มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
จำนวนประชากรวัยเด็ก วัยทำงาน วัยสูงอายุ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
MK201 Principles of Marketing
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ภาพรวมการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ ระดับโลก ระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับโรงเรียน และตัวอย่างปฏิบัติการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559 03751111 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559

สัปดาห์ที่ 6 : ประชากร แนวความคิดและทฤษฎีประชากร - ประชากร หมายถึง จำนวนคนทั้งหมด ในพื้นที่แห่งหนึ่ง ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง - ประชากรศาสตร์ (demography) เป็นการศึกษาถึงขนาด การกระจายและองค์ประกอบของประชากร - การเปลี่ยนแปลงประชากร มีผลกระทบต่อ บุคลิกภาพ โครงสร้างสังคมและวัฒนธรรม

แหล่งข้อมูลของประชากร - ได้มาจากการสำมะโน (census) ทำทุก 10 ปี โดยกระทรวงมหาดไทย องค์ประกอบของประชากร - หมายถึง ลักษณะทางสังคมและชีวภาพของประชากร เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ที่อยู่อาศัย สถานภาพสมรส ขนาดครัวเรือน อาชีพและรายได้

องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงประชากร - ภาวะเจริญพันธุ์ (fertility) สตรีช่วง 15-49 ปี - อัตราเกิด อัตราตาย อายุขัย - การย้ายถิ่น (migration)

Pattern of population change

สาเหตุของการย้ายถิ่น - ปัจจัยผลัก (push factors) ด้านเศรษฐกิจ เช่น การว่างงาน ค่าครองชีพ ด้านสังคมวิทยา เช่น คุณภาพชีวิต ปัญหาอาชญากรรม ความหนาแน่นของประชากร ด้านคุณภาพของบริการสังคม เช่น การศึกษา - ปัจจัยดึง (pull factors) เช่น มีที่อยู่อาศัยที่ดีขึ้น ความสะดวกในด้านการศึกษาหาความรู้ สภาพภูมิอากาศดี

การเพิ่มและลดของประชากร (population growth) คำนวณได้จาก (B-D)+(I-O) B-D = การเพิ่มของประชากรตามธรรมชาติ = จำนวนคนเกิด-จำนวนคนตาย I-O = การย้ายถิ่นสุทธิ = คนย้ายเข้า-คนย้ายออก

ประวัติศาสตร์และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร 6,000 ปีก่อนคริสตกาล ประชากรโลกมี <50 ล้าน ปี 1750 มี 1 พันล้านคน ปี 1930 มี 2 พันล้านคน ปี 1974 มี 4 พันล้านคน ปี 1987 มี 5 พันล้านคน ปี 2017 ประมาณ 7.4 พันล้าน คาดว่าปี 2025 มีประมาณ 8 พันล้าน ?

ประวัติศาสตร์และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร Thomas Malthus (1766-1834) กล่าวว่า ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มแบบเลขคณิต (1 2 3 4 5) ประชากรเพิ่มแบบเรขาคณิต (1 2 4 8 16 32) สาเหตุเกิดจาก ไม่ใช้เทคโนโลยีช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และไม่คุมกำเนิด

ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร สัมพันธ์กับเทคโนโลยี มี 3 ขั้น สังคมเกษตรก่อนยุคอุตสาหกรรม ประชากรเพิ่มช้า เพราะอัตราการเกิดสูง ต้องการแรงงานภาคเกษตรกรรม อัตราการตายก็สูง มาตรฐานการดำรงชีพต่ำ การแพทย์ไม่ก้าวหน้า เริ่มสังคมอุตสาหกรรม อัตราการเกิดสูง ผลิตอาหารได้ดี ควบคุมโรคได้ดี เกิดแนวคิดของ Malthus สังคมอุตสาหกรรมเต็มที่ อัตราการเกิดต่ำ คุมกำเนิดแพร่หลาย สตรีออกทำงานนอกบ้าน มีบุตรน้อย อัตราการตายต่ำ การแพทย์ก้าวหน้า

วีดิทัศน์ 9 Spirit of Asia : การอพยพครั้งสุดท้าย youtu.be/2IbxwZWwcYk

การเคลื่อนย้ายอพยพทำให้เกิดการไหลบ่าทางวัฒนธรรมจากถิ่นหนึ่งสู่อีกถิ่นหนึ่ง นั่นทำให้มนุษย์เรียนรู้ที่จะปรับตัวจากสิ่งที่มีอยู่ให้เข้ากับสิ่งที่มาใหม่ ราชาสถาน ตั้งอยู่บนเส้นทางการศึกและการค้าโบราณ ที่มีรอยเท้าของผู้คนมากมายเดินทางมาแสวงหา ครอบครอง และอยู่อาศัยทำกิน กลุ่มชนเผ่าต่างๆ มีส่วนในการสร้างเรื่องราวในประวัติศาสตร์ร่วมกัน และผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่าเท่านั้นที่จะเป็นผู้กุมชะตากรรมของเมือง ประชากรที่เพิ่มมากขึ้นต่างเข้ามาจับจองพื้นที่ แย่งชิงทรัพยากร และทำลายแหล่งธรรมชาติ จนในที่สุด ทำให้เรามีทางเลือกน้อยลง นี่อาจเป็นการอพยพครั้งสุดท้ายของทุกชีวิตที่ไม่สามารถเลือกจะอยู่หรือไปได้ เหมือนก่อน เพราะผืนทะเลทรายแห่งนี้ คือ บ้านหลังสุดท้ายที่ต้องรักษาไว้

แนวทางในการพัฒนาคุณภาพประชากร - ให้การศึกษาทุกรูปแบบ - ให้บริการด้านสาธารณสุข อาหารและโภชนาการ - ควบคุมอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากร - การสร้างงานและจัดสรรให้ประชากรมีงานทำ - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น การอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริมประชาธิปไตย การส่งเสริมการรวมกลุ่มทางสังคมและศาสนา

นโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรไทย - การพัฒนาอุตสาหกรรมและการจ้างงาน กระจายรายได้ การลงทุนสู่ส่วนภูมิภาค - เน้นการศึกษาภาคบังคับและฝึกอบรมการประกอบอาชีพ วางแผนการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร - นโยบายด้านการเงินและการคลัง - นโยบายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การสร้างเมืองใหม่ ลดความแออัดของกรุงเทพฯ

ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 12

ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index) วัดความสำเร็จโดยเฉลี่ยของแต่ละประเทศ 3 ด้านหลักคือ อายุขัย ความรู้ คุณภาพชีวิต HDI > 0.80 ถือว่า พัฒนาสูงมาก 0.70-0.79 พัฒนาสูง 0.55-0.69 พัฒนาปานกลาง < 0.55 พัฒนาต่ำ

ตัวอย่าง HDI 10 อันดับแรกคือ Norway(0.944), Australia, Switzerland, Denmark, Netherlands, Germany, Ireland, US, Canada, New zealand 11. Singapore 12. Hong Kong 17.Korea 20. Japan 31. Brunei Darussalam 62. Malaysia 93. Thailand (0.726) สนใจ ดูเพิ่มเติมที่ http://hdr.undp.org/en/composite/HDI

วีดิทัศน์ 10 Spirit of Asia : แดนเนรมิตรบนคาบสมุทรอาหรับ youtu.be/5mXR42UTSnA เมื่อผืนทะเลทรายที่แห้งแล้งได้ถูกเนรมิตให้กลายเป็นเมืองที่ไม่มีใครคาดคิดว่าจะเกิดขึ้นได้ในเวลาไม่กี่ปี ดูไบ เมืองที่เติบโตอย่างไม่มีขีดจำกัด จะหลงเหลือร่องรอยอันเป็นจุดกำเนิดของการค้าโบราณให้เราได้ย้อนรอยมากน้อยแค่ไหน การเดินทางครั้งนี้ กลิ่นกำยาน รสร้อนแรงของเครื่องเทศ เย้ายวนให้เราหลงเสน่ห์อาหรับ การเนรมิตเมืองได้ในพริบตา ทั้งตึกสูงทุบสถิติโลก แผ่นดินงอกด้วยฝีมือมนุษย์ที่ดัดแต่งเป็นรูปทรงต้นปาล์ม และโชติช่วงไปด้วยบ่อน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ล้วนเป็นภาพความตื่นตาที่อยากไปเห็นดูไบ 1 ใน 7 ของรัฐ ที่รวมตัวเป็นชาติเดียวกันในนาม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์