การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ดร.ไพจิตร สดวกการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กมลรัตน์ ฉิมพาลี ประกาศนียบัตรทางการสอน.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
Collaborative problem solving
Active Learning ผศ. ดร. เยาวเรศ ภักดีจิตร ภาควิชาหลักสูตร และการสอน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
อ.ดร.อุบลวรรณ หงษ์วิทยากร
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
Workshop Introduction
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
6 รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning : RBL)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ดร.ไพจิตร สดวกการ

http://www.edutechie.ws/2007/10/09/cone-of-experience-media/

Active Learning Passive Learning http://www.edutechie.ws/2007/10/09/cone-of-experience-media/

การเรียนรู้ที่ ผู้เรียนได้ลงมือทำและคิด ในสิ่งที่ทำ การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การเรียนรู้ที่ ผู้เรียนได้ลงมือทำและคิด ในสิ่งที่ทำ Inquiry Process (5 Es) Cooperative Learning ProbLem-Based Learning Research-Based Learning Visual-Based Learning etc. http://www.oid.ucla.edu/about/units/tatp/old/lounge/pedagogy/downloads/active-learning-eric.pdf

กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5 Es) สร้างพันธะทางใจ Engagement ประเมิน Evaluation สำรวจ/ค้นหา Exploration วงจรการสืบเสาะ Inquiry cycle เพิ่มรายละเอียด Elaboration อธิบาย Explanation http://www.growinginthegarden.org/results.html

STAD (Student Teams-Achievement Divisions) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) Group Investigation  STAD (Student Teams-Achievement Divisions) Think-Pair-Share Jigsaw etc. http://www.worksheetlibrary.com/teachingtips/cooplearning.html

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 1. เสนอปัญหา (Introduce Problem) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 2. อ่านอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Reading) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 3. อภิปรายกลุ่ม (Group Discussion) 3.1 คิดค้นคำตอบ 3.2 เสนอเค้าโครง/แนวคิด 3.3 กำหนดบทบาทกลุ่ม http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 4. เสนอคำตอบต่อกลุ่ม (Propose Solution) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 5. สร้างชิ้นงานกลุ่ม (Group Product) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 6. เสนอผลงานกลุ่ม (Present solution) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 7. ไตร่ตรองร่วมกันทั้งห้อง (Class Reflection) 7.1 อภิปรายกลั่นกรอง 7.2 สังเคราะห์การเรียนรู้ 7.3 ประเมินเพื่อน/ตนเอง http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem-Based Learning (PBL) 8. ประเมินผลการเรียนรู้ (Evaluate Learning) http://www.vcu.edu/cte/resources/nfrg/11_07_problem_based_learning.htm

การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน Research-Based Learning (RBL) โครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยของ สพฐ. กำหนดขั้นตอนสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยนักเรียนใช้กระบวนการวิจัย ดังนี้ ตั้งคำถาม (Question) เตรียมการค้นหาคำตอบ (Plan) ดำเนินการค้นหาและตรวจสอบคำตอบ (Action, Observation and Reflection) สรุปและนำเสนอผลการค้นหา (Conclusion and presentation) http://www.research-culture.net/

การเรียนรู้จากการทำโครงงาน การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน Research-Based Learning (RBL) การเรียนรู้จากการทำโครงงาน โครงงาน เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาตามความถนัดและความสนใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ โดยได้รับคำแนะนำดูแลจากอาจารย์ที่ปรึกษา และ/หรือผู้ทรงคุณวุฒิ

การไตร่ตรอง (Reflection) การพิจารณา ทบทวน ตรวจสอบ และขจัดความขัดแย้งทางความคิด ระหว่างบุคคล ภายในตนเอง และระหว่างความเชื่อกับผลเชิงประจักษ์

Visual-Based Learning แผนภาพ (Diagram) ผังมโนทัศน์ (Concept Map) แผนที่ความคิด (Mind Map) ฯลฯ http://www.oid.ucla.edu/about/units/tatp/old/lounge/pedagogy/downloads/active-learning-eric.pdf

ตัวอย่างแผนภาพ วงจรเครื่องส่ง วิทยุ KY-2 วิทยุกระป๋อง 2 ช่อง 2 มอเตอร์ เลี้ยวโดยการดับมอเตอร์ http://www.ifomodel.com/th/index.php?option=com_content&task=view&id=138&Itemid=155

ตัวอย่างผังมโนทัศน์ http://std.kku.ac.th/5140500172/learn_base/learn_base_iden1.html

ตัวอย่างแผนที่ความคิด http://www.gotoknow.org/blogs/posts/196051

แหล่งทรัพยากรสำหรับ Visual-Based Learning http://www.glocalization.org/ ภก. ดร.ประชาสรรค์ แสนภักดี http://sourceforge.net/projects/freemind โปรแกรม freemind http://www.inspiration.com/ โปรแกรม inspiration, kidspiration

ทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ หลักสูตรฯ 2551 สาระที่ 6 มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

คุณภาพผู้เรียน จบชั้น ป. 6 วิทยาศาสตร์ หลักสูตรฯ 2551 จบชั้น ป. 6   ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูล และสื่อสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบ   

คุณภาพผู้เรียน จบชั้น ม. 3 วิทยาศาสตร์ หลักสูตรฯ 2551 จบชั้น ม. 3   ตั้งคำถามที่มีการกำหนดและควบคุมตัวแปร คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง วางแผนและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้   

คุณภาพผู้เรียน จบชั้น ม. 6 วิทยาศาสตร์ หลักสูตรฯ 2551 จบชั้น ม. 6    ระบุปัญหา ตั้งคำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต่างๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่งตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่เป็นไปได้

คุณภาพผู้เรียน จบชั้น ม. 6 วิทยาศาสตร์ หลักสูตรฯ 2551  วางแผนการสำรวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบคำถาม วิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์หรือสร้างแบบจำลองจากผลหรือความรู้ที่ได้รับจากการสำรวจตรวจสอบ

คุณภาพผู้เรียน จบชั้น ม. 6    วิทยาศาสตร์ หลักสูตรฯ 2551  สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   

ทำให้คุณภาพผู้เรียน ในทุกระดับเป็นจริง ด้วย การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning