การเขียนภาพประกอบ(Assembly Draw.) การยึดชิ้นงานให้ติดกันหรือประกอบเข้าด้วยกันทำได้หลายวิธีด้วยกัน และตัวยึดที่ใช้ก็มีอยู่หลายชนิดด้วยกันดังนี้ ตะปู (Nails) สลักย้ำ (Rivets) การเชื่อม (Welding) เกลียว (Screw Threads)
2. GENERAL ASSEMBLY
EXAMPLE :
ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะภาพประกอบที่จับยึดเข้าด้วยกันโดยใช้เกลียว โดยเกลียวที่ใช้ยึดมีใช้กันอย่างกว้างขวาง และส่วนมากมีจุดมุ่งหมาย อยู่ 3 ประการคือ 1. ยึดให้ติดกันแน่น (Fastening) 2. ปรับแต่งระยะได้ (Adjusting) 3. ส่งผ่านกำลังได้ (Transmitting) เกลียวที่ใช้ยึดจับ มักนิยมทำขึ้นมาในรูปของ Bolts , Screw และStud
1.Bolts & Nuts Bolts เป็นสลักเกลียวที่ใช้ยึดจับชิ้นงานตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปโดยที่ชิ้นงานที่ถูกยึด เข้าด้วยกันไม่ต้องทำเกลียว ซึ่งชิ้นงานจะต้องถูกเจาะให้โตกว่าลำตัวของ Bolts ตามมาตรฐานที่กำหนด ส่วนใหญ่ชิ้นงานจะเจาะให้รูโตกว่าลำตัวของ Bolts ประมาณ 0.5 mm
R = การสร้างส่วนหัวของ Bolts & Nuts แบบ Across Corners แบ่งหัวเป็น3 ส่วน โดยตรงกลางเป็น e/2 Bolt Nut R = ค่า e เปิดจาก DIN 931 , 934
แบบ Across Flats แบ่งหัวเป็นสองส่วนเท่าๆ กัน คือ S/2 ค่า k , s เปิดจาก DIN 931 , 934
ส่วนประกอบของBolt Bolt is a threaded cylinder with a head. Thread length Length Width across flat Head thickness Hexagonal head bolt and nut
คำที่เกี่ยวข้องกับเกลียว The distance between crests of threads. Pitch The distance a screw will advance when turned 360o. Lead เกลียวนอก เกลียวใน Pitch Pitch
THREAD TERMINOLOGY Thread Form Form is the profile shape of the Example : “knuckle thread form”
Hexagon Head Bolt M20x100 DIN931
2.1 Nuts ISO 4032
ตารางขนาดรูเจาะสำหรับการร้อยผ่านของเกลียว ค่าแนะนำคือ ให้ใช้ขนาดรูเจาะ โตกว่าขนาดเกลียว 1 mm
Plain Washer DIN125,Spring Washer DIN127
ภาพตัวอย่าง การยึดชิ้นงานด้วย Bolt & Nut ความลึกเกลียวถ้าไม่กำหนดมาให้ใช้ 0.1d
ความยาวของตัวโบลต์และสกรู Body Length Bolts & Screws 4 , 6 , 7 , 8 , 10 , 12 , 16 , 20 20 ถึง 80 เพิ่มขึ้นขั้นละ 5 mm 80 ถึง 220 เพิ่มขึ้นขั้นละ 10 mm การคำนวนความยาวของโบลท์ L มีดังนี้ Lmin=ความหนาชิ้นงานทั้งหมดที่ร้อยผ่าน(t) + ความหนาแหวนรอง(s)+ ความหนาตัวนัท(m) + ระยะลบมุมปลายเกลียว(z) นำผลที่คำนวนได้ไปเลือกความยาวมาตราฐาน
SCREWS การยึดจับชิ้นงานด้วย Screws ต่างกับ Bolt เพราะ Screws จะไม่ใช้ Nut เป็นตัวยึดจับชิ้นงาน แต่จะต้องทำเกลียวที่ชิ้นงานที่ต้องการจะยึดเพื่อให้ปลาย ของ Screws ยึดชิ้นงานแทน Nut ส่วนชิ้นงานด้านติดกับหัวของ Screws ยังคงเจาะชิ้นงานเหมือนกับ Bolt โดยไม่ต้องทำเกลียว ลักษณะของ Screws
THROUGH HOLES & BLIND TAPPED HOLES DIN 69 , 76 Metrical Thread d M6 M8 M10 M12 M16 M20 M24 M30 fine 6.4 8.4 10.5 13 17 21 25 31 Through holes (DIN 69) madium 7 9.5 11.5 14 18 23 27 33 coarse - 15 20 30 36 Minimum allowance for bind tapped holes (DIN76) 4.5 5 5.5 6 6.5 7.5 8.5 10 Thread runout (X) 2.5 3.2 3.8 4.3 6.3 9 Unthreaded portion (a) 3 4 5.3 Pitch C/F (P) 1 / 0.75 1.25/0.75 1.5 / 1 1.75/1.25 2 / 1.5 2.5 / 1.5 3 / 2 3.5 / 2
Hexagon Screw Md x p x L DIN933
ในการเจาะรูตลอดชิ้นงานแล้วทำเกลียว d1 = รูของดอกสว่านที่ทำการเจาะ (เส้นผ่าศูนย์กลางโคนเกลียว) d2 = ขนาดของตัวทำเกลียว (เส้นผ่าศูนย์กลางยอดเกลียว)
เกลียวและมี Screw สวมอยู่ ในการเจาะรูไม่ตลอดชิ้นงานแล้วทำเกลียว ในการเจาะรูไม่ตลอดชิ้นงานทำ เกลียวและมี Screw สวมอยู่ ในการเจาะรูไม่ตลอดชิ้นงานแล้วทำเกลียว เหล็กกล้า E = d เหล็กหล่อเหนียว E = 1.25d ทองเหลือง E = 2.5d อะลูมิเนียม E = 2d = 0.25d มุมของสว่านที่ใช้เจาะ = 120 = 0.25d d = เส้นผ่าศูนย์กลางยอดฟัน หรือเท่ากับค่า M
ภาพตัวอย่างการจับยึดชิ้นงานด้วยสกรู
การคำนวนหาขนาดความยาวของสกรู Lmin=SหรือS2(ความหนาแหวนรอง) + t(ความหนาชิ้นงานที่ร้อย ผ่าน) + e(ระยะเกลียวจับยึดมาตราฐาน) นำค่าที่คำนวนได้ เลือกความยาวมาตราฐานของกสรู
STUDS Stud เป็นสลักเกลียวที่ไม่มีหัวโดยทำเกลียวไว้ทั้งสองด้าน ด้านหนึ่ง จะยึดเข้ากับชิ้นงานที่ทำเกลียวไว้ ส่วนด้านหนึ่งจะสวมเข้ากับงานที่เจาะรู ไว้โดยไม่ได้ทำเกลียวไว้ ส่วนอีกด้านหนึ่งจะสวมเข้ากับชิ้นงานที่เจาะรูไว้ โดยไม่ได้ทำเกลียว แล้วใช้ Nut เป็นตัวยึดชิ้นงานทั้งสองเข้าด้วยกัน ดังรูป
ภาพตัวอย่าง การจับยึดชิ้นงานด้วยStud
STUD
Studs DIN-853,938,939
STUD DIN835,938,939
le
Thread Runout(X) and Unthread Portion(a)
3.2 Hexagon Socket Head Cap Screw DIN 912
ตัวอย่างการบอกขนาด Hexagon Head Fitting Bolt M16x50 DIN609 Hex. Head Fitting Bolt ตัวอย่างการบอกขนาด Hexagon Head Fitting Bolt M16x50 DIN609
Hexagon Socket Head Cap Screw DIN7984