การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
Advertisements

CAI CAI WBI WBI.
Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
การแปลงขนาดไฟล์รูปภาพ เทคนิคสำคัญ!!!
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
หน่วยการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์
กราฟิกสำหรับเว็บไซต์
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
Image Technology Department of Computer Education KMITNB.
Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ
ศักดิ์ของกฎหมาย Hierarchy of law.
Computer Coding & Number Systems
แบบทดสอบ Photoshop.
บทที่ 2 ประเภทของงานกราฟิกส์
Principle of Graphic Design
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
Pretest.
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
รหัสคอมพิวเตอร์.
Integrated Network Card
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
MULTIMEDIA REPRESENTATION IMAGE / VIDEO / AUDIO รศ. ดร. อรฉัตร จิตต์โสภักตร์ ECC-915.
การทำตัวอักษรขึ้นต้นด้วย ตัวใหญ่ นางสาว ลลิตา เจริญผล
วิชาโปรแกรมกราฟิก. หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก หน่วยที่ 2 ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ หน่วยที่ 3 การใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop.
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
บทที่ 4 : ตัวอักษร (Text) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
ความรู้พื้นฐานโปรแกรม Adobe Photoshop
บทที่ 6 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
GIMP : Graphics Design for Web
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
อาจารย์เนารุ่ง วิชาราช แนะนำวิชา จุดมุ่งหมาย
Digital กับการประยุกต์
บทที่ 5 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
บทที่ 5 สื่อสร้างสรรค์ 1.
Web Design.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
จิราพร ด่านเสถียร โรงเรียนบ้านแก่งชัชวลิตวิทยา
การออกแบบและพัฒนาเว็บ (WEB DESIGN AND DEVELOPMENT)
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ADOBE Dreamweaver CS3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
สร้างปกหนังสือด้วย Photo shop.
ขั้นตอนการร้องเรียน.
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
บทที่ 6 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
คำแนะนำจากส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา
ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
ภาพนิ่ง (Still Image).
เสียง.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage).
บทที่ 3 หน่วยความจำและสื่อบันทึกข้อมูล (Memory and storage)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด 10 คะแนน งานปฏิบัติ 20 คะแนน กลางภาค 20 คะแนน (สอบปรนัย) หลังกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด 10 คะแนน งานปฏิบัติ 20 คะแนน ปลายภาค 20 สอบปฏิบัติ 14 คะแนน สอบอัตนัย 6 คะแนน

มาถึงห้องเรียนสายได้ไม่เกิน 10 นาที เตรียมสมุกจดหนึ่งเล่ม เขียนชื่อ ชั้น เลขที่ เตรียมดินสอสีและดินสอดำอย่างน้อย 2 หรือ สามแท่ง พร้อมยางลบ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล ห้ามใช้อุปกรณ์สื่อสารในห้องเรียนยกเว้นกรณีใช้เพื่อการเรียนการสอน ติดต่อครูได้ที่ Hwpat57@gmail.com แหล่งความรู้ที่จะใช้ ในการเรียน Hwpatpat.wordpress.com

ภาพที่เราใช้แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ภาพแบบ บิตแมป( Bitmap ) หรือ ราสเตอร์( Raster ) คือภาพที่เกิดจากเม็ดสีรูปทรงจัตุรัสเล็ก ๆ ที่มีสีต่างกันมารวมกันจนเป็นภาพใหญ่ ข้อดี คือจะมีสีที่เป็นธรรมชาติ ไล่โทนสีได้สมจริง เช่น ภาพนามสกุล .JPEG, .TIFF,.GIF และ PNG ข้อเสีย คือเมื่อขยายมากๆ ภาพจะแตก ภาพแบบเวคเตอร์( Vector ) คือภาพที่เกิดจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์(ที่เรามองไม่เห็นด้วยตา) โดยใช้เส้นโค้ง, เส้นตรง ข้อดี คือไม่ว่าจะย่อหรือขยายกี่ครั้งภาพแบบนี้จะยังคมชัดเท่าเดิม ข้อเสีย คือ ไม่สามารถไล่โทนสีได้เหมือนจริง ต้องใช้เทคนิคในการตกแต่งภาพ ภาพ Vector เหล่านี้ได้แก่ - ภาพ .wmf (Clipart ที่เราไว้ตกแต่งใน Microsoft Office นั่นเอง) - ภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator และ Macromedia Freehand

ภาพที่เราใช้แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ภาพแบบ บิตแมป( Bitmap ) หรือ ราสเตอร์( Raster ) คือภาพที่เกิดจากเม็ดสีรูปทรงจัตุรัสเล็ก ๆ ที่มีสีต่างกันมารวมกันจนเป็นภาพใหญ่ ข้อดี คือจะมีสีที่เป็นธรรมชาติ ไล่โทนสีได้สมจริง เช่น ภาพนามสกุล .JPEG, .TIFF,.GIF และ PNG แต่ ข้อเสีย คือเมื่อขยายมากๆ ภาพจะแตก

ภาพแบบเวคเตอร์( Vector ) คือภาพที่เกิดจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์(ที่เรามองไม่เห็นด้วยตา) โดยใช้เส้นโค้ง, เส้นตรง ข้อดี คือไม่ว่าจะย่อหรือขยายกี่ครั้งภาพแบบนี้จะยังคมชัดเท่าเดิม ข้อเสีย คือ ไม่สามารถไล่โทนสีได้เหมือนจริง ต้องใช้เทคนิคในการตกแต่งภาพ ภาพ Vector เหล่านี้ได้แก่ - ภาพ .wmf (Clipart ที่เราไว้ตกแต่งใน Microsoft Office นั่นเอง) - ภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator และ Macromedia Freehand

-ภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator, Macromedia Freehand

ลักษณะของภาพที่ใช้นามสกุลต่างๆ .GIF มาจาก Graphics Interlace File เป็นภาพที่ไม่ต้องการความคมชัดมากนัก จำนวนสีและ ความละเอียดของภาพไม่สูงมากนัก ไฟล์ภาพจึงมีขนาดเล็ก สามารถนำมาใช้ได้เมื่อต้องการพื้น แบบโปร่งใส(Transparent) เหมาะกับงานด้าน website แบบภาพเคลื่อนไหว โลโก้ .JPEG มาจาก Joint Photographer’s Experts Group เป็นภาพที่ต้องการความคมชัดสูง มีสีมาก เหมาะสมกับการนำเสนอทั้งระบบสื่อมัลติมีเดีย และเว็บไซต์ สามารถกำหนดขนาดของไฟล์ได้ตามความเหมาะสม เป็น ไฟล์ ที่ใช้งานมากที่สุด ใช้ในงานตัดต่อและตกแต่งภาพได้ดี เพราะแสดงสีได้สูงถึง 16.7 ล้านสี .

ลักษณะของภาพที่ใช้นามสกุลต่างๆ .PNG มาจาก Portable Network Graphics เป็นภาพที่ต้องการความคมชัดสูง สามารถนำมาใช้ได้เมื่อต้องการพื้นแบบโปร่งใส (Transparent) เหมาะกับงานด้าน website มีคุณสมบัติของภาพแบบ .JPEGและ .GIF คือ สามารถบีบอัดขนาดของไฟล์ ให้เล็กลงได้มากกว่า .GIF ถึง 30%และยังแสดงสีได้เหมือนภาพแบบ .JPEG นอกจากนั้นยังสามารถแสดงภาพแบบพื้นแบบโปร่งใส (Transparent) โดยไม่มีปัญหาขอบหยักเหมือนไฟล์แบบ .GIF มีขนาดไฟล์เล็ก และควบคุมคุณภาพได้ตามที่ต้องการ มีการกำหนดให้พื้นภาพเป็นพื้นโปร่งใสได้ (Transparent) BMP. หรือภาพ Bitmap เป็นภาพที่ประกอบขึ้นด้วยจุดสีต่างๆ ที่มีจำนวนคงที่ตายตัวหากขยายภาพ Bitmap จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นตารางเล็กๆ ซึ่งแต่ละบิตคือ เนื่องจาก Bitmap มีค่า Pixel จำนวนคงที่จึงทำให้มีข้อจำกัดในเรื่องการขยายขนาดภาพ 

ขนาดไฟล์ภาพ (File Size)  บิต (Bit) คือหน่วยของไฟล์ภาพที่มีขนาดเล็กที่สุด 8 บิต = 1 ไบท์ (Byte), 1,024 Bytes = 1 กิโลไบท์ Kilobyte (KB), 1,024 KB = 1 เมกกะไบท์ Megabyte (MB) 1,024 MB = 1 กิกะไบท์ Gigabyte (TB) 1,024 MB = 1 เทราไบท์ Terabyte (TB) แต่ละ Pixels ใช้เนื้อที่สําหรับเก็บข้อมูล 24 Bits หรือ 3 Bytes)

PIXEL picture element หมายถึง จุดที่เล็กที่สุดที่รวมตัวกันเป็นภาพ ขนาดของภาพจะขึ้นอยู่กับ Resolution หรือความละเอียดของภาพ ที่ตั้ง ค่าหน้ากระดาษไว้ โดยปกติสำหรับงานพิมพ์จะตั้งไว้ที่ 300pixel/inch คือสามร้อยพิกเซลต่อหนึ่งตารางนิ้ว ซึ่งสามารถเปลี่ยนจากนิ้วเป็น เซนติเมตรได้เหมือนกันจะตกอยู่ที่ประมาณ แต่ขนาดปกติที่ใช้กันบนหน้าจอจะอยู่ที่ 72พิกเซลต่อหนึ่งตารางนิ้ว