นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
Health Promotion & Environmental Health
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การบันทึกข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ งานอนามัยแม่และเด็ก
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
เขตสุขภาพ ที่11.
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
Performance Agreement : PA ปี 2560
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
Happy work place index & Happy work life index
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
การรายงานผลการดำเนินงาน
PA Mother & Child Health
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6 มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (CHILD NUTRITION AND DEVELOPMENT) นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6

ความสำคัญของการเจริญเติบโต ทารกในครรภ์และเด็กแรกเกิด – 2 ปี เป็นช่วงสำคัญของการพัฒนา สมอง เป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว เป็นช่วงของการสร้างอวัยวะ กล้ามเนื้อ ระบบกระดูก ระบบภูมิต้านทานโรค ของร่างกาย ให้สมบูรณ์ : การ เจริญเติบโต องค์ประกอบของร่างกาย และการทำหน้าที่ ของระบบต่าง ๆ ป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังใน ผู้ใหญ่ ตัดวงจรของการถ่ายทอดการขาดอาหารและโรคเรื้อรังใน รุ่นลูก รุ่นหลาน ตัดวงจรความยากจนและความ หิวโหย

+ กลุ่มเป้าหมาย แนวคิด กรอบแนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (Child Nutrition and Development) 1,000 วันแรกของชีวิต ทารกในครรภ์ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ + เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 2 ปี กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ (270 วัน) เด็ก อายุ 0-6 เดือน (180 วัน) อายุ 6 เดือน – 2 ปี (550 วัน) แนวคิด บูรณาการสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางสังคมโดยอปท.ร่วมลงทุนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม บูรณาการโภชนาการ การเล่น การนอน สุขภาพช่องปาก สุขาภิบาลอาหารและน้ำ การอ่านเล่านิทาน ฝึกวินัย มีทักษะ ANC, WCC, ครอบครัวคุณภาพ โดยใช้กลไกPCC และ MCH board คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (DHB) มาตรการทางสังคม สูงดีสมส่วน (สมส่วน=ไม่อ้วน ไม่ผอม) พัฒนาการสมวัย เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ และเด็กแรกเกิด-2 ปี เพื่อติดตามการบริโภคอาหารและให้คำแนะนำอาหารตามวัย ส่งเสริมพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ฟัน กิจกรรมทางกาย และการนอน เดือนละ 1 ครั้ง/ครอบครัว โดยทีม PCC/ รพช./ รพ.สต./ อสม.

หญิงตั้งครรภ์(270 วัน) ฝากท้องก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง โรงเรียนพ่อแม่ 2 ครั้ง เฝ้าระวังและติดตามน้ำหนักหญิงตั้งครรภ์ ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ให้คำแนะนำอาหารหญิงตั้งครรภ์ กิจกรรมทางกายที่เหมาะสมตามอายุครรภ์ จ่ายยาเม็ดไอโอดีน เหล็ก โฟลิก 100 % ดูแลสุขภาพช่องปาก ANC คุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ สอนสาธิตจุดกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และแปลผล สอนสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์ จ่าย Progesterone เพื่อลด Preterm ฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และ plaque control ให้คำแนะนำการนอนที่เพียงพอและปลอดภัย สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ยกระดับบริการ อปท.แจกนมหญิงตั้งครรภ์ 90 วัน 90 กล่อง หรือไข่ 90 วัน 90 ฟอง หรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ยกระดับโภชนาการหญิงตั้งครรภ์

ยกระดับโภชนาการหญิงให้นมบุตร เด็กอายุ 0-6 เดือน (180 วัน) เฝ้าระวังและติดตามการเจริญเติบโตของเด็ก ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ให้คำแนะนำเรื่อง อาหารหญิงตั้งครรภ์ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว กิจกรรมทางกาย การนอนหลับ การทำความสะอาดช่องปากเด็ก (เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น) จ่ายยาเม็ดไอโอดีน เหล็ก โฟลิก หญิงหลังคลอดที่ให้นมลูก 6 เดือน WCC คุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 สอนสาธิตอาหารหญิงให้นมบุตร สอนจุดกราฟการเจริญเติบโตและแปลผล เฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการ โดยพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กใช้คู่มือ DSPM ยกระดับบริการ อปท.แจกนมหญิงให้นมบุตร 90 วัน 90 กล่อง หรือไข่ 90 วัน 90 ฟอง หรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ยกระดับโภชนาการหญิงให้นมบุตร

เด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี (550 วัน) จนท.ติดตาม/กระตุ้นพัฒนาการเด็กโดยใช้ DSPM/TIDA4I เฝ้าระวังและติดตามส่วนสูงน้ำหนักเด็ก ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ให้คำแนะนำเรื่อง อาหารทารกและเด็กเล็ก เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเล่น กอด อ่านเล่านิทาน การทำความสะอาดช่องปาก (เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น) จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก WCC คุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ เฝ้าระวังและติดตามส่วนสูงน้ำหนักเด็กในชุมชน สอนสาธิตอาหารทารกและเด็กอายุ 1-2 ปี สอนจุดกราฟการเจริญเติบโตและแปลผล ฝึกกินไม่ติดรสชาติ กินเป็นเวลา ฝึกทักษะการแปรงฟันให้เด็กแบบลงมือปฏิบัติ (hand on) และ การตรวจฟันเด็กด้วยตนเอง เฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการ โดยพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กใช้คู่มือ DSPM พ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กรอบรู้ด้านสุขภาพ ยกระดับบริการ อปท.แจกไข่ให้กับเด็กอายุ 6 เดือน- 2 ปี วันละ 1 ฟอง และแจกนมให้กับเด็กอายุ 1-2 ปี วันละ 1 กล่อง หรือหรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง ยกระดับโภชนาการเด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี

การขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (Child Nutrition and Development) 1. สร้างกระแสสังคมและสื่อสารสาธารณะทุกช่องทาง ให้หญิงตั้งครรภ์/พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความตระหนักและรอบรู้สุขภาพ 2. สร้างการมีส่วนร่วมการลงทุนมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต โดยใช้งบสปสช. / สสส./ และงบประมาณท้องถิ่น 4. ขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1,000 วันโดยใช้กลไก พชอ. 6. เยี่ยมติดตาม/เสริมพลัง 5. จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ (ทั้งองค์ความรู้ สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน สื่อต่างๆ) 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ สธ, สสส. สธ.,สปสช., สสส. สธ. ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง สปสช. สสส. ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องสมัชชาสุขภาพ ขยายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต สู่ 2,500 วัน เพิ่มกลไกคณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด/กทม. พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็กให้ได้ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

ตั้ง ครรภ์ 3-5 ปี แรกเกิด 0-2 ปี ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์เพื่อส่งต่อในแต่ละกลุ่มวัย วัยเจริญพันธุ์ ตั้ง ครรภ์ แรกเกิด 0-2 ปี 3-5 ปี วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ สูงเฉลี่ยอายุ 12 ปี ในปี 2564 ชาย 154 ซม. หญิง 155 ซม. สูงดีสมส่วน สูงดีสมส่วน สูงเฉลี่ยอายุ 19 ปี ในปี 2564 ชาย 175 ซม. หญิง 162 ซม. - ไม่มีภาวะโลหิตจาง - น้ำหนักเหมาะสม - ไม่เตี้ย สูงเฉลี่ยอายุ 5 ปี ในปี 2564 ชาย 113 ซม. หญิง 112 ซม. น้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ ไม่มีภาวะโลหิตจาง ไม่ขาดไอโอดีน BMI ปกติ ปี 2561 สูงดีสมส่วนร้อยละ 54 พัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 ส่งมอบเข้าสู่ศูนย์เด็กเล็ก อายุยืนยาว พร้อมสุขภาพ ยอดเยี่ยม ในปี 2579 LE=85 ปี HALE = 75 ปี สูงเฉลี่ยอายุ 2 ปี ในปี 2564 ชาย 92 ซม. หญิง 91 ซม. -น้ำหนักแรกเกิด 2,500-3,900 g - ความยาวแรกเกิด 50 ซม. ปี 2561 สูงดีสมส่วนร้อยละ 54 พัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 เด็กอายุ 18 เดือน ฟันไม่ผุ ร้อยละ 85

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กำหนด “มหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต” เป็นนโยบายของรัฐบาล ขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ทั่วประเทศ โดยใช้กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) บูรณาการความร่วมมือ 4 กระทรวงหลัก ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องตามบทบาท/ภารกิจ กากับติดตามและประเมินผล โดยการตรวจราชการแบบบูรณาการ

ขอบคุณและสวัสดี เอกสารอ้างอิง นพ.วชิระ เพ็งจันทร์. การประชุมวิชาการโภชนาการแห่งชาติครั้งที่ 11 “อาหารสุขภาพเพื่อชีวิต : Healthy Diet for Life” ระหว่าง วันที่ 10-12 ตุลาคม 2560