แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ภูเก็ต นายวงศกร นุ่นชูคันธ์ นายทวี หอมหวล ว่าง นายเฉลิม รักมาก
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสทรงเจริญ พระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ปี
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
การติดตามผลการดำเนินงาน การบริหารกองทุน ปี
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2560
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2559 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสีมา Update 11 เมษายน 2559

1. วัตถุประสงค์ รณรงค์ (3 เดือน) เริ่ม 1 พ.ค.– 31 ก.ค. 59 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของวัคซีนทั้งหมด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด) ผู้สูงอายุ > 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี 2. วัคซีนสูญเสียไม่เกินร้อยละ 5 ของวัคซีนทั้งหมด รณรงค์ (3 เดือน) เริ่ม 1 พ.ค.– 31 ก.ค. 59

2. กลุ่มเป้าหมาย ปี 47 - 50 บุคลากรกลุ่มเสี่ยง : บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ , เจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม : ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย เบาหวาน ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด + ปี 51 - 52 + 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม 2. ผู้สูงอายุ > 65 ปี ปี 53 - 55 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม 2. ผู้สูงอายุ > 65 ปี 3. หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน 4. เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี + ปี 56 - 59 กรมควบคุมโรค จัดสรรวัคซีนบุคลากร สปสช. จัดสรรวัคซีนประชาชน

กลุ่มเป้าหมายปี 2559 400,000 โด๊ส บุคลากรกลุ่มเสี่ยง : บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ , เจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค อายุ > 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี 3.1 ล้านโด๊ส ปี 53 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 1,977,000 dose = 2,377,000 dose ปี 54 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 2,400,000 dose = 2,800,000 dose ปี 55 – บุคลากร 450,000 dose , ประชาชน 2,844,000 dose = 3,294,000 dose (แผนซื้อวัคซีนประชาชน 3.1 ล้าน dose , แต่ไม่ผ่านการทดสอบ 256,000 dose) ปี 56 – บุคลากร 500,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,500,000 dose ปี 56-58 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,400,000 dose บุคคลกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ตามที่คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกำหนด) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย , ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมถึงผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) บุคคลโรคอ้วน (น้ำหนักตัว > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 kg/ตารางเมตร ) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม : ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด

3. ข้อมูลวัคซีนสายพันธุ์ปี 2016 Vaccine Southern strain ประกอบด้วย 3 สายพันธุ์ : ชนิด A (H1N1) , ชนิด A (H3N2) , ชนิด B ปี Vaccine Southern strain ชนิด A (H1N1) ชนิด A (H3N2) ชนิด B 2551 Solomon Islands/3/2006 Brisbane/10/2007 Florida/4/2006 2552 Brisbane/59/2007 2553 Calilfornia/7/2009 Perth/16/2009 Brisbane/60/2008 2554 2555 2556 Victoria/361/2011 Wisconsin/1/2010 2557 Texas/50/2012 Massuchusetts/2/2012 2558 Switzerland/9715293/2013 Phuket/3073/2013 2559 A/Hong Kong/4801/2014

ผลิตจากเชื้อไวรัสชนิดเชื้อตาย (Inactivated vaccine) ประกอบด้วย Ag ที่คล้าย Ag ของไวรัส แพร่พันธุ์ในไข่ไก่ฟัก ** ห้ามใช้ในคนที่แพ้ไข่ โปรตีนจากไก่ วัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ วัคซีนที่ผลิตจาก 'ไวรัสเชื้อเป็น' กับ 'ไวรัสเชื้อตาย' 1. วัคซีนเชื้อตาย (Inactivated vaccine) ใช้วิธีการฉีดเหมือนวัคซีนทั่วไป ข้อดีคือ มีความปลอดภัยสูงเพราะเชื้อไวรัสตายแล้วไม่เพิ่มจำนวนให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย และใช้วิธีฉีดที่คุ้นเคย ข้อเสียคือ ต้องใช้ไข่ปลอดเชื้อจำนวนมาก วัคซีน 1 โด๊สอาจต้องใช้ไข่ไก่ 1 ฟอง ประกอบกับการผลิตทำได้ช้ากว่าวัคซีนเชื้อเป็น 2. วัคซีนเชื้อเป็น (Live attenuate vaccine) ต้องใช้วิธีพ่นผ่านจมูกเข้าไปตามระบบทางเดินหายใจของมนุษย์ เชื้อไวรัสเมื่อเจอกับอุณหภูมิร่างกายจะเจริญเติบโตได้ในระดับหนึ่ง แต่เชื้อไวรัสจะอ่อนฤทธิ์จนไม่สามารถทำให้ร่างกายเป็นโรค ทำได้เพียงกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเท่านั้น ข้อดีคือ ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้มากกว่าวัคซีนเชื้อตาย และผลิตได้ปริมาณมากกว่า 20-30 เท่าต่อไข่ 1 ฟอง แต่ทว่าประเทศที่มีเทคโนโลยีผลิตวัคซีนเชื้อเป็นมีแค่อเมริกากับรัสเซียเท่านั้น

ผลิตโดยบริษัท Abbott Biologicals , ประเทศเนเธอแลนด์ จัดสรรวัคซีนประชาชน Influvac 2016 – Single dose ผลิตโดยบริษัท Abbott Biologicals , ประเทศเนเธอแลนด์

Influenza vaccine – Multiple dose ผลิตโดยบริษัท Sanofi Pasteur , ประเทศฝรั่งเศส แบ่งบรรจุโดย GPO-MBP

ภูมิคุ้มกันเกิดขึ้น ภายใน 2 - 3 สัปดาห์หลังฉีด ภูมิคุ้มกัน อยู่ได้นาน 1 ปี >> ต้องฉีดทุกปี ไม่สามารถป้องกันโรคหวัดทั่วไป / โรคอื่นที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ อาการไม่พึงประสงค์ ปวดศรีษะ เหงื่อออก ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ไข้ รู้สึกไม่สบายตัว สั่น อ่อนแรง อาการเฉพาะที่ : ปวด บวม แดง ห้อเลือด ตุ่มนูนรอบบริเวณที่ฉีด ** หายได้เองภายใน 1 -2 วัน โดยไม่ต้องรับการรักษา

การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ Route of administration ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (IM) ปริมาณวัคซีน (cc) อายุ 6 เดือน – 3 ปี 0.25 cc / dose อายุ > 3 ปี 0.50 cc / dose จำนวนครั้งที่ให้วัคซีน อายุ 6 เดือน – 9 ปี ฉีด 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน อายุ > 9 ปี ฉีด 1 ครั้ง

4. ปริมาณจัดสรรวัคซีน (ประชาชน) ระดับประเทศ ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย = 11,683,044 คน จัดซื้อวัคซีน = 3,100,000 โด๊ส ( 26.53 %) ปี 58 ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย = 11,323,717 คน จัดซื้อวัคซีน = 3,000,000 โด๊ส ( 26.49 %)

ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย ระดับเขต 9   จังหวัด ประชาชน 4 กลุ่มเป้าหมาย ยอดจัดสรรวัคซีน (สสจ. ยืนยัน) ปรับเกลี่ยระดับเขต 7 โรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ > 65ปี เด็ก 6ด.-2ปี ญ.ตั้งครรภ์ >4ด. รวม นครราชสีมา 183,955 199,528 67,224 13,681 464,388 125,222 บุรีรัมย์ 98,678 115,577 39,367 9,283 262,905 67,759 สุรินทร์ 71,060 116,729 34,468 9,026 231,283 61,369 ชัยภูมิ 82,029 90,226 24,851 6,375 203,481 53,992 เขต 9 435,722 522,060 165,910 38,365 1,162,057 308,342 ยอดจัดสรรรายหน่วยบริการ

5. แผนการดำเนินงาน 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการควบคุมโรค หน่วยบริการควรทำแผนเร่งรัดการดำเนินงาน 2 ช่วง - ช่วงเร่งรัด 2 เดือนแรก ( 1 พ.ค. – 30 มิ.ย. 59) - ช่วงเก็บตก (1 – 31 ก.ค. 59) 2. องค์การเภสัชกรรมจัดส่งวัคซีน 3 รอบ - รอบ 1 Single dose ภายใน 25 เม.ย. 59 - รอบ 2 Multiple dose ภายใน 11 พ.ค. 59 - รอบ 3 Single dose ภายใน 13 มิ.ย. 59

6. งบประมาณสนับสนุน ค่าใช้จ่ายการจัดการ : หน่วยบริการประจำแห่งละ 15,000 บาท ค่าชดเชยบริการ : จ่ายเหมาตามจำนวนวัคซีนที่จัดสรรให้หน่วยบริการ ในอัตรา 20 บาทต่อโด๊ส โดยจ่ายทั้งหมดภายใน 30 เมษายน 2559 ** ปีงบ 2560 งบค่าใช้จ่ายการจัดการและค่าชดเชยบริการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่จะไม่แยกออกมาเป็นการเฉพาะดังที่ผ่านมา แต่จะเหมารวมอยู่ในงบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐานที่จัดสรรให้หน่วยบริการ

7. ผลการดำเนินงานปี 2558 ระดับประเทศ : % ผลงานเทียบประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (%Coverage) = 10.52 % (เป้าหมาย > 25%) % ผลงานเทียบกับปริมาณจัดสรรวัคซีน (%Achieve) = 39.71 % (เป้าหมาย > 90%) ปี 57 % Coverage (ผลงานเทียบประชาชนกลุ่มเป้าหมาย) = 24.13% (เป้าหมาย > 25%) % Achieve (ผลงานเทียบยอดจัดสรรวัคซีน) = 88.37% (เป้าหมาย > 90%) ที่มา : OP Individual 43 แฟ้ม (บันทึกข้อมูล 1 พ.ค. – 31 ต.ค. 58)

ระดับเขต 9 ที่มา : OP Individual 43 แฟ้ม (บันทึกข้อมูล 1 พ.ค. – 31 ต.ค. 58)

ทำอย่างไรให้บริการฉีดวัคซีน อย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่าที่สุด เน้นประชาชน 4 กลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการเป็นสำคัญ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด) ผู้สูงอายุ > 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี *

สรุปประเด็นแตกต่างจากปี 58 ปี 59 1. ตัวชี้วัด 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของวัคซีนทั้งหมด 2. วัคซีนสูญเสียไม่เกินร้อยละ 5 ของวัคซีนทั้งหมด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของวัคซีนทั้งหมด 2. ข้อมูลวัคซีน 1. สายพันธุ์วัคซีน Type A H1N1 Calilfornia/7/2009 Type A H3N2 Switzerland/9715293/2013 Type B Phuket/3073/2013 Type A H3N2 A/Hong Kong/4801/2014 Type B Brisbane/60/2008 2. บริษัทวัคซีน (ประชาชน) Single dose – Influvac 2015 ผลิตโดย Abbott Biologicals, เนเธอแลนด์ Single dose – Influvac 2016 Multiple dose – Influenza Vaccine ผลิตโดย Sanofi Pasteur , ฝรั่งเศส แบ่งบรรจุโดย GPO-MBP

ประเด็นแตกต่างจากปี 58 (ต่อ) ปี 59 3. งบประมาณ 1. ค่าบริการตามผลงาน (Workload) อัตราจ่าย 20 บาท/ราย ตามข้อมูลที่บันทึกใน OP Individual 43 แฟ้ม (ICD10 = 815) เหมาจ่าย 20 บาท/dose ตามจำนวนวัคซีนที่หน่วยบริการได้รับจัดสรร 2. ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ จัดสรรให้ CUP ละ 15,000 บาท