวจสอบในภาครัฐ พัฒนาการของการกำกับดูแลตลาดทุนในประเทศไทย การยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับใหม่ กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการตรวจสอบ งานตรวจสอบในภาคธนาคารและสถาบันการเงิน 30/12/61

61 Q&A PAIRAT SRIVILAIRIT SVP Head of Internal Audit
TISCO Bank Public Company Limited Mobile : Office : 30/12/61


ดาวน์โหลด ppt บทบาทขององค์กรกำกับดูแล ต่อวิชาชีพตรวจสอบภายใน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google