การจำลองตัวเองของ DNA (DNA replication)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
Advertisements

Sarote Boonseng Nucleic acids.
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
เสนอ อ.สุพิน ดิษฐสกุล.
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
Entity-Relationship Model E-R Model
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สาเหตุโรครวงไหม้ของข้าวในประเทศไทย
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
ยีนและโครโมโซม.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Input Output System
ยีน และ โครโมโซม.
การคายน้ำของพืช.
โดย ครูสุดารัตน์ คำผา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis)
แผ่นดินไหว.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ชีวโมเลกุล.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจำลองตัวเองของ DNA (DNA replication) คุณสมบัติประการหนึ่งของ DNA คือ การจำลองตัวของ (DNA replication) ซึ่งเกิดในระยะ S ของวัฏจักรของ ลิกส์ดยวัตสัตกับคริกค์กล่าวว่า เมื่อ DNA จะมีการจำลองตัวเองสายพอลินิว คลีโอไทด์ (polynucleotide) จะแยกออกจากกันโดยการสลายของพันธะไฮโดรเจนระหว่างคู่เบส แล้วแต่ละสายของพอลินิวคลีโอไทด์จะทำหน้าที่เป็นแม่พิมพ์ (template) โดยการใช้นิวคลีดอไทด์เดียวมาเชื่อมต่อกัน นั่นคือ ในแต่ละโมเลกุลของ DNA ที่สร้างขึ้นจะมีพอลินิวคลีโอไทด์สายเก่า 1สาย และสายใหม่ 1 สาย จึงเรียกการจำลอง DNA ดังกล่าวว่า การจำลองวิธีกึ่งอนุรักษ์ (semicon servative replicaton)

Semi – conservative replication (กึ่งอนุรักษ์) DNA Replication  เกิดในระยะ S – phase ของ mitosis หรือ Interphase – I ของ meiosis Semi – conservative replication (กึ่งอนุรักษ์)

ขั้นตอน : DNA Replication H – bond ระหว่างคู่เบส สลายโดย Helicase C  G สังเคราะห์ Polynucleotide สายใหม่เริ่มจาก 53 ต่างกัน 2 แบบ สังเคราะห์จาก 5 ล่าง  3 บน ใช้ Nucleotide อิสระเดี่ยวๆ มาเชื่อมต่อกันโดย DNA polymerase สังเคราะห์จาก 5 บน  3 ล่าง ใช้ Okazaki fragment โดย DNA ligase เป็นตัวเชื่อม Polynucleotide 2 สาย (1 เก่า, 1 ใหม่) พันรอบกันบิดเป็นเกลี่ยว DNA 2 โมเลกุล

ใช้ nucleotide อิสระเดี่ยวๆ เชื่อมต่อกน ใช้ okazagi fragmant เชื่อมต่อ 5 3 Direction of movement of replication fork ทิศทางแยกเส้น  Helicase  H-bond สลาย A = T C = G  Leading strand ใช้ nucleotide อิสระเดี่ยวๆ เชื่อมต่อกน ใช้ DNA polymerase  Lagging strand ใช้ okazagi fragmant เชื่อมต่อ โดยใช้ DNA ligase Okazaki fragrant = 1,500 – 2,000 nucleotides 1 chromosome มี 2 DNA (2 chromatids)

โอคาซากิ (Okazaki) นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น พบว่า การสังเคราะห์ DNA เส้นใหม่ขึ้นมาจะต้องมีการสังเคราะห์เป็น 2 แบบ ซึ่งการสร้างสายใหม่มีความยุ่งยากพอสมควร เนื่องจากสังเคราะห์ DNA จะเกิดขึ้นในในทิศทางจาก 5 ไป 3 เท่านั้น การสังเคราะห์ DNA สายหนึ่งเกิดขึ้นได้ไม่ยาก เพราะสายที่เป็นต้นแบบ (template) การแยกตัวในทิศทาง 3 ไป 5 จึงสร้างสายใหม่เป็นเส้นยาวๆ มาเข้าคู่ในทิศทาง 5 ไป 3 ได้ทันที สายที่สร้างใหม่ที่มีทิศทางจาก 5 ไป 3 นี้เรียกว่า สายนำ (leading strand) ส่วนการสังเคราะห์อีกสายหนึ่งนั้นสายต้นแบบมีการแยกตัวไปในทิศจาก 5 ไป 3 สายใหม่ที่สร้างขึ้นจึงต้องสร้างทีละช่วงได้เป็นชิ้นส่วนสั้นๆ ประมาณ 1,000-2,000 นิวคลีโอไทด์ เรียกว่า Okazaki fragment ก่อน แล้วจึงเชื่อมต่อสายยาวเส้นเดียวภายหลังเมื่อปลาย 3 มาอยู่ชิดกันปลาย 5 ของอีกเส้นที่อยู่ข้างๆ โดยอาศัยเอนไซม์ดีเอ็นเอไลเกส (DNA ligase) สายที่สร้างโดยวิธีนี้ เรียกว่า สายตาม (lagging strand)

หมายเหตุ แบคทีเรียจะมีโครโมโซม 1 อัน แต่มีพลาสมิดได้หลายอัน 1 กิโลเบส = 1,000 คู่เบส 1 เมกะเบส = 1,000,000 คู่เบส

Polymer ที่ประกอบด้วย nucleotide RNA Polymer ที่ประกอบด้วย nucleotide Ribose (C5H10O5) P N–base Purine Pyrimidine A และอื่น G C U (Uracid) ไม่มี T

สิ่งเปรียบเทียบ DNA RNA 1. ชนิดน้ำตาล ดีออกซีไรโบส (C5H10O4) ไรโบส (C5H10O5) 2. หมู่ฟอสเฟต มี 3. ชนิดเบส A, G, C, T A, G, C, U 4. โครงสร้างโมเลกุล ส่วนใหญ่เป็นเกลียวคู่ (A + G/T + C = 1) โดยอาจเป็นเส้นตรง หรือเป็นวงก็ได้ บางชนิดเป็นสายเดี่ยว (A + G/T + C  1) โดยอาจเป็นสายตรงหรือเป็นวงก็ได้เช่นกัน ส่วนใหญ่เป็นสายเดี่ยว (A + G/T + C  1) มีบางชนิดเป็นสายคู่ (A + G/T + C = 1) ซึ่งทั้ง 2 แบบ เท่าที่พบไม่เป็นวง

สิ่งเปรียบเทียบ DNA RNA 5. ขนาดโมเลกุล ใหญ่กว่า เล็กกว่า 6. ปริมาณ น้อยกว่า มากกว่า DNA 5 – 10 เท่า 7. หน้าที่ - เป็นสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ เป็นต้นแบบในการสังเคราะห์โปรตีน - เป็นสารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น ไวรอยด์ และไวรัสที่ทำให้เกิดไข้หวัดใหญ่ (influenza), โปลิโอ (polio virus), เอดส์ (AIDS), ใบด่างของยาสูบ (Tobacco mosaic virus) เป็นต้น - เป็นหน่วยปฏิบัติงานในการสังเคราะห์โปรตีน

(มากสุด) (ปานกลาง) (เล็กสุด) ชนิดของ RNA ประมาณ ในเซลล์ ขนาดโดย ปริมาณ (นิวคลีโอไทด์) จำนวนชนิด ต่างๆ ใน เซลล์ โดยประมาณ หน้าที่ 1. rRNA 80 - 85% (มากสุด) 120 - 5,000 (ปานกลาง) 3 - 4 1. เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม 2. เป็นแหล่งยึดของ mRNA ในกระบวนการถอดรหัสของการสร้างโปรตีน 2. tRNA 10 - 15% 75 - 90 (เล็กสุด) 80 - 100 1. เป็นตัวแปลรหัสพันธุกรรม mRNA 2. ปลายสุดข้างหนึ่งของโมเลกุลเป็น anticodon ที่สัมพันธ์กับ codon บน mRNA 3. เป็นตัวนำกรดอะมิโนไปยังแหล่งสร้างโปรตีน

ไม่แน่นอนอาจมีขนาดตั้งแต่ 300 - 12,000 ชนิดของ RNA ประมาณ ในเซลล์ ขนาดโดย ปริมาณ (นิวคลีโอไทด์) จำนวนชนิด ต่างๆ ใน เซลล์ โดยประมาณ หน้าที่ 3. mRNA 5 - 10% ไม่แน่นอนอาจมีขนาดตั้งแต่ 300 - 12,000 (ใหญ่สุด) หลายพัน เป็นตัวถอดรหัสพันธุกรรมจาก DNA ดังนั้นในโมเลกุลจึงประกอบด้วยรหัสพันธุกรรม (codon) 4. scRNA (small cytoplasmic RNA) - 90 - 330 หลายสิบ 5. snRNA (small nuclear RNA) - 58 – 220 หลายสิบ 6. hnRNA (hetergeneous nuclear RNA) - ไม่แน่นอน หลายพัน

Nucleic acid DNA RNA (Deoxyribonucleic acid) (Ribonucleic acid) Sugar : C5H10O4 N-base : A, G, C, T C5H10O5 A, G, C, U Structure : Linear Single strand Linear Single strand Double strands (-helix) Double strands (non-helix) Circular – Single strand Double strands