พื้นที่ผิวของพีระมิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ทรงกระบอก.
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การออกแบบและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
โมเมนต์ของแรง คำถาม  ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุหมุน
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
การบริหารโครงการ Project Management
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
ความดัน (Pressure).
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
รูปหลายเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันมีลักษณะอย่างไรข้อใด มีความยาวของเส้นรอบรูป และมีพื้นที่เท่ากัน มีรูปร่างเหมือนกัน.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พื้นที่ผิวของพีระมิด โรงเรียนแม่จันวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 23101 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยอาจารย์ณฐมน ทาแก้ว

กิจกรรมการหาส่วนสูงเอียง ให้นักเรียนพิจารณาพีระมิดฐานสามเหลี่ยมด้านเท่าดังรูป แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ กำหนดให้ , และ เป็นสันของพีระมิด OAB , OBC และ OAC เป็นหน้าของพีระมิด ซึ่งมี , และ เป็นส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมแต่ละรูปตามลำดับ 1. OA = OB = OC หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ เท่ากัน เพราะOAB , OBC และ OAC เป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่วตามนิยามของพีระมิด

2. AB = BC = CA หรือไม่ เพราะเหตุใด 3. OAB , OBC และ OAC เท่ากันทุกประการหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ เท่ากันทุกประการ เพราะ OA = OB = OC และ AB = BC = CA ตามลำดับ 4. หน้าทุกหน้าของพีระมิดมีพื้นที่เท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ หน้าทุกหน้าของพีระมิดมีพื้นที่เท่ากัน เพราะ OAB , OBC และ OAC เท่ากันทุกประการ 5. OX = OY = OZ หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ เท่ากัน เพราะ OAB , OBC และ OAC เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วและเท่ากันทุกประการดังนั้น OX = OY = OZ

6. ส่วนสูงเอียงของพีระมิดที่มีฐานเป็นรูปสามเหลี่ยมตรงฐานสามเหลี่ยมด้านเท่า แต่ละด้านยาวเท่ากันหรือไม่ ตอบ เท่ากัน 7. นักเรียนคิดว่าพีระมิดที่มีฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า จะมีส่วนสูงเอียงทุกเส้นยาวเท่ากันหรือไม่ ตอบ เท่ากัน พีระมิดที่มีฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า จะมีส่วนสูงเอียงทุกเส้นยาวเท่ากัน

เท่ากันหรือไม่ ให้นักเรียนพิจารณาส่วนสูงเอียงของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้าดังรูป แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ กำหนดให้ ABCD มี ยาวกว่า , และ ตั้งฉากกับ และ ที่จุด X และจุด Y ตามลำดับ 1. OA = OB = OC หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ เท่ากัน เพราะเป็นความยาวของสันของพีระมิดสี่เหลี่ยมผืนผ้า

2. AX = BX และ BY = CY หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ เท่ากัน เพราะ OA = OB = OC แสดงว่า และ เป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่วนั่นคือส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดยอดมาตั้งฉากกับฐานจะแบ่งครึ่งมุมและแบ่งครึ่งฐานของสามเหลี่ยม 3. ยาวกว่าหรือสั้นกว่า เพราะเหตุใด ตอบ ยาวกว่า เพราะด้าน ยาวกว่า 4. ยาวกว่าหรือสั้นกว่า เพราะเหตุใด ตอบ สั้นกว่า เพราะ ยาวกว่า 5. นักเรียนคิดว่าส่วนสูงเอียงของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวเท่ากันทุกเส้นหรือมไม่ ตอบ ไม่เท่ากัน

รวมกิจกรรมตอบคำถามกับด.ช.กานต์ กานต์ต้องการทาสีหลังคาด้านนอกของศาลาพักผ่อน ถ้ากานต์จะประมาณพื้นที่ที่ต้องทาสี ทั้งหมด เขาจะต้องคำนวณหาสิ่งใดบ้าง จากรูปข้างต้น จะเห็นได้ว่าหลังคานี้มีลักษณะเป็นพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมมุมฉาก เมื่อพิจารณาส่วนของหลังคาที่ต้องทาสีจะเป็นส่วนที่แรเงาดังรูป

พื้นที่ของส่วนที่แรเงาทั้งหมด คือ พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด และถ้านำพื้นที่ของส่วนใต้ หลังคาซึ่งเป็นฐานของพีระมิด มารวมด้วยจะเรียกพื้นที่ ทั้งหมดว่า พื้นที่ผิวของพีระมิด พื้นที่ผิวของพีระมิดเท่ากับผลบวกของ พื้นที่ผิวข้างของพีระมิดกับพื้นที่ฐาน ของพีระมิด

พื้นที่ผิวเป็นเท่าใด จากรูปที่กำหนดให้จงพิจารณาแล้วตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พีระมิดที่ได้มีฐานเป็นรูปใด ตอบ พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2. พื้นที่ฐานของพีระมิดเท่ากับเท่าไร ตอบ 196 ตารางเซนติเมตร

3. นักเรียนสามารถคำนวณหาความสูงของรูปสามเหลี่ยมที่เป็นหน้าด้านข้างของพีระมิดได้หรือไม่ ถ้าได้ นักเรียนนำความรู้ในเรื่องใดมาใช้ในการคำนวณ และคำนวณได้เท่าใด ตอบ ได้โดยการนำความรู้เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัสและนิยามสามเหลี่ยมหน้าจั่ว คำนวณหาความสูงได้เท่ากับ 24 เซนติเมตร 4. ความสูงของรูปสามเหลี่ยมที่หาได้เป็นความยาวของส่วนใดของพีระมิด ตอบ สูงเอียง 5. นักเรียนหาพื้นที่ผิวข้างของพีระมิดนี้ได้เท่าไร ตอบ 672 ตารางเซนติเมตร 6. พีระมิดนี้มีพื้นที่ผิวเป็นเท่าใด ตอบ 672 + 196 = 868 ตารางเซนติเมตร

พื้นที่ผิวข้างหาได้อย่างไร ให้นักเรียนพิจารณาการหาพื้นที่ผิวข้างของพีระมิดที่มีฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า มีส่วนสูงเอียงยาวเท่ากันทุกเส้น เช่นรูป ก กำหนดเป็นพีระมิดฐานแปดเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า มีฐานยาวด้านละ a หน่วยและส่วนสูงเอียงยาว l หน่วย

จากพีระมิดที่กำหนดให้ จะเห็นว่าพื้นที่ผิวข้างของพีระมิดมี 2 ส่วน คือ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมทั้งหมดดังรูป ข เป็นพื้นที่ผิวข้าง และพื้นที่ของรูปแปดเหลี่ยมดังรูป ค เป็นพื้นที่ฐาน ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. รูปสามเหลี่ยมในรูป ข มีกี่รูป แต่ละรูปมีพื้นที่เท่าไร ตอบ รูปสามเหลี่ยมในรูป ข มี 8 รูป แต่ละรูปมีพื้นที่ ตารางหน่วย

2. พื้นที่ผิวข้างของพีระมิดรูป ก เป็นเท่าไร 2. พื้นที่ผิวข้างของพีระมิดรูป ก เป็นเท่าไร ตอบ = ตารางหน่วย 3. ถ้าให้ p แทนความยาวรอบรูปของฐานของพีระมิดรูป ก แล้วพีระมิดรูป ก จะมีพื้นที่ผิวข้างเป็นเท่าไร ตอบ ตารางหน่วย จากความยาวฐาน = = 8a = p โจทย์กำหนด 8 ด้าน2 พื้นที่ผิวข้างของพีระมิดที่มีฐานรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า เท่ากับ ความยาวรอบรูปของฐานสูงเอียง

ตัวอย่าง จงหาพื้นที่ผิวข้างของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ฐานมีด้านยาว 40 เซนติเมตร กว้าง 16 เซนติเมตร และพีระมิดสูง 15 เซนติเมตร วิธีทำ กำหนดให้ ABCD เป็นฐานของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า O เป็นจุดยอดของพีระมิด เป็นส่วนสูง เป็นส่วนสูงเอียงที่ตั้งฉากกับ และ เป็นส่วนสูงเอียงที่ตั้งฉากกับ ดังรูป จากรูป AB = 40 เซนติเมตร และ BC = 16 เซนติเมตร จะได้ XF = = 20 เซนติเมตร และ XE = = 8 เซนติเมตร

โดยทฤษฎีบทพีทาโกรัส จาก จะได้ โดยทฤษฎีบทพีทาโกรัส จาก จะได้ OE2 = OX2 + XE2 = 152 + 82 = 289 = 172 ดังนั้น OE = 17 จาก จะได้ OF2 = OX2 + XF2 = 152 + 202 = 625 = 252 ดังนั้น OF = 25

ทบทวนสิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับพีระมิด ส่วนต่าง ๆ ของพีระมิด การคำนวณหาความสูงของพีระมิด การคำนวณหาปริมาตรของพีระมิด การคำนวณหาพื้นที่ผิวของพีระมิด แบบฝึกหัดการหาพื้นที่ผิวของพีระมิด

กรวย(CONE) มาหาสูตรของกรวยกันเถอะ..... ส่วนต่าง ๆ ของกรวย ที่มาของกรวย การพิสูจน์สูตรการหาปริมาตรของกรวย การพิสูจน์สูตรการหาพื้นที่ของกรวย สรุปการหาปริมาตรเรขาคณิตสามมิติ

แหล่งอ้างอิง หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม ๑ หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม ๑ หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม เล่ม ๑ http://yteach.co.uk/index.php http://www.google.co.th/