รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา การจัดบริการ Service Plan จังหวัดยะลา พญ.นิตยา ภูวนานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด ตัวชี้วัด อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ( 28 ต่อประชากรแสนคน ) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 (ต.ค.59-ม.ค.60) 36.59: แสนประชากร 31.93: แสนประชากร 7.59 : แสนประชากร ตัวชี้วัด ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลาย ลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ ผลการดำเนินงาน ร้อยละ100 โรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไป สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด
สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด การดำเนินการเปิดให้บริการห้องตรวจสวนหัวใจ การเปิดบริการยังต้องอาศัยทีมแพทย์จากหน่วยงานอื่นๆ ดังนี้ 21 ก.พ. 60 ทีมแพทย์และพยาบาล รพ.ราชวิถี มาประเมินความพร้อมบุคลากร เครื่องมือ สถานที่ 18 เมษายน 60 รพ.ราชวิถี ส่งทีมมาทำ CAG Pre Op จำนวน 9ราย และ CAG + PCI จำนวน 1ราย 18 เมษายน 60 รับการประเมินหน่วยบริการจาก สปสช. ไม่ผ่านการประเมิน ติดเงื่อนไข การมีแพทย์ Interventionist Plan MOU กับราขวิถี 22 พฤษภาคม 60 แพทย์จาก รพ. จุฬาลงกรณ์ ส่งทีมทำ CAG + PCI จำนวน 6 ราย
สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ มีผู้แสดงความจำนงขอบริจาคอวัยวะไตรมาส 1/60 จำนวน 15 ราย ปัจจุบันมีผู้แสดงความจำนงเพิ่มเป็น 69 ราย ( ณ เม.ย. 60 ) อวัยวะที่รับบริจาค จำนวน ( ราย ) ไต 67 ตับ หัวใจ ปอด 66 ดวงตา 24
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน การพัฒนาระบบ ECS คุณภาพ (ปี 2560 ไตรมาส1)
อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) PS score ≥ 0
การดำเนินงานสาขาอุบัติเหตุ ที่ผ่านมา - มีการใช้ Fast Track รวมใน Trauma level 1 ทุกประเภททั้งจังหวัด - ตั้ง TEAU ที่โรงพยาบาลยะลาและเบตง - มีการทำ Trauma สัญจร ที่ รพช ** ปัญหาการคัดกรอง Level ผู้ป่วยที่ รพช ** ปัญหาการขาดแคลน Neuro Surgeon
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน สาขาโรคมะเร็ง ลำ ดับ รายการ/ตัวชี้วัด Base Line 2560 อำเภอ รวมข้อมูล (ต.ค59.-ม.ค.60) 2558 2559 เมืองยะลา เบตง 1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ 80% 159 198 เป้าหมาย 58 2 60 120 150 ผลงาน 43 45 75.47 75.76 ร้อยละ/อัตรา 74.14 100 75 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 80% 104 108 51 - 72 74 40 69.23 68.52 78.43 1. การรักษามะเร็งเต้านมโดยการผ่าตัดผู้ป่วยจะสูญเสียภาพลักษณ์ และในสภาพ สังคม วัฒนธรรม 3 จังหวัด ต้องได้รับการยินยอมจาก สามี ก่อนการรักษา 2. มีความเชื่อในการรักษากับแพทย์ทางเลือกก่อน ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน
การดำเนินงานสาขามะเร็ง - มี อายุรแพทย์โรคมะเร็ง รับ refer ผู้ป่วย 3 จังหวัด - มีระบบ line consult onco 3 จังหวัด - เดือน ก.ค. 60 มี onco นรีเวช - มีการส่ง ยาเคมีบำบัด ไปให้โรงพยาบาลเบตง - วางแผนจัดประชุม update guideline
สาขาทารกแรกเกิด อัตราการตายของทารกอายุ ≤ 28 วัน (น้ำหนักแรกเกิด ≥ 500 กรัม) เป้าหมาย 4 : 1,000 ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 2558 2559 ไตรมาส 1 / 2560 2 / 2560 ทารกเกิดมีชีพทั้งหมด 10,919 8,415 2017 1981 จำนวนทารกแรกเกิดที่เสียชีวิตที่อายุ ≤ 28 วัน 51 47 10 6 อัตราการตายของทารกแรกเกิดอายุ ≤ 28วัน 4.67 5.59 4.96 3.03
ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/การแก้ไข 1. Preterm , LBW ลด preterm และ LBW (ดูแล preterm labor , antenatal steroid) 2. Birth asphyxia 2. เพิ่มศักยภาพ (therapeutic hypothermia) 3. Hospital acquired infection 3. การควบคุมป้องกันการติดเชื้อ (Hand hygiene) 4. ศักยภาพพยาบาลเฉพาะทาง 4. เพิ่มศักยภาพพยาบาลเฉพาะทาง ในการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด
Service plan ที่เป็นปัญหา
สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) ขั้นที่ 1 RDU 1 : ประเมินผลการดำเนินงาน (Output) ผลการดำเนิน 6 เดือน (8 รพ.) 1. การสั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติผ่านเกณฑ์ฯ ผ่าน 8 รพ. 2. การดำเนินงานของ PTC ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ผ่าน 3 รพ. 3. รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ 4. จัดทำฉลากยามาตรฐานและฉลากยาเสริม 13 กลุ่มยา 5. การส่งเสริมจริยธรรมฯ ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ผ่าน 6 รพ. โรงพยาบาลทุกแห่งต้องพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ RDU 1 ภายในปี 2560
ตัวอย่างฉลากยา เก่า ใหม่
4 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ประเด็น ภาพรวมทั้งจังหวัด 1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบในผู้ป่วยนอก (ร้อยละ 20 ) ไม่ผ่านทุกรพ. 32.56 2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก(ร้อยละ 20 ) (รพ. รามัน ผ่าน ) 31.48 3 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ( ร้อยละ40) ไม่ผ่านทุกรพ. 62.64 4 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด (ร้อยละ 10 ) ( รพ.ยะลา รพ.รามัน รพร.ยะหา ผ่าน ) 20.96 5 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบในผู้ป่วยนอก ( รพ.สต. ) (ร้อยละ 20 ) เครือข่าย เบตง ไม่ผ่าน 15.93 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก (ร้อยละ 20 ) ( รพ.สต ) ไม่ผ่านทุกเครือข่าย 36.24
สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ > ร้อยละ40 17.69 - ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ > ร้อยละ 50 18.92 - ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) > ร้อยละ 80 90.03 ข้อมูลจาก HDC 25 เม.ย.60
ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้
ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
ปัญหาอุปสรรค การแก้ไขปัญหา การจัดการรายกรณีได้ไม่ครอบคลุมเนื่องจากผู้ป่วยในพื้นที่มีจำนวนมากและมีปัญหาแตกต่างกัน คณะกรรมการ NCD Board ขาดความต่อเนื่องในการประชุมหาแนวทางแก้ไขปัญหา การนำเข้าข้อมูล จัดระบบการดูแลผู้ป่วย การดูแลต่อเนื่อง ให้ข้อมูลสุขภาพ การจัดการระบบฐานข้อมูล อบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การนิเทศ ติดตาม การแก้ไขปัญหา
ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่ส่งกลับไป รพช. / เยี่ยมบ้าน สาขาโรคไม่ติดต่อ (Stroke) อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (<ร้อยละ 7) ผลการดำเนินงาน 2.45 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่ส่งกลับไป รพช. / เยี่ยมบ้าน
สาขาสุขภาพทางช่องปาก ร้อยละ รพ.สต./ศสม. ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ≥ ร้อยละ 60 ผลการดำเนินงาน 56.18 อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในเขต ≥ ร้อยละ 35 ผลการดำเนินงาน 22.57
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ -ข้อจำกัดด้านการใช้กำลังคนร่วมกันภายในโซน รพสต. ทั้งทันตาภิบาลและ ผู้ช่วยเหลืองานทันตกรรม - คปสอ.มีนโยบายสนับสนุนการ จัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก นอกเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีการ ช่วยเหลือกันภายในโซน และจัดระบบส่งต่อ - สสอ. มีส่วนร่วมกำกับติดตาม และประเมินผล การจัดบริการ สุขภาพช่องปากเป็นโซน รพสต. -ระบบข้อมูลHDCการตรวจสอบข้อมูลลงข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ส่งไม่ทันเวลา -คุณภาพข้อมูล HDC - พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรโดยมีการอบรม เรื่องการบันทึกข้อมูลจากโปรแกรม JHCIS และ HOSXP
คลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่อำเภอเมือง (Primary Care Cluster) เครือข่าย ทีม ชื่อทีม สถานที่ทำการ ประชากร (คน) อำเภอเมือง 1 ธนวิถี เวชกรรม 1 ศสม.ธนวิถี 11,300 2 ผังเมือง 4 ศสม.ผังเมือง 4 8,048 3 ตลาดเก่า ศสม.ตลาดเก่า 11,894 การดำเนินงานในไตรมาสแรก ขึ้นทะเบียน PCC Mapping พื้นที่ กำหนดบุคลากรตามกรอบ จัดทำแนวทางการดำเนินงานของ PCC ร่วมกับเขตบริการสุขภาพที่ 12
จบการนำเสนอ