งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การติดตามผลการดำเนินงาน การบริหารกองทุน ปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การติดตามผลการดำเนินงาน การบริหารกองทุน ปี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การติดตามผลการดำเนินงาน การบริหารกองทุน ปี 2559-2560
การติดตามผลการดำเนินงาน การบริหารกองทุน ปี โรงพยาบาลสันกำแพง 3 สิงหาคม 2560

2 อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ทิวทัศน์ขึ้นชื่อ เลื่องลือคนงาม เขตคามโคนม ชื่นชมหัตถกรรม

3 แผนที่อำเภอสันกำแพง

4 ข้อมูลทั่วไป 10 ตำบล 100 หมู่บ้าน
ลักษณะประชากรในพื้นที่เป็นแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท ประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 83,055 คน ประชากรมีชื่อและไม่มีชื่อตามทะเบียนราษฎร์และอาศัยอยู่ (1+3) รวม 56,448 ปชก.UC 39,275 คน *HDC 24 เม.ย.60 ประชากรต่างด้าว 4,000 คน ข้อมูลใน HDC 430 คน *HDC 24เม.ย.60

5 ข้อมูลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 +27 เตียง จำนวน 1 แห่ง
โรงพยาบาลชุมชน ขนาด เตียง จำนวน 1 แห่ง รพ.สต.จำนวน 11 แห่ง (รพ.สต. ขนาดใหญ่ 3 แห่ง + รพ.สต. ขนาดกลาง 8 แห่ง) อสม. 1,760 คน

6 บุคลากร รพ. สันกำแพง รพ. 1 แพทย์ 6 2 ทันตแพทย์ 5 3 ทันตาภิบาล 1
4 เภสัชกร 7+(PCU=1) 5 พยาบาลวิชาชีพ 49 6 กายภาพบำบัด / กิจกรรมบำบัด/ แพทย์แผนไทย / นักจิตวิทยา นักกายภาพบำบัด 3/ นักกิจกรรมบำบัด 1 แพทย์แผนไทย 1/นักจิตวิทยา 1 7 นักเทคนิคการแพทย์ 8 นักวิชาการสาธารณสุข 10 อื่นๆ 57 รวม 142

7 1. การบริหารงบค่าเสื่อม
การจัด/จัดจ้างตามแผนที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ 2559 ความก้าวหน้าการบริหารงบค่าเสื่อม ปี งบประมาณ 2560 มีการประชุมผ่าน CUP เพื่อจัดสรรงบประมาณและติดตามผ่านการประชุม คพสอ. มีการกำหนด Timeline ในการจัดซื้อจัดจ้างและติดตามจาก คพสอ/ สสอ./ ผอ.รพ.

8 งบค่าเสื่อม ปี 2559 งบที่ได้รับจัดสรร 4,072,319 บาท (งบค่าเสื่อม + เงินบำรุง) รพ.สันกำแพง จำนวน 9 รายการ เป็นเงิน 2,320,619 บาท ครุภัณฑ์การแพทย์ 8 รายการ เป็นเงิน 1,253,700 บาท จ้างเหมาติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1 รายการ เป็นเงิน 1,066,919 บาท รพ.สต. จำนวน 57 รายการ เป็นเงิน 1,751,700บาท ครุภัณฑ์การแพทย์ 27 รายการ เป็นเงิน 952,300 บาท ครุภัณฑ์สำนักงาน 16 รายการ เป็นเงิน 726,000 บาท ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ 4 รายการ เป็นเงิน 64,000 บาท ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 1 รายการ เป็นเงิน 9,400 บาท 10 % ครุภัณฑ์การแพทย์ 7 รายการ 417,000 บาท เงินเหลือจ่าย 97, บาท

9 งบค่าเสื่อม ปี 2560 งบที่ได้รับจัดสรร 4,369, บาท (งบค่าเสื่อม + เงินบำรุง) รพ.สันกำแพง จำนวน 18 รายการ เป็นเงิน บาท ครุภัณฑ์การแพทย์ 12 รายการ 1,445,500 บาท ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1 รายการ 302,400 บาท ครุภัณฑ์สำนักงาน 4 รายการ 344,500 บาท ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 1 รายการ 2,337,400 บาท รพ.สต. จำนวน 55 รายการ เป็นเงิน บาท ครุภัณฑ์การแพทย์ 18 รายการ 766,000 บาท ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 7 รายการ 150,000 บาท ครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้าง 10 รายการ 1,998,600 บาท ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 2 รายการ 36,000 บาท ครุภัณฑ์สำนักงาน 9 รายการ 181,500 บาท 10 % ครุภัณฑ์การแพทย์ (ป่าตาล) 1 รายการ 278,000 บาท

10 ปัญหาอุปสรรค ครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้างที่ รพ.สต. ต้องมีการประสานงานการก่อสร้างก่อนหรือออกแบบ โดยช่างโยธาท้องถิ่น ก่อนจะนำเข้าวางแผนงบประมาณ ทำให้ล่าช้าในการดำเนินการ

11 2. การบริหารงบ PPA ติดตามผลงาน ปีงบประมาณ 2559 KPI
การสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ความก้าวหน้าการบริหารงบ PPA ปี งบประมาณ 2560

12 งบค่าบริการแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที่ (PPA) 2559
บาท เหลือเงิน 22,963 บาท

13 แผนงาน/โครงการ งบค่าบริการแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที่ (PPA) 7 เรื่อง บริหารจัดการภาพรวมจาก สสจ.ชม.
งบประมาณ เป้าหมาย ผลลัพธ์ ร้อยละ 1.โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคไต 228,960 บาท 1,908 ราย 3,924 ราย 205.66 2. โครงการตรวจวัดสายตาเด็กนักเรียน 20,450 บาท 409 ราย 616 ราย 150.61 3. โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด เชิงรุก 145,400 บาท 727 ราย 685 ราย 94.22 4. โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กให้มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย 87,000 บาท 870 ราย 1,394 ราย 160.22 5. โครงการแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและ มะเร็งท่อน้ำดี 42,000 บาท 210 ราย 444 ราย 211.42 6. โครงการดูแลสตรีไทยห่างไกลมะเร็งเต้านม เขตสุขภาพ ที่ 1 27,600 บาท 276 ราย 2,986 ราย 1,081.88 7.การควบคุมป้องกัน วัณโรค 15,000 บาท 100 ราย 366 ราย 366.00

14 3. การบริหารจัดการค่าใช้จ่ายบริการกรณีเฉพาะ Central Reimbursement
การจัดบริการตาต้อกระจก ปี 2559 อำเภอสันกำแพง คัดกรอง ส่งต่อ เข้าโปรแกรม Vision ส่งไป รพ.นครพิงค์ ซึ่ง รพ.สันกำแพง ไม่สามารถดูในระบบการผ่าตัดภายใน 30 วัน การผ่าตัดข้อเข่าเทียม Thalassemia รพ.สันกำแพง มีการรายงาน beta thal และผู้ป่วยที่ได้รับยาขับแบบเหล็กชนิดกิน สปสช.จัดสรรงบประมาณ รพ.สันกำแพง ทำหน้าที่รายงานข้อมูล โควตาและผลงาน ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน กองทุนย่อยอื่นๆ เช่น กองทุนไตวาย (ไม่มี) เอดส์ (ไม่มี) จิตเวชเรื้อรัง LTC NCD

15 คัดกรองตาต้อกระจก เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ คัดกรองตาต้อกระจก 16,005
14,535 90.82 ส่งรักษาต่อ 516 3.5

16 กรอบการจัดสรรงบประมาณกองทุนโรคเรื้อรัง
เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง 70% Lab ค่าตอบแทน พัฒนาระบบบริการ 20% พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบข้อมูล นิเทศงาน ส่งเสริมการจัดการตนเอง 10% โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการสิ่งแวดล้อม มหกรรมสุขภาพ

17 การจัดสรรงบประมาณกองทุนโรคเรื้อรัง ปี 2560
เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง 70% Lab ค่าตอบแทน 757,685 พัฒนาระบบบริการ 20% พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบข้อมูล นิเทศงาน108,240 ส่งเสริมการจัดการตนเอง 10% โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการสิ่งแวดล้อม มหกรรมสุขภาพ216,481

18 ผลการดำเนินงานคัดกรองข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis knee) อ. สันกำแพง จ
กิจกรรม 2559 2560 คัดกรอง OA ต.ออนใต้ ต.สันกำแพง ต.แช่ช้าง - ต.บวกค้าง OA ระดับ 4 47 20 OA ระดับ 3 84 28 ส่งต่อ Refer 61 (ได้รับการผ่า 20 ราย) 149 (ไม่รับการผ่า 1 ราย) อบรมให้ความรู้ 159 ต.บวกค้าง 4 รอบ = 212 คน ต.สันกำแพง = 75 คน ต.ต้นเปา = 40 คน รวม 327 คน

19 3. การบริหารจัดการค่าใช้จ่ายบริการกรณีเฉพาะ Central Reimbursement
ปี 2559 งบกองทุนจิตเวชเรื้อรัง 50,000 บาท จำนวน 10 คน โครงการพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ผลลัพธ์ ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังได้รับการดูแลต่อเนื่อง ปัญหาอุปสรรค ข้อจำกัดในการใช้งบประมาณในการเบิกซื้อของเยี่ยมบ้าน การจ่ายค่าตอบแทน ซื้ออุปกรณ์ฟื้นฟูไม่ได้ ปี 2560 งบกองทุนจิตเวชเรื้อรัง 35,000 บาท จำนวน 7 คน อยู่ระหว่างดำเนินโครงการ

20 4. การบริหารกองทุน long term care
ปี 2559 งบ 100,000 บาท โครงการการดูแลผู้สูงอายุแบบมีภาวะพึ่งพิง แบบบูรณาในพื้นที่ ตำบล สันกลาง ดำเนินการแล้วเสร็จ ปี 2559 Care Plan จำนวน 31 ฉบับ ผลลัพธ์การดูแลคนไข้ 31 คน จำหน่าย 20 คน เสียชีวิต 3 คน ย้ายที่อยู่ 3 คน จำหน่ายดีขึ้น 14 คน ปัญหาอุปสรรคการเสนอ Care Plan ท้องถิ่นมีการประชุมคณะอนุกรรมการล่าช้า ปี 2560 งบ (รพ.สันกำแพง) 100,000 บาท (เป้าหมาย 4 ตำบล แม่ปูคา ต้นเปา ออนใต้ ห้วยทราย + ปี 59 1 ตำบล สันกลาง) อยู่ระหว่างดำเนินการ

21 งบบริหาร LTC care plan ปี 2560
งบในกลุ่ม ผู้ป่วย 5 ตำบลนำร่อง โอนไปยังตำบลที่รับผิดชอบ ผ่านกองทุนท้องถิ่น 1.สันกลาง จำนวน 13 ราย งบประมาณ 95,000 บาท 2.ต้นเปา จำนวน 33 ราย งบประมาณ 150,000 บาท 3.แม่ปูคา จำนวน 16 ราย งบประมาณ 300,000 บาท 4.ห้วยทรายจำนวน 13 ราย งบประมาณ 50, 000 บาท 5.ออนใต้ จำนวน 30 ราย งบประมาณ 150,000 บาท

22 งบบริหาร LTC care plan ปี 2560
ตำบลที่มีการเบิกจ่าย คือ สันกลาง ตำบลที่ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ คือ 4 ตำบลที่เหลือเพื่อการดำเนินการ ปัญหาอุปสรรค การแต่งตั้งคณะกรรมการในทีมล่าช้า อบท.แม่ปูคา ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ในการเบิกจ่าย ส่วนที่เหลือ อยู่ระหว่างดำเนินการเบิกจ่าย

23 การให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ประจำปี 2559
รณรงค์ (3 เดือน) - ช่วงเร่งรัด 2 เดือนแรก ( 1 พ.ค. – 30 มิ.ย. 59) - ช่วงเก็บตก (1 – 31 ก.ค. 59)

24 กลุ่มเป้าหมายปี 2559 บุคลากรกลุ่มเสี่ยง : บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ , เจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก เป้าหมาย โด๊ส ผลงาน โด๊ส ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม : ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด ประชาชนกลุ่มเสี่ยง : 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค 2. อายุ > 65 ปี 3. หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน 4. เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี ปี 53 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 1,977,000 dose = 2,377,000 dose ปี 54 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 2,400,000 dose = 2,800,000 dose ปี 55 – บุคลากร 450,000 dose , ประชาชน 2,844,000 dose = 3,294,000 dose (แผนซื้อวัคซีนประชาชน 3.1 ล้าน dose , แต่ไม่ผ่านการทดสอบ 256,000 dose) ปี 56 – บุคลากร 500,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,500,000 dose ปี – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,400,000 dose บุคคลกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ตามที่คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกำหนด) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย , ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมถึงผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) บุคคลโรคอ้วน (น้ำหนักตัว > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 kg/ตารางเมตร ) เป้าหมาย 5,000 โด๊ส ผลงาน 4,463 โด๊ส

25 งบประมาณ ปี 2559 ค่าใช้จ่ายการจัดการ : จำนวนเงิน 15,000 บาท
ค่าชดเชยบริการ : ได้รับจัดสรรแบบจ่ายเหมาตามจำนวนวัคซีนที่จัดสรรให้หน่วยบริการในอัตรา 20 บาทต่อโด๊ส จำนวนเงิน 100,000 บาท{ค่าบริการล่วงหน้า (Pre-Paid)}

26 การให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี 2560
รณรงค์ (3 เดือน) - ช่วงเร่งรัด 2 เดือนแรก ( 1 มิ.ย. – 31 ก.ค. 60) - ช่วงเก็บตก (1 – 31 ส.ค. 60)

27 กลุ่มเป้าหมายปี 2560 บุคลากรกลุ่มเสี่ยง : บุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ , เจ้าหน้าที่ทำลายสัดว์ปีก เป้าหมาย โด๊ส ผลงาน โด๊ส ประชาชนกลุ่มเสี่ยง : 1. หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน2. เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี 3. ผู้สูงอายุ > 65 ปี 4. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่ม : (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง , หอบหืด , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , ไตวาย , เบาหวาน , ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด ปี 53 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 1,977,000 dose = 2,377,000 dose ปี 54 – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 2,400,000 dose = 2,800,000 dose ปี 55 – บุคลากร 450,000 dose , ประชาชน 2,844,000 dose = 3,294,000 dose (แผนซื้อวัคซีนประชาชน 3.1 ล้าน dose , แต่ไม่ผ่านการทดสอบ 256,000 dose) ปี 56 – บุคลากร 500,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,500,000 dose ปี – บุคลากร 400,000 dose , ประชาชน 3,000,000 dose = 3,400,000 dose บุคคลกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ตามที่คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกำหนด) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย , ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมถึงผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) บุคคลโรคอ้วน (น้ำหนักตัว > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 kg/ตารางเมตร ) รพ.สต. เป้าหมาย 4,900 โด๊ส ผลงาน 4,900 โด๊ส รพ.สันกำแพง เป้าหมาย โด๊ส ผลงาน โด๊ส

28 เอกสารการปฏิบัติงาน

29 งบประมาณ ปี 2560 ค่าใช้จ่ายการจัดการ : ใช้เงินบำรุงของ รพ.สต.
ค่าชดเชยบริการ : จ่ายเหมาตามจำนวนวัคซีนที่จัดสรรให้หน่วยบริการในอัตรา 20 บาทต่อโด๊ส จำนวนเงิน บาท (ข้อมูลได้รับการตรวจสอบและมีความถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลา)

30 5. การเบิกจ่ายชดเชย ค่าบริการทางการแพทย์(Claim) ที่มีคุณภาพ
การเบิกจ่ายที่มีคุณภาพถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา ปัญหาอุปสรรค การบริหารข้อมูลผู้ป่วยใน การส่งเบิกชดเชย Sent date การ Audit เวชระเบียน

31 การเบิกจ่ายชดเชย ค่าบริการทางการแพทย์(Claim) ที่มีคุณภาพ
การเบิกจ่ายที่มีคุณภาพถูกต้อง

32 การ Audit เวชระเบียน ห้องบัตร นำ chart ให้แพทย์สรุป Y N Y N Y N
ประมวลผล ผ่านโปรแกรม DRGsIndex ส่งออกรายงาน ให้งานประกัน ฯ ทุก วันอังคาร ประมวลผล ข้อมูลทั้งเดือน ใน รูปแบบ 12 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม ภายในวันที่15 ของเดือนถัดไป ห้องบัตรเก็บ chart เข้าชั้น ตาม chart ที่ แพทย์ แพทย์ ส่ง chart มาห้องบัตร เจ้าหน้าที่เวชฯ ให้รหัส และ พบปัญหา จาก Diagnosis เจ้าหน้าที่เวชฯ บันทึกรหัสลง คอมพิวเตอร์ ตามChart ที่แพทย์ยังไม่บันทึกวินิจฉัย ทุกวันจันทร์ เจ้าหน้าที่เวชฯ บันทึกปัญหา พร้อมนำ chart ให้ห้องบัตร ปรึกษาแพทย์ ห้องบัตรตาม chart จากแพทย์ ทุกวัน หลังจาก นำไปปรึกษาแพทย์ แพทย์ทบทวน ยืนยัน- แก้ไข Diagnosis เจ้าหน้าที่เวชสถิติ นำ chart ปรึกษาแพทย์ ที่ห้องตรวจ แพทย์ ยืนยัน – แก้ไข Diagnosis ห้องบัตร นำ chart ให้แพทย์สรุป ผู้ป่วยจำหน่าย ห้องบัตรส่ง chart ให้เจ้าหน้าที่เวชสถิติ ภายใน วันทำการรุ่งขึ้น เจ้าหน้าที่เวชสถิติให้แพทย์เกรียงยุทธ์ ตรวจสอบสอบวินิจฉัย Ward ส่ง chart มาห้องบัตร หลังผู้ป่วย จำหน่าย Y N Y N Y N

33 Flow การเคลมผู้ป่วยใน
WARD ผู้ป่วย D/C ห้องบัตร นำเวชระเบียนให้แพทย์สรุป 7 วัน แพทย์ สรุปเวชระเบียน -ตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์เวชระเบียน -ลงข้อมูลรหัสโรคใน HosXP เวชสถิติ - ดึงข้อมูลเคลมจาก HosXp - บันทึกข้อมูลลงโปรแกรม E-Cliam งานประกันสุขภาพ - ส่งข้อมูลหน้าเว็บออนไลน์ สปสช. - นำกลับ/ตรวจสอบ/แก้ไข/อุธรณ์ข้อมูล - ตรวจสอบเงินโอน NHSO Budjet

34 ความถูกต้อง ข้อมูลเรียกเก็บ เว็บไซต์ eclaim.nhso.go.th

35 ข้อมูลเรียกเก็บ (REP) พฤษภาคม 2560

36 ความถูกต้องของข้อมูล OP ปีงบ 2560

37 ร้อยละข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ OP ปีงบ 2560

38 ข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ OP ปีงบ 2560

39 ความถูกต้องของข้อมูล IP ปีงบ 2560

40 ร้อยละข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ IP ปีงบ 2560

41 ข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ IP ปีงบ 2560

42 การเบิกจ่ายชดเชย ค่าบริการทางการแพทย์(Claim) ที่มีคุณภาพ
การเบิกจ่ายที่ครบถ้วน

43 โปรแกรมติดตามความครบถ้วนในการส่งข้อมูล

44 โปรแกรมติดตามความครบถ้วนในการเรียกเก็บ

45 โปรแกรมติดตามความครบถ้วนในการเรียกเก็บ

46 ความครบถ้วนการส่งข้อมูล มีนาคม 2560

47 ความครบถ้วนการส่งข้อมูล เมษายน 2560

48 ความครบถ้วนการส่งข้อมูล พฤษภาคม 2560

49 ความครบถ้วนการส่งข้อมูล มิถุนายน 2560

50 การเบิกจ่ายชดเชย ค่าบริการทางการแพทย์(Claim) ที่มีคุณภาพ
ความทันเวลาในการส่งข้อมูล

51 ปฏิทินการตัดข้อมูล-ออก Statement สปสช.

52 ความทันเวลาในการส่งข้อมูลตามวันตัดยอดออกSTM
เดือน ทันเวลา ตุลาคม 2559 พฤศจิกายน 2559 54.6 ธันวาคม 2559 80.2 มกราคม 2560 31.5 กุมภาพันธ์ 2560 62.8 มีนาคม 2560 76.1 เมษายน 2560 75.3 พฤษภาคม 2560 73.7 มิถุนายน 2560 81.2 กรกฎาคม 2560 66.2

53 ร้อยละความทันเวลาในการส่งข้อมูล

54 ความทันเวลาในการส่งข้อมูล มีนาคม 2560

55 -ส่งทันภายใน7วัน=สีเขียว -ส่งทันภายใน14วัน=สีเหลือง -ส่งทันเกิน14วัน=สีแดง -ส่งไม่ทันเวลา=สีเทา

56 ความทันเวลาในการส่งข้อมูล เมษายน 2560

57 ความทันเวลาในการส่งข้อมูล พฤษภาคม 2560

58 ความทันเวลาในการส่งข้อมูล มิถุนายน 2560

59 ความทันเวลาในการส่งข้อมูล มิถุนายน 2560
ข้อมูลจากงานประกันสุขภาพสสจ.ชม. 11 กค. 2560

60 การรับเงินชดเชยUC_IP ตามStatement ปีงบ2560
ข้อมูล ก.ค.60 รอรับชดเชย ข้อมูล ส.ค. - ก.ย.60 ยังไม่ได้ส่งข้อมูล

61 การรับเงินชดเชย UC_IP ตาม Statement

62 รายรับIP ตุลาคม2559-พฤษภาคม2560
ข้อมูลจากงานประกันสุขภาพสสจ.ชม. 11กค.60

63 ข้อมูลจากงานประกันสุขภาพสสจ.ชม. 11กค.60

64 ปัญหาอุปสรรค การบริหารข้อมูลIP การส่งเบิกชดเชยSent Date

65 ปัญหาอุปสรรค -รับข้อมูล DRG มาส่งใน E-claim ช้า ซึ่งในปัจจุบัน (มี.ค.60) ออก DRG ทุกวันอังคารตามจำนวนที่เสร็จจริงไม่รอทั้งหมด

66 (ตัวอย่าง) การรับข้อมูล DRG กรกฎาคม 2560
วันที่รับข้อมูล ข้อมูลDRG จำนวนเวชระเบียนที่ส่ง รวมร้อยละที่ทำได้ 4 กค.60 600601_600630_2 39 11.4 11 กค.60 600601_600630_3 15 15.7 18 กค.60 600601_600630_4 35 25.9 25 กค.60 600701_600725 97 54.2 27 กค.60 600701_600727 31 63.3 31 กค.60 600701_600731 10 66.2 รวม 227 จากเวชระเบียนทั้งหมด 343 เวชระเบียน

67 ปัญหาอุปสรรค ข้อมูลไม่ผ่านการตรวจสอบ (ติดC)
ส่งเคลม - รอ รพ.นครพิงค์ลงทะเบียนมะเร็ง ส่งเคลมใหม่

68

69

70

71 การแก้ไขที่ได้ดำเนินการ - UC สันกำแพง ประสานงานผ่าน จนท. ลงทะเบียน รพ
การแก้ไขที่ได้ดำเนินการ - UC สันกำแพง ประสานงานผ่าน จนท.ลงทะเบียน รพ.นครพิงค์ เพื่อให้ลงทะเบียนคนไข้ที่ส่งมา รพ.สัน กำแพง และ รพ.สันกำแพงได้นำส่งข้อมูลกลับ เพื่อ Claim - สปสช. ยกเลิกการติดC563 ตั้งแต่ 20 เมษายน 2560 เป็นต้น ไป

72


ดาวน์โหลด ppt การติดตามผลการดำเนินงาน การบริหารกองทุน ปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google