ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการของการอธิบาย
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การแก้ไขปัญหาสิทธิสตรีด้วย
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
แนวคิดทางการบริหารการพัฒนา Development Administration
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Galileo Galilei.
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
Scene Design and Lighting Week1-3
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
โอวาท๓ / ไตรสิกขา.
การประดิษฐ์ดอกกุหลาบ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ศาสนาเชน Jainism.
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนด์ ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนด์ Povlov Thorndike Watson Skinner

ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบคลาสสิค ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบคลาสสิค

พฤติกรรมเรสปอนเดนส์ (Respondent Behavior) หมายถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้า พฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ และทฤษฎีที่นำมาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้ เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theory)

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ (Classical Conditioning Thoery ) การเรียนรู้เกิดจากการนำสิ่งเร้าที่เป็น CS และUCS มาเสนอควบคู่กัน และสิ่งเร้านั้นมีลักษณะ ที่เป็นแรงเสริมตามธรรมชาติ

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคชองวัตสัน ( Watson ) การเรียนรู้เกิดจากความใกล้ชิดของสิ่งเร้ากับ การตอบสนองโดยไม่จำเป็นต้องมีการเสริมแรง การทดลอง หนูขาวกับอัลเบิร์ต

การทดลองเริ่มโดยผู้วิจัยเคาะแผ่นเหล็กให้ดังขึ้นให้เสียงดังกล่าวเป็นสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCS) ซึ่งจะก่อให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCR) คือ ความกลัว Watsonได้ใช้ หนูขาวเป็นสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข (CS) มาล่อหนูน้อยอัลเบิร์ต ซึ่งชอบหนูขาวไม่แสดงความกลัว แต่ขณะที่หนูน้อยยื่นมือไปจับเสียงแผ่นเหล็กก็ดังขึ้น ซึ่งทำให้หนูน้อยกลัว ทำคู่กันเช่นนี้เพียงเจ็ดครั้ง ในระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์ ปรากฏว่าตอนหลังหนูน้อยเห็นแต่เพียง หนูขาวก็แสดงความกลัวทันที

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เป็นเจ้าของทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นความสัมพันธ์ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เรียกทฤษฎีนี้ว่าทฤษฎีพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับ การตอบสนอง (Connectionism Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง

หลักการเรียนรู้ ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นำแมวไปขังไว้ในกรงที่สร้างขึ้น แล้วนำปลา ไปวางล่อไวนอกกรงให้ห่างพอประมาณ โดยให้แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะออกไปจากกรง จนกระทั่งเท้า ของมันไปเหยียบถูกคานไม้โดยบังเอิญ ทำให้ประตูเปิดออก หลังจากนั้นแมวก็ใช้เวลา ในการเปิดกรงได้เร็วขึ้น จากการทดลองธอร์นไดค์อธิบายว่า การตอบสนองซึ่งแมว แสดงออกมาเพื่อแก้ปัญหา ท เป็นการตอบสนองแบบลองผิดลองถูก การที่แมวสามารถ เปิดกรงได้เร็วขึ้น ในช่วงหลังแสดงว่าแมวเกิดการเรียนรู้ด้วยการสร้างพันธะหรือ ตัวเชื่อมขึ้นระหว่างคานไม้กับการกดคานไม้

กฎการเรียนรู้ จากการทดลองสรุปเป็นกฎการเรียนรู้ได้ดังนี้ 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law o f Exercise) 3. กฎแห่งความพอใจ (Law of Effect)

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทำของสกินเนอร์ Burrhus Skinner เป็นผู้คิดทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ พฤติกรรมส่วนใหญ่ แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง ไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้า

Skinner Box กล่องนี่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมมีคานหรือลิ้นบังคับ หลักการเรียนรู้ การศึกษาในเรื่องนี้ Skinner ได้สร้างกล่องขึ้นมา มีชื่อเรียนกว่า Skinner Box กล่องนี่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมมีคานหรือลิ้นบังคับ ให้อาหารตกลงมาในจาน เหนือคานจะมีหลอดไฟติดอยู่ เมื่อกดคานไฟ จะสว่างและอาหารจะหล่นลงมา Skinner Box นำนกไปใส่ไว้ ในกล่อง และโดยบังเอิญนกเคลื่อนไหวไปถูกคานอาหารก็หล่นลงมา อาหารที่นกได้นำไปสู่การกดคานซ้ำและการกดคานแล้วได้อาหาร

สิ่งเร้าใดที่ทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้น การเสริมแรง สิ่งเร้าใดที่ทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้น แล้วมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอีก มีความคงทนถาวร ตัวเสริมแรงทางบวก ตัวเสริมแรงทางลบ

สมาชิกในกลุ่ม นางสาวนงลักษณ์ เยาวลักษณ์ 493050045 – 3 นางสาวนงลักษณ์ เยาวลักษณ์ 493050045 – 3 นางสาวเสาวรักษ์ สุตะภักดี 493050075 – 4 นางสาวธีราภรณ์ สุ่มมาตย์ 493050365 – 5