คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การเขียนโครงร่างวิจัย
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
GDP GNP PPP.
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
การบริหารโครงการ Project Management
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ระบบเศรษฐกิจ.
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
Integrated Information Technology
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Microeconomics เศรษฐศาสตร์จุลภาค ดร.นิสิต พันธมิตร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ nisit@econ.cmu.ac.th 17/11/61

Outline บทนำ ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด ความยืดหยุ่น ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด ความยืดหยุ่น พฤติกรรมของผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต 17/11/61

Outline (ต่อ) ต้นทุนและรายรับจากการผลิต การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดที่มีการแข่งขัน โดยสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดปัจจัยการผลิต 17/11/61

บทที่ 1 “บทนำ” 17/11/61

ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ มาจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า “Oikonomikos” นักเศรษฐศาสตร์หลายท่านได้ให้ความหมายไว้ *Paul A.Samuelson *Alfred Marshall *Philip C. Starr *Roger N. Waud 17/11/61

ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์โดยสรุป วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์และสังคมในการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดและสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทางนำมาใช้ผลิตสินค้าและบริการสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่มากมายนับไม่ถ้วนโดยวิธีที่ประหยัดที่สุด 17/11/61

จากความไม่สมดุลระหว่างทรัพยากรที่มีอยู่กับ ความต้องการของมนุษย์ทำให้เกิด ปัญหาความขาดแคลน “ Scarcity ” 17/11/61

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ จะผลิตสินค้าอะไร (What) จะผลิตสินค้าอย่างไร (How) จะผลิตสินค้านั้นเพื่อใคร (For Whom) 17/11/61

สามแนวทางในการแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การใช้ระบบปฏิบัติตามประเพณีที่สืบทอดกันมา (Traditional System) การใช้ระบบวางแผนจากส่วนกลาง (Central-planned System) การใช้ระบบราคาตลาด (Market-price System) 17/11/61

ปัจจัยการผลิต ที่ดิน : ทรัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุ ป่าไม้ ที่ดิน : ทรัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุ ป่าไม้ แม่น้ำ น้ำมัน ฯลฯ ผลตอบแทน : ค่าเช่า แรงงาน : มีทักษะ ไม่มีทักษะ ผลตอบแทน : ค่าจ้าง 17/11/61

ทุน : เครื่องมือ เครื่องจักร โรงงาน สำนักงาน หรือเงินทุน ฯลฯ ผลตอบแทน : อัตราดอกเบี้ย ผู้ประกอบการ : ผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตทั้ง 3 ประเภทมาทำการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อออกจำหน่ายให้กับผู้บริโภค ผลตอบแทน : กำไร 17/11/61

สินค้าและบริการ สินค้า (Goods) หมายถึง ผลผลิตที่ผู้ผลิตทำให้เกิดขึ้นโดยการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆมาร่วมกันและสามารถสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ทั้งในปัจจุบันและเก็บสต๊อกไว้ใช้ในอนาคตได้ เช่น ตู้เย็น ทีวี รถยนต์ สบู่ ยาสีฟัน ฯลฯ บริการ (Services) หมายถึง ผลผลิตที่ไม่มีตัวตนซึ่งสามารถสนองความต้องการได้ในปัจจุบันแต่ไม่สามารถเก็บสต๊อกไว้ใช้ได้ในอนาคต เช่น ตัดผม ถอนฟัน โอนเงิน ฯลฯ 17/11/61

หน่วยเศรษฐกิจ หน่วยธุรกิจ (Firms)  รวบรวมปัจจัยการผลิตมาผลิตสินค้าและบริการ  นำสินค้าและบริการออกจำหน่ายให้กับผู้บริโภค หน่วยครัวเรือน (Households)  ขายปัจจัยการผลิต  ซื้อสินค้าและบริการจากผู้ผลิตมาบริโภค 17/11/61

วงจรเศรษฐกิจอย่างง่าย เงินค่าตอบแทนปัจจัยการผลิต (ตลาดปัจจัย) ปัจจัยการผลิต หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ สินค้าและบริการ (ตลาดผลผลิต) เงินค่าตอบแทนสินค้าและบริการ 17/11/61

ระบบเศรษฐกิจ ระบบคอมมิวนิสต์ (Communism) ระบบสังคมนิยม (Socialism) ระบบผสม (Mixed Economy) ระบบเสรีนิยมหรือทุนนิยม (Free Enterprise Economy) 17/11/61

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประชาชนทุกคนมีเสรีภาพในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการต่างๆ ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน มีเสรีภาพในการเลือกผลิตได้ตามความพอใจ ใช้ระบบราคาเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตัวอย่างประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจทุนนิยมได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฯลฯ 17/11/61

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม รัฐเข้าควบคุมกิจกรรมที่สำคัญที่เกี่ยวกับความมั่นคง และสวัสดิการเช่น ธนาคาร ป่าไม้ เหมืองแร่ อุตสาหกรรมหนัก ฯลฯ ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเล็ก ๆ น้อย ๆ และสามารถประกอบธุรกิจขนาดย่อมได้ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบนี้ได้แก่ พม่า ฮังการี ฯลฯ 17/11/61

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เอกชนสามารถถือครองทรัพย์สินได้มาก ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้โดยสมัครใจ รัฐเข้าดำเนินการเฉพาะกิจกรรมขั้นพื้นฐานที่สำคัญ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผสมได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ ฯลฯ 17/11/61

ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ รัฐเป็นผู้กำหนดว่าจะผลิตอะไร อย่างไร ให้ใคร ประชาชนไม่มีสิทธิ์เป็นเจ้าของทรัพย์สินใด ๆ เป็นระบบการวางแผนจากส่วนกลาง ตัวอย่างประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบนี้ได้แก่ จีน คิวบา ฯลฯ 17/11/61

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในส่วนย่อยๆ เช่น ผู้ผลิต ผู้บริโภค ตลาด อุปสงค์ อุปทาน การกำหนดราคา ฯลฯ เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวม เช่น รายได้ประชาชาติ การจ้างงาน การออม การลงทุน การค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ ฯลฯ 17/11/61

ข้อสมมติในทางเศรษฐศาสตร์ มนุษย์เป็นสัตว์เศรษฐกิจ (Economics Man) ความพอใจสูงสุด กำไรสูงสุด ผลตอบแทนสูงสุด ปัจจัยอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องคงที่ (Ceteris Paribus : Everything being equal) 17/11/61

วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ วิธีอุปมาน (Induction) เป็นการสร้างทฤษฎีโดยการรวบรวมข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาที่เราต้องการศึกษาแล้วนำมาวิเคราะห์หาข้อสรุปหรือหาความสัมพันธ์ระหว่างกันโดยกำหนดให้ปัจจัยอื่นๆคงที่ จากนั้นจึงทำการพิสูจน์ข้อมูลโดยใช้เหตุและผล 17/11/61

วิธีอนุมาน (Deduction) เป็นการสร้างทฤษฎีโดยเริ่มต้นจากการตั้งสมมติฐานโดยอาศัยเหตุและผล จากนั้นจึงทำการทดสอบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ถ้าหากสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้แสดงว่าสมมติฐานถูกต้องจึงสรุปออกมาเป็นทฤษฎีได้ 17/11/61

ชนิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (Positive Economics) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจในอดีต(What was) ปัจจุบัน(What is)และในอนาคต(What will be) เพื่อให้รู้ว่าปรากฏการณ์ต่างๆเกิดขึ้นอย่างไร โดยไม่มีการประเมินผลว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นดีหรือไม่ดี เพียงแต่ทราบว่ามีเหตุเกิดทำให้มีผลเกิดตามมา เช่นสินค้าขาดแคลน ทำให้ราคาสินค้าแพงขึ้น เป็นต้น 17/11/61

ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics) เป็นทฤษฎีที่อธิบายผลของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่า ดีหรือไม่ดี จากนั้นควรจะทำอย่างไรต่อไป (What ought to be) เพื่อให้เกิดความพอใจขึ้นในสังคม เช่น เมื่อสินค้าขาดแคลนและมีราคาแพง รัฐบาลควรทำการแก้ไขอย่างไรจึงจะดี เป็นต้น 17/11/61

นักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญ Adam Smith (1723-1790) Alfred Marshall (1842-1924) John Maynard Keynes (1883-1946) 17/11/61

Adam Smith เชื่อว่าระบบราคาจะทำให้การจัดสรรทรัพยากรมี ประสิทธิภาพสูงสุดโดยอาศัยการทำงานของมือที่มองไม่ เห็น (Invisible hand) เป็นที่มาของลัทธิเสรีนิยม ซึ่งเขียนในตำราเศรษฐศาสตร์ เล่มแรกของโลกที่ชื่อว่า“An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations” ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ 17/11/61

ใช้คณิตศาสตร์อธิบายเศรษฐศาสตร์ Alfred Marshall ใช้คณิตศาสตร์อธิบายเศรษฐศาสตร์ เสนอแนวความคิดเรื่อง การเปลี่ยนแปลงหน่วยสุดท้าย (Marginal Unit) และได้เสนอทฤษฎีว่าด้วยการผลิต ( Theory of the firms ) ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นทฤษฎี เศรษฐศาสตร์จุลภาคเล่มแรก ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ จุลภาค 17/11/61

John Maynard Keynes มีความเชี่ยวชาญในระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่และให้ความสำคัญกับระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวม เขียนหนังสือที่สำคัญคือ “The General Theory of Employment ,Interest and money” ในปี ค.ศ.1936 ซึ่งเป็นการปฏิวัติแนวคิดของสำนักคลาสสิก ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค 17/11/61

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ ฟังก์ชั่น สมการ กราฟ การเปลี่ยนแปลง ความชัน ค่าหน่วยสุดท้าย 17/11/61

ฟังก์ชั่น [Function] * การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป * การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป - ตัวแปรตาม (Dependent Variable) - ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) Y = f (X1 , X2 , X3,…, Xn ) เช่น Y = f (X1 , X2 , X3 , X4, X5 ) 17/11/61

Y คือ ปริมาณน้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 91 ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ โดยที่ Y คือ ปริมาณน้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 91 ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ X1 คือ ปริมาณกระบอกสูบเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมัน เบนซินเป็น เชื้อเพลิง (+ ) X2 คือ ระดับราคาน้ำมันเบนซินอ๊อกเทน 91 ( - ) X3 คือระดับราคาน้ำมันเบนซินอ็อกเทน 95 ( + ) X4 คือ ระดับรายได้ของผู้บริโภค (+ ) X5 คือ ระยะทางที่เดินทางด้วยรถยนต์ที่ใช้น้ำมัน เบนซิน ( + ) 17/11/61

เครื่องหมายที่กำหนด Y= f ( X1 , X2 , X3 , X4, X5 ) (+) (-) (+) (+) (+) (+) (-) (+) (+) (+) 17/11/61

สมการ (Equation) การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตาม (Y) กับตัวแปรอิสระ (X) ตัวเลขที่อยู่ข้างหน้าตัวแปรอิสระจะเรียกว่า“ค่าสัมประสิทธิ์” ค่าสัมประสิทธิ์ในสมการใดๆอาจมีค่าคงที่(Constant)หรือไม่ก็ได้ 17/11/61

รูปแบบของสมการ สมการกำลังหนึ่ง สมการกำลังสอง สมการไฮเปอร์โบลา .... สมการกำลังหนึ่ง สมการกำลังสอง สมการไฮเปอร์โบลา .... ในที่นี้ยกตัวอย่างสมการกำลังหนึ่ง ได้แก่ Y= 10 + 0.01X1 - 2X2 +3X3+ 0.001X4 + 0.07 X5 17/11/61

กราฟ [Graph] การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปร ขึ้นไป ตัวแปรตาม 1 ตัว (Y) , ตัวแปรอิสระ 1 ตัว (X) การสร้างกราฟ *แกนตั้งเป็นค่าของตัวแปรตาม(Y)* *แกนนอนเป็นค่าตัวแปรอิสระ(X)* 17/11/61

ลักษณะของกราฟ ถ้า X มีกำลังเป็น 1 จะได้กราฟเป็นเส้นตรง 17/11/61

สมมติสมการคือ Y= 50 - 2X ตัวอย่างสมการ ถ้าค่า X = 0 จะได้ค่า Y = 50 - 2 (0) = 50 plot จุด A ถ้าค่า X = 5 “ Y = 50 - 2 (5) = 40 “ B ถ้าค่า X = 10 “ Y = 50 - 2 (10) = 30 “ C ถ้าค่า X = 15 “ Y = 50 - 2 (15) = 20 “ D ถ้าค่า X = 20 “ Y = 50 - 2 (20) = 10 “ E ถ้าค่า X = 25 “ Y = 50 - 2 (25) = 0 “ F 17/11/61

แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบ Y A 50 B 40 C 30 D 20 E 10 F X 5 10 15 20 25 แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบ 17/11/61

Y= 10 + 5X X=0 จะได้ค่า Y=10+5(0) = 10 Plot ที่จุด A X=1 “ Y=10+5(1) =15 “-----” B X=2 “ Y=10+5(2)=20 “-----” C X=3 “ Y=10+5(3)=25 “-----” D 17/11/61

แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวก Y D 25 C 20 B 15 A 10 5 X 1 2 3 แสดงกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวก 17/11/61

การเปลี่ยนแปลง ( Delta ) เป็นการบอกค่าของตัวแปรที่เปลี่ยนไปจากค่าเดิม ใช้สัญลักษณ์ ( Delta ) นำหน้าตัวแปรนั้น เช่น X= 5 แปลว่า ค่า X เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 5 หน่วย X= - 3 แปลว่า ค่า X เปลี่ยนแปลงลดลง 3 หน่วย 17/11/61

ส่วนเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรบนแกนตั้ง ส่วนเปลี่ยนแปลงของตัวแปรบนแกนนอน ค่าความชัน ( Slope ) ส่วนเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรบนแกนตั้ง ค่าความชัน = ส่วนเปลี่ยนแปลงของตัวแปรบนแกนนอน Slope= Y X 17/11/61

การพิจารณาค่าความชันจากสมการ Y= 50-2X ค่าความชัน = -2 Y= 10+5X ค่าความชัน = +5 17/11/61

แสดงการหาค่าความชันของกราฟที่ได้เครื่องหมายลบ Y A 40 Y B 30 X D X 50 90 17/11/61

การหาค่าความชันของกราฟที่ได้เครื่องหมายบวก Y S B 100 Y A 60 X X 20 30 17/11/61

ค่าหน่วยสุดท้าย ( Marginal Value ) เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่งเมื่อค่าของตัวแปรอีกตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปหนึ่งหน่วย Y X X Y 17/11/61

ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด วิธีการ 1. นำสมการที่ได้มาหาค่าอนุพันธ์อันดับที่หนึ่ง 2. นำสมการที่ได้ในข้อที่ 1 มาเท่ากับ 0 แล้วแก้สมการ หาค่าตัวแปรซึ่งเรียกว่า จุดวิกฤต ซึ่งเป็นจุดที่สามารถให้ค่าสูงสุด หรือต่ำสุดก็ได้ 17/11/61

ถ้าค่าอนุพันธ์อันดับสองมีค่ามากกว่า 0 แสดงว่าจุดวิกฤตนั้นให้ค่าต่ำสุด 3. ถ้าต้องการทราบค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุดให้ทดสอบด้วยค่าอนุพันธ์อันดับสอง ถ้าค่าอนุพันธ์อันดับสองมีค่ามากกว่า 0 แสดงว่าจุดวิกฤตนั้นให้ค่าต่ำสุด ถ้าค่าอนุพันธ์อันดับสองมีค่าน้อยกว่า 0 แสดงว่าจุดวิกฤตนั้นให้ค่าสูงสุด 17/11/61

Y X Y X 17/11/61