การกำหนดผลผลิต / กิจกรรม และ การคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ชุมพล เด็จดวง 27 ส.ค. 2554
คำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต เพื่ออะไร ?....
หลักการสำคัญของการจัดสรรงบประมาณ ทฤษฎีผลได้ของสังคมสูงสุด (The Maximum Social Gain Theory) “ในการจัดผลิตสินค้า หรือบริการก็ตาม รัฐบาลควรเลือกดำเนินการผลิตเฉพาะในกิจกรรมที่นำประโยชน์มาสู่สังคมมากกว่าผลเสียที่กิจกรรมนั้นสร้างให้แก่สังคม” Robert H. Haveman (1977)
หลักการสำคัญของการจัดสรรงบประมาณ ทฤษฎีผลได้ของสังคมสูงสุด (The Maximum Social Gain Theory) ประโยชน์ = ผลที่ได้รับ = benefits ผลเสีย = ต้นทุน = costs เกณฑ์ benefits costs 1
หลักการสำคัญของการจัดสรรงบประมาณ ประโยชน์ = ผลที่ได้รับ = benefits ประโยชน์ทางตรง = ผลสัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ ประโยชน์ทางอ้อม = ผลกระทบเชิงบวก
หลักการสำคัญของการจัดสรรงบประมาณ ผลเสีย = ต้นทุน = costs ต้นทุนทางตรง = ค่าใช้จ่ายรวม = ค่าใช้จ่ายทางตรง + ค่าใช้จ่ายทางอ้อม ต้นทุนทางอ้อม = ค่าเสียโอกาสในการลงทุน = ผลกระทบเชิงลบ
หลักการสำคัญของการจัดสรรงบประมาณ ดังนั้น ความคุ้มค่าในการจัดทำผลผลิต = ผลสัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ ค่าใช้จ่ายทางตรง + ค่าใช้จ่ายทางอ้อม = ผลสัมฤทธิ์ ค่าใช้จ่ายการผลิต
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 1. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ หลักการ 1. มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน และเชื่อมโยงทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ กระทรวง และหน่วยงาน 2. มีการวางแผนกลยุทธ์ในการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมาย 3. มีการกำหนดผลผลิตที่ดำเนินการ พร้อมตัวชี้วัดเชิงปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา และค่าใช้จ่าย (ต้นทุน) และผลผลิตที่กำหนด สามารถเชื่อมโยงไปสู่เป้าหมาย (ผลลัพธ์) ในแต่ละระดับ 4. มีการกำหนดกิจกรรมที่ทำ โดยจำแนกเป็นกิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง และกิจกรรมสนับสนุน และแสดงถึงงบประมาณ ที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม
กระบวนการจัดทำผลผลิต 1. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ แผนบริหารราชการแผ่นดิน (นโยบายรัฐบาล แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ และแผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆ) เป้าหมายระดับชาติ พันธกิจกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี เป้าหมายกระทรวง พันธกิจหน่วยงาน เป้าหมายหน่วยงาน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี ผลผลิต 1 ผลผลิต 2 ผลผลิต 3 ภารกิจหน่วยงาน กิจกรรม 1 กิจกรรม 1 กิจกรรม 1 กระบวนการจัดทำผลผลิต กิจกรรม 2 กิจกรรม 2 กิจกรรม 2 ที่มา : สำนักงบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 1. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 1) การวางแผนงบประมาณ 2) การคำนวณต้นทุนผลผลิต 3) การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4) การบริหารทางการเงิน / การควบคุม งบประมาณ 5) การบริหารสินทรัพย์ 6) การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน 7) การตรวจสอบและควบคุมภายใน จัดทำ บริหาร กำกับ/ติดตาม
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 1. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดผลผลิต 4 มิติ 1) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 2) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 3) ตัวชี้วัดเชิงเวลา 4) ตัวชี้วัดเชิงต้นทุน
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 2. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 ข้อ 7 วรรคสอง “หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ คำนวณ ค่าใช้จ่ายตามงบรายจ่ายในวรรคหนึ่งของแต่ละผลผลิต หรือ โครงการ เพื่อใช้ในการจัดทำค่าใช้จ่ายต่อหน่วยผลผลิต หรือ โครงการ สำหรับการจัดทำงบประมาณรายจ่ายในปีต่อไป”
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... PART (Performance Assessment Rating Tool) เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน ค-4 หน่วยงานกำหนดให้มีกิจกรรมเพื่อคำนวณต้นทุน ต่อหน่วยผลผลิต หรือไม่ อย่างไร ง-4 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการนำต้นทุน ต่อหน่วยผลผลิต ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ หรือไม่ อย่างไร
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 4. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
ทำไมต้องคำนวณต้นทุนผลผลิต ?..... 4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
องค์ประกอบการคำนวณต้นทุนผลผลิต รู้ผลผลิตที่จะต้องคำนวณ รู้กิจกรรมที่จะต้องดำเนินการในการจัดทำผลผลิตและปริมาณงาน รู้หน่วยงานที่เป็นผู้ดำเนินกิจกรรม รู้งบประมาณที่ใช้จ่าย
ผลผลิต (Outputs) คือ อะไร ? พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ผล : น. ลูกไม้ เช่น ผลมะม่วง ผลมะปราง; สิ่งที่เกิดจากการกระทำ เช่นผลแห่งการทำดี ผลแห่งการทำชั่ว; ประโยชน์ที่ได้รับ เช่น ทำนาได้ผล เรียนได้ผล; ผลิต : [ผะหฺลิด, ผะหฺลิดตะ] ก. ทําให้เกิดมีขึ้นตามที่ต้องการด้วยอาศัยแรงงานหรือเครื่องจักรเป็นต้น เช่น ผลิตข้าว ผลิตรถยนต์ ผลิตครู ผลิตบัณฑิต. ผลิตผล : น. ผลที่ทําขึ้น, ผลที่ได้จากการผลิตด้วยอาศัยแรงหรือเครื่องจักร เป็นต้น.
ผลผลิต (Outputs) คือ อะไร ? DICTIONNARY (http://www.hyperdictionary.com) Output Definition: 1. [n] production of a certain amount 2. [n] final product; the things produced 3. [n] what is produced in a given time period 4. [n] signal that comes out of an electronic system 5. [v] to create or manufacture a specific amount; "the computer is outputting the data from the job I'm running"
ผลผลิต (Outputs) คือ อะไร ? สรุปได้ว่า ผลผลิต (Outputs) = “ ผลที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมขององค์กรตาม อำนาจหน้าที่หรือพันธกิจที่กำหนด ” ทั้งนี้ ผลได้ดังกล่าวมีคุณลักษณะเฉพาะ คือ - เป็นผลิตผลสุดท้ายขององค์กร - นับจำนวนได้แน่นอน - และเป็นการดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด
ธรรมชาติการผลิต : ทฤษฎีระบบ : Systems Theory ผลผลิต (Outputs) คือ อะไร ? ธรรมชาติการผลิต : ทฤษฎีระบบ : Systems Theory กระบวนการ แปรสภาพการผลิต (Process) ผลผลิต (Outputs) ปัจจัยการผลิต (Inputs) - Man - Material - Management ประสิทธิภาพการผลิต ทรัพยากร (ปัจจัยฯ) ที่ใช้ไป ผลผลิตที่ได้รับ = - Money
ผลผลิต (Outputs) คือ อะไร ? ระบบย่อยในการผลิต กระบวนการ แปรสภาพการผลิต ผลิตภัณฑ์ ก. (ปัจจัยการผลิต ข.) ปัจจัยการผลิต ก. กระบวนการ แปรสภาพ การผลิต ข. กระบวนการ จัดทำผลผลิต กระบวนการ แปรสภาพ การผลิต ค. ผลิตภัณฑ์ ค. (ปัจจัยการผลิต ง.) ผลิตภัณฑ์ ข. (ปัจจัยการผลิต ค.)
ผลผลิต (Outputs) ของหน่วยงานภาครัฐ คือ อะไร ? ความหมาย ผลของการดำเนินงานตามกิจกรรม ซึ่งอาจจะเป็นผลิตผล (Product) หรือ การให้บริการ (Service) ที่ดำเนินงานโดยหน่วยงานของรัฐ ให้แก่ ประชาชน หรือ องค์กรภายนอก กระบวนการ แปรสภาพการผลิต ผลผลิต ก. ปัจจัยการผลิต ก.
ผลผลิต (Outputs) ของหน่วยงานภาครัฐ แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณา ข้อพิจารณา ใช่ ไม่ใช่ 1. เป็นการให้บริการแก่องค์กรภายนอกหน่วยงานหรือประชาชน 2. จะต้องกำหนดได้ว่าผู้รับบริการ (ลูกค้า) คือใคร 3. มีลักษณะเป็นรูปธรรมหรือรับรู้ได้ 4. เกิดจากกระบวนการทำงาน (Delivery System) ของส่วนราชการ 5. เป็นผลขั้นสุดท้ายจากกระบวนการทำงานของหน่วยงาน 6. ความสำเร็จหรือความล้มเหลวของผลผลิตต้องเกิดจากกระบวนการทำงานขององค์กรเท่านั้น
ผลผลิต (Outputs) ของหน่วยงานภาครัฐ (ต่อ) แนวทางและหลักเกณฑ์ ข้อพิจารณา ใช่ ไม่ใช่ 7. สามารถวัดความสำเร็จได้ครบทั้ง 4 มิติ คือ ปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาในการผลิต และค่าใช้จ่าย/ต้นทุน 8.สามารถติดตามความก้าวหน้าได้ และสามารถวัดความสำเร็จได้ชัดเจน 9. ความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับความสำเร็จตามเป้าหมายของหน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง และเป้าหมายชาติ 10.ครอบคลุมถึงผลผลิตของส่วนราชการในมิติจังหวัดครบถ้วน
ความเชื่อมโยงผลผลิต กับพันธกิจหน่วยงาน พันธกิจ (สำนักงานปลัดกระทรวง) ผลผลิต : 1. จัดทำแผน นโยบาย และผลสัมฤทธิ์ของกระทรวง 1. สนับสนุนและอำนวยการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม 2. ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ 2. สนับสนุนและอำนวยการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่มีประสิทธิภาพ 3. ส่งเสริมประชาชนให้สามารถพัฒนาตนเองบนพื้นฐานของปรัชฌาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ขับเคลื่อนโครงการเฉลิมพระเกียรติในพื้นที่
ความเชื่อมโยงผลผลิต กับพันธกิจหน่วยงาน พันธกิจ (กรมปศุสัตว์) ผลผลิต : 1. วิจัยและพัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี 1. การพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ 2. พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน 2. สินค้าเกษตรมีคุณภาพได้มาตรฐาน 3. ป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาโรคสัตว์ 3. การพัฒนาสุขภาพสัตว์
กิจกรรม (Activity) คือ อะไร ? ความหมาย การดำเนินการนำปัจจัยการผลิตต่างๆ (inputs) แปรสภาพให้กลายเป็นสินค้าสำเร็จรูป (outputs) หรือกึ่งสำเร็จรูป (intermediate outputs) และทำให้ปัจจัยการผลิตดังกล่าวมีมูลค่าเพิ่มขึ้น กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 กิจกรรม 4 กระบวนการ แปรสภาพการผลิต (Process) ผลผลิต (Outputs) ปัจจัยการผลิต (Inputs)
กิจกรรม (Activity) คือ อะไร ? ความหมาย การกระทำเพื่อให้เกิดผลผลิต เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิต ลักษณะโดยทั่วไป ขึ้นต้นประโยคด้วยคำกริยา
ลักษณะของกิจกรรม (Activities)ขององค์กร ดำเนินการเสร็จสิ้นเพียงหน่วยงานเดียว ร่วมแรงร่วมใจกันหลายๆ หน่วยงาน สนับสนุนหน่วยงานอื่น ต้องมีหน่วยงานอื่นสนับสนุน
ปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณากำหนดกิจกรรม ผู้รับผลประโยชน์ และลักษณะของผลประโยชน์ที่ได้รับ โครงสร้างของหน่วยงานย่อยในองค์กร (สำนัก, กอง, ฝ่าย ฯลฯ) ความสัมพันธ์ระหว่างงานหลัก / งานสนับสนุน ความสลับซับซ้อนด้านเทคนิคและการจัดการ การจัดทำรายงานด้านผลผลิต และการเงิน ความชัดเจนของการควบคุม การจัดการ การจัดสรรทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรม
แนวทางการกำหนดกิจกรรม (Activities) 1. กำหนดจากกระบวนงานหลัก (Major Process) ในการดำเนินงาน เช่น - การจัดทำฐานข้อมูล - การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย - การจัดทำข้อเสนอนโยบาย 2. พิจารณาจาก output ของกิจกรรม - การบริการจัดหางานในประเทศ - การบริการจัดหางานต่างประเทศ
การกำหนดปริมาณงานของกิจกรรม ตัวชี้วัดผลงานของกิจกรรม Output ที่ได้รับจากการดำเนินกิจกรรมนั้นๆ มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรที่ใช้ไป สามารถนำมาใช้ในการ ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล การดำเนินกิจกรรมนั้นได้ หน่วยนับ ราย, เรื่อง, ร้อยละ... ฯลฯ
The Value Chain ห่วงโซ่แห่งคุณค่า
Value Chain : ห่วงโซ่แห่งคุณค่า : The term ‘Value Chain’ was used by Michael Porter in his book "Competitive Advantage : Creating and Sustaining superior Performance" (1985). The value chain analysis describes the activities the organization performs and links them to the organizations competitive position.
Value Chain : ห่วงโซ่แห่งคุณค่า Primary activities are directly concerned with the creation or delivery of a product or service. (inbound logistics, operations, outbound logistics, marketing and sales, and service.) Each of these primary activities is linked to support activities which help to improve their effectiveness or efficiency. - procurement, - technology development (including R&D), - human resource management, and - infrastructure (systems for planning, finance, quality, information management etc.).
Value Chain : ห่วงโซ่แห่งคุณค่า Firm Infrastructure Human Resource Management Support Activities Margin Technology Development Procurement Inbound Logistics Operations Outbound Logistics Marketing And Sales Service Primary Activities Margin
ผลผลิต : การบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ ผลผลิต : การบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ บริหารงานทั่วไป การเงิน การคลัง บริหารทรัพยากรบุคคล Support Activities พัฒนาเทคโนโลยี จัดซื้อจัดจ้าง บริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ อย่างเป็นระบบ อนุรักษ์ พัฒนา และ ฟื้นฟูแหล่งน้ำ อนุรักษ์ พัฒนา และ ฟื้นฟูพื้นที่ กลางน้ำ ป้องกัน และแก้ไข วิกฤตน้ำ Primary Activities
หลักการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ตามหลักเกณฑ์ สำนักงบประมาณ
จะคำนวณต้นทุนผลผลิตได้อย่างไร ?..... ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์โครงสร้างผลผลิต / กิจกรรม ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกิจกรรมหลัก / รอง /สนับสนุน ขั้นตอนที่ 3 จัดทำผังแสดงการกระจายค่าใช้จ่าย กำหนดวงเงินและ เกณฑ์การกระจายค่าใช้จ่าย ขั้นตอนที่ 4
จะคำนวณต้นทุนผลผลิตได้อย่างไร ?..... ขั้นตอนที่ 5 กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมสนับสนุน เข้าสู่กิจกรรมรอง / กิจกรรมหลัก กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมรอง เข้าสู่กิจกรรมหลัก ขั้นตอนที่ 6 รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมหลัก เข้าสู่ผลผลิต ขั้นตอนที่ 7
วิเคราะห์โครงสร้างผลผลิต / กิจกรรม ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์โครงสร้างผลผลิต / กิจกรรม ความหมาย ผลของการดำเนินงานตามกิจกรรม ซึ่งอาจจะเป็นผลิตผล (Product) หรือ การให้บริการ (Service) ที่ดำเนินงานโดยหน่วยงานของรัฐ ให้แก่ ประชาชน หรือ องค์กรภายนอก กระบวนการ แปรสภาพการผลิต ผลผลิต ก. ปัจจัยการผลิต ก.
กำหนดกิจกรรมหลัก / รอง /สนับสนุน ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกิจกรรมหลัก / รอง /สนับสนุน กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมในการจัดทำและส่งมอบผลผลิต / โครงการ โดยตรง แก่ผู้รับบริการภายนอก กิจกรรมรอง หมายถึง กิจกรรมในการจัดทำและส่งมอบผลผลิต / บริการระหว่าง หน่วยงานภายในองค์กร เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินการกิจกรรมหลักมีประสิทธิภาพ กิจกรรมสนับสนุน หมายถึง กิจกรรมการอำนวยการภายในองค์กรให้สามารถจัดทำ และส่งมอบผลผลิต / บริการ แก่ผู้รับบริการภายนอก
กำหนดกิจกรรมหลัก / รอง /สนับสนุน ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกิจกรรมหลัก / รอง /สนับสนุน ชื่อกิจกรรม วัตถุประสงค์ ผู้รับบริการ ผลได้ของกิจกรรม (Output) กิจกรรมหลัก 1 ................................................ หน่วยงาน / บุคคลภายนอก ..............ราย กิจกรรมรอง 1 กิจกรรมอำนวยการและบริหารทั่วไป เพื่อบริหารการปฎิบัติงานและสนับสนุนการปฏิบัติงานทั่วไป หน่วยงานภายใน ทุกกอง / สำนัก ..............เรื่อง ..............คน
จัดทำผังแสดงการกระจายค่าใช้จ่าย ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 3 จัดทำผังแสดงการกระจายค่าใช้จ่าย กิจกรรมรอง 1 ผลผลิต 1 กิจกรรมสนับสนุน 1 กิจกรรมหลัก 1 ผลผลิต 2 กิจกรรมสนับสนุน 2 กิจกรรมหลัก 2 กิจกรรมรอง 2
เกณฑ์การกระจายค่าใช้จ่าย ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต กำหนดวงเงินและ เกณฑ์การกระจายค่าใช้จ่าย ขั้นตอนที่ 4 กิจกรรม บุคลากร ดำ เนิน งาน งบลงทุน เงินอุดหนุน รายจ่ายอื่น รวม ครุภัณฑ์ ที่ดิน ดำเนินงาน งปม. เงินนอก งปม.
เกณฑ์การกระจายค่าใช้จ่าย ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต กำหนดวงเงินและ เกณฑ์การกระจายค่าใช้จ่าย ขั้นตอนที่ 4 เกณฑ์การกระจายค่าใช้จ่าย งบบุคลากร ใช้สัดส่วนของบุคลากร (จำนวนบุคลากร) งบดำเนินงาน ใช้ระยะเวลาในการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรม งบลงทุน ใช้อัตราการใช้งานของครุภัณฑ์ / สิ่งก่อสร้าง งบเงินอุดหนุน ให้กระจายค่าใช้จ่ายตามลักษณะการเบิกจ่าย งบรายจ่ายอื่น ให้กระจายค่าใช้จ่ายตามลักษณะการเบิกจ่าย
กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมสนับสนุน เข้าสู่กิจกรรมรอง / กิจกรรมหลัก ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 5 กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมสนับสนุน เข้าสู่กิจกรรมรอง / กิจกรรมหลัก ตัวอย่าง : การกระจายงบบุคลากร จากกิจกรรมสนับสนุน 1 ไปยังกิจกรรมอื่นๆ ผู้ปฏิบัติ สนับสนุน 2 รอง 1 รอง 2 หลัก 1 หลัก 2 รวม ส่วนงาน 1 1 5 คน ส่วนงาน 2 0.5 1.5 ส่วนงาน 3 ส่วนงาน 4 - 2 ส่วนงาน 5 10 คน 7.5 คน 30 คน (งานบริหารบุคคล) (งานบริหารพัสดุ) (งานคลัง) (งานสารบรรณ) (ฝ่ายอำนวยการ)
กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมสนับสนุน เข้าสู่กิจกรรมรอง / กิจกรรมหลัก ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 5 กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมสนับสนุน เข้าสู่กิจกรรมรอง / กิจกรรมหลัก ตัวอย่าง : การกระจายงบดำเนินงาน จากกิจกรรมสนับสนุน 1 ไปยังกิจกรรมอื่นๆ ผู้ปฏิบัติ สนับสนุน 2 รอง 1 รอง 2 หลัก 1 หลัก 2 รวม ส่วนงาน 1 30 วัน 50 วัน 60 วัน 250 วัน ส่วนงาน 2 - 70 วัน 70 วัน 250 วัน ส่วนงาน 3 50 วัน ส่วนงาน 4 25 วัน 100 วัน ส่วนงาน 5 130 วัน 225 วัน 235 วัน 330 วัน 1,250 วัน (งานบริหารบุคคล) (งานบริหารพัสดุ) (งานคลัง) (งานสารบรรณ) (ฝ่ายอำนวยการ)
กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมสนับสนุน เข้าสู่กิจกรรมรอง / กิจกรรมหลัก ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 5 กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมสนับสนุน เข้าสู่กิจกรรมรอง / กิจกรรมหลัก ตัวอย่าง : สรุปการกระจายงบประมาณ กิจกรรม หน่วยนับ สนับสนุน 2 รอง 1 รอง 2 หลัก 1 หลัก 2 รวม สนับสนุน 1 จำนวนบุคลากร คน 5 7.5 30 เวลาการปฏิบัติงาน วัน 130 225 235 330 1,250 อัตราการใช้งบลงทุน ร้อยละ 10 15 100 20 200 400 450 xx xxx
กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมรอง ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต กระจายค่าใช้จ่ายกิจกรรมรอง เข้าสู่กิจกรรมหลัก ขั้นตอนที่ 6 ตัวอย่าง : สรุปการกระจายงบประมาณ กิจกรรม หน่วยนับ สนับสนุน 2 รอง 1 รอง 2 หลัก 1 หลัก 2 รวม สนับสนุน 1 xx xxx yy yyy (เทคโนโลยีฯ) จำนวนบุคลากร คน 60 40 100 เวลาการปฏิบัติงาน วัน 750 250 1,000 อัตราการใช้งบลงทุน ร้อยละ 75 25 (พัฒนาบุคลากร) 15 30 500 50
รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมหลัก ขั้นตอนการคำนวณค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 7 รวมค่าใช้จ่ายกิจกรรมหลัก เข้าสู่ผลผลิต กิจกรรมรอง 1 ผลผลิต 1 กิจกรรมสนับสนุน 1 กิจกรรมหลัก 1 ผลผลิต 2 กิจกรรมสนับสนุน 2 กิจกรรมหลัก 2 กิจกรรมรอง 2
หลักการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตามหลักเกณฑ์ กรมบัญชีกลาง
ประเด็นสำคัญในการคำนวณต้นทุน ปี 2551 การคำนวณต้นทุนผลผลิตตามแนวทางกรมบัญชีกลาง ประเด็นสำคัญในการคำนวณต้นทุน ปี 2551 เป้าหมาย ให้ส่วนราชการคิดต้นทุนได้ถึงระดับกิจกรรมย่อย ผลผลิตย่อยตามศูนย์ต้นทุนต่างๆ ผลผลิตย่อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงานภาครัฐทำการผลิตและส่งมอบให้กับ บุคคลภายนอก (และเป็นส่วนหนึ่งของผลผลิตหลัก) กิจกรรมย่อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณ หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม ที่มา : กรมบัญชีกลาง
ประเด็นสำคัญในการคำนวณต้นทุน ปี 2551 การคำนวณต้นทุนผลผลิตตามแนวทางกรมบัญชีกลาง ประเด็นสำคัญในการคำนวณต้นทุน ปี 2551 อย่างน้อย ส่วนราชการต้องมี..................... 1. กิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน 5 กิจกรรม ด้านการเงินและบัญชี ด้านการพัสดุ ด้านบริหารบุคลากร ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล ด้านตรวจสอบภายใน 2. ต้นทุนกิจกรรมย่อยของหน่วยงานหลัก อย่างน้อย 1 กิจกรรม 3. ต้นทุนผลผลิตย่อย 2 ผลผลิต ที่มา : กรมบัญชีกลาง
จะคำนวณต้นทุนผลผลิตได้อย่างไร ?..... วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยและกิจกรรมย่อย พร้อมทั้งหน่วยนับ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 กำหนดศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน ดึงข้อมูลต้นทุนจากระบบ GFMIS ตามศูนย์ต้นทุน และแหล่งเงิน ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 คำนวณหาต้นทุนของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน ที่มา : กรมบัญชีกลาง
จะคำนวณต้นทุนผลผลิตได้อย่างไร ?..... ขั้นตอนที่ 5 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย ขั้นตอนที่ 6 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตย่อย ขั้นตอนที่ 7 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมหลัก ขั้นตอนที่ 8 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตหลัก ที่มา : กรมบัญชีกลาง
จะคำนวณต้นทุนผลผลิตได้อย่างไร ?..... งบประมาณ/รายได้ กิจกรรมย่อย ผลผลิตย่อย กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย 1 กิจกรรม หลัก 1 ต้นทุน = 130 ศูนย์ ต้นทุน หลัก =80 ผลผลิตย่อย 1 ผลผลิต 1 กิจกรรมย่อย 2 กิจกรรมย่อย 3 ผลผลิตย่อย 2 กิจกรรมย่อย 4 กิจกรรม หลัก 2 กิจกรรมย่อย 5 ผลผลิตย่อย 3 กิจกรรมย่อย 6 ผลผลิต 2 กิจกรรม หลัก 3 กิจกรรมย่อย 7 ศูนย์ ต้นทุน สนับ สนุน = 50 ผลผลิตย่อย 4 กิจกรรมย่อย 8 กิจกรรมย่อย 9 กิจกรรมย่อย 10 ผลผลิตย่อย 5 กิจกรรมย่อย 11 ที่มา : กรมบัญชีกลาง
Any question ?