MATLAB Basics charturong.ee.engr.tu.ac.th/CN208

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
Advertisements

การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
1.NET Framework Class อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การใช้งาน Microsoft Excel
นาย ชญานิน ฉวีอินทร์ รหัส กลุ่ม PE11 ตอนเรียน B06.
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
เรื่อง แนะนำโปรแกรม Microsoft excel หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
Number system (Review)
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
MATLAB Week 2.
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
Week 5 C Programming.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
Variable Constant.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
Chapter 3 : Array.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MATLAB Basics charturong.ee.engr.tu.ac.th/CN208 ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกสารประกอบการสอนนี้จัดทำโดย ดร.ทรงยศ นาคอริยกุล

Special Values MATLAB มีตัวแปรพิเศษซึ่งเก็บค่าไว้โดยอัตโนมัติ ไม่ต้องมีการกำหนด (initialize) จากผู้ใช้ ตัวแปรเหล่านี้ได้แก่ Function Purpose pi i, j Inf NaN clock date eps ans เก็บค่า เก็บค่าจำนวนเชิงซ้อน ค่าอินฟินิตี้ เช่น การหารตัวเลขด้วย 0 Not-a-Number เช่น การหาร 0 ด้วย 0 เก็บค่าของ ปี เดือน วัน ชั่วโมง นาที วินาที ในขณะนั้นใน row vector เก็บข้อมูลของวันในรูปแบบ char strings เช่น 23-Nov-2007 ~2.22×10-16 ค่าแตกต่างที่ต่ำสุดของสองตัวเลขในคอมพิวเตอร์ ตัวแปรที่ใช้เก็บผลลัพธ์ของ expression

ค่าตัวแปรพิเศษสามารถถูกเขียนทับหรือ overwritten ได้โดยผู้ใช้ ยกตัวอย่างเช่น >> area = pi*2^2; >> pi = 1; ในคำสั่งบรรทัดแรก ค่า area คือ 12.56 เพราะค่า pi คือ 3.14159 แต่ในคำสั่งบรรทัดที่สาม ค่า area คือ 4 เพราะค่า pi ถูกเขียนทับเป็น 1 ในบรรทัดที่สอง คำแนะนำ: ไม่ควรเขียนทับหรือให้ค่าใหม่กับตัวแปรพิเศษ เพราะว่า จะเป็นการยากแก่การเรียกค่าเดิมกลับ และ ในบางทีจะเป็น bugs ที่หายาก

Changing the Default Format MATLAB โดยปกติจะแสดงค่าของตัวเลขกับจุดทศนิยม 4 ตำแหน่ง หากผู้ใช้ต้องการเปลี่ยนการแสดงค่า ก็สามารถทำได้ด้วยการใช้คำสั่ง format ซึ่งมีคำสั่งดังนี้ Format Command Results Example format short format long format short e format short g format long e format long g 4 digits after decimal (default format) 14 digits after decimal 5 digits plus exponent 5 total digits with or without exponential 15 digits plus exponent 15 total digits with or without exponent 12.3457 12.34567890123456 1.2346e+001 12.346 1.23456789012345e+001 12.3456789012346

The disp function disp(x) ฟังก์ชั่นใช้แสดงข้อมูลที่เป็น array บนหน้าจอคอมพิวเตอร์โดยไม่แสดงชื่อของ array โดยที่ x เป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือตัวอักษร (text string) ฟังก์ชั่น disp ส่วนมากใช้ร่วมกับฟังก์ชั่น num2str (ฟังก์ชั่นนี้เปลี่ยนตัวเลขเป็น string หรือตัวหนังสือ) เพื่อจะแสดงข้อความในหน้าต่าง command ยกตัวอย่างเช่น >> str = ['The value of pi = ' num2str(pi)]; >> disp(str) MATLAB จะแสดงผลบนหน้าจอเป็น The value of pi = 3.1416

The fprintf Function fprintf ฟังก์ชั่นใช้แสดงผลบนหน้าจอเช่นเดียวกับ disp แต่สามารถแสดงผลได้กว้างและซับซ้อนกว่า disp fprintf มีแบบฟอร์มคือ fprintf(format, data) โดยที่ format เป็นข้อมูลตัวอักษรแบบ string และ data คือตัวเลขหรือ array ที่ต้องการแสดงผล ใน format จะมีตัวอักษรพิเศษซึ่งใช้แสดงข้อมูลของ data เช่น >>fprintf('The value of pi is %6.2f \n', pi) MATLAB จะแสดงผลบนหน้าจอเป็น The value of pi is 3.14 %6.2f บ่งบอกว่าข้อมูลใน data เป็นจำนวนจริง (floating point) และควรแสดงเป็นข้อมูลแบบอักษรที่มี 6 ตัวอักษร (char) รวมทั้งตัวเลขหลังจุดทศนิยม 2 ตำแหน่ง

Special Characters in fprintf Format Strings ตัวอย่างของตัวอักษรพิเศษที่ใช้ใน format ของคำสั่ง fprintf มีดังนี้ Format String Results %d %e %f \n \t Display value as an integer Display value in exponential format Display value in floating point format Skip to a new line Horizontal tab

The input Function เวลาที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการให้ผู้ใช้โปรแกรมป้อนข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ดให้ใช้คำสั่ง input ซึ่งคำสั่ง input จะแสดงเครื่องหมาย prompt บนหน้าจอเพื่อรอรับคำสั่งจากผู้ใช้ ยกตัวอย่างเช่น >> in1 = input(‘Enter data: '); Enter data: 1.23 ซึ่งในตัวอย่างนี้ ผู้ใช้ใส่ข้อมูล 1.23 ผ่านทางแป้นคีย์บอร์ด ตัวแปร in1 จะเก็บค่า 1.23 ซึ่งเป็นข้อมูลตัวเลข (double) หากต้องการที่จะเก็บเป็นข้อมูลตัวอักษร (character string) ให้ใช้คำสั่ง >> in2 = input(‘Enter data: ', 's'); ซึ่งจะเก็บข้อมูลเป็นแบบตัวอักษรในตัวแปร in2 เป็นต้น

Array and Matrix Operations Array operations คือการคำนวณระหว่าง arrays ในรูปแบบสมาชิกต่อสมาชิก (element-by-element basis) ซึ่งขึ้นกับตำแหน่งของสมาชิกในเมทริกซ์ ซึ่งจำนวนแถวกับคอลัมน์ของทั้ง 2 เมทริกซ์จำเป็นต้องเท่ากัน เช่น ในบางกรณี เราสามารถใช้ array operation ระหว่าง array กับ จำนวนจริง (scalar) เช่น Matrix operations คือการคำนวณในแบบพีชคณิตเชิงเส้น (linear algebra) เช่นการคูณในแบบเมทริกซ์ ตัวอย่างได้แก่

MATLAB ใช้เครื่องหมายพิเศษเพื่อแยกระหว่าง array operations กับ matrix operations โดยส่วนมาก array operations จะมีเครื่องหมาย จุด ก่อนเครื่องหมายคณิตศาสตร์ (ยกตัวอย่าง เช่น .*) ข้อแตกต่างระหว่าง array operations กับ matrix operations สามารถแสดงได้โดยตัวอย่างต่อไปนี้

Common Array and Matrix Operations MATLAB form Comments Array addition Array subtraction Array multiplication Matrix multiplication Array right division Array left division Matrix right division Matrix left division Array exponentiation a + b a – b a .* b a * b a ./ b a .\ b a / b a \ b a .^ b Array addition and matrix addition are identical Array subtraction and matrix subtraction are identical Element-by-element multiplication of a and b. Both arrays must be the same shape, or one of them must be scalar. Matrix multiplication of a and b. the number of columns in a must equal the number of rows in b. Element-by-element division of a and b: a(i,j)/b(i,j). Both arrays must be the same shape, or one of them must be scalar. Element-by-element division of a and b: b(i,j)/a(i,j). Both arrays must be the same shape, or one of them must be scalar Matrix division defined by a*inv(b) Matrix division defined by inv(a) * b Element-by-element exponentiation of a and b: a(i,j)^b(i,j) Both arrays must be the same shape, or one of them must be a scalar.

Example จงแก้สมการต่อไปนี้ สมการนี้สามารถเขียนในรูปเมทริกซ์ได้คือ AX = B โดยที่ โดยได้คำตอบคือ X = A-1B หรือ >> A \ B โดยใช้ MATLAB ซึ่งคำตอบก็คือ x = -6.3, y = 11.5, และ z = -3.5

Mathematical Functions Description abs(x) acos(x) angle(x) asin(x) atan(x) cos(x) exp(x) log(x) [value, index] = max(x) [value, index] = min(x) mod(x,y) sin(x) sqrt(x) tan(x) Calculates |x| Calculates cos-1x Returns the phase angle of the complex value x, in radians Calculates sin-1x Calculates tan-1x Calculates cos x, with x in radians Calculates ex Calculates the natural logarithm logex Returns the max value in vector x, and the location of that value Returns the min value in vector x, and the location of that value Returns the remainder of x/y Calculates sin x, with x in radians Calculates the square root of x Calculates tan x, with x in radians

Rounding Functions Function Description ceil(x) fix(x) floor(x) round(x) Rounds x to the nearest integer towards positive infinity: ceil(3.1) = 4 and ceil(−3.1) = −3 Rounds x to the nearest integer towards zero: fix(3.1) = 3 and fix(−3.1) = −3 Rounds x to the nearest integer towards minus infinity: floor(3.1) = 3 and floor(−3.1) = −4 Rounds x to the nearest integer: round(3.1) = 3 and round(−3.1) = −3

String Conversion Functions Description char(x) double(x) int2str(x) num2str(x) str2num('s') Converts a matrix of numbers into a character string Converts a character string into a matrix of numbers Converts x into an integer character string Converts x into a character string Converts the string s into a numeric array

Introduction to Plotting การวาดกราฟเพื่อนำเสนอผลการทดลองหรือผลงานวิจัยนับเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมาก โปรแกรม MATLAB มีฟังก์ชั่นซึ่งง่ายต่อการใช้ในการวาดกราฟทั้งแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ซึ่งในที่นี้เราจะพูดถึงฟังก์ชั่นบางฟังก์ชั่นซึ่งใช้ในการวาดกราฟแบบ 2 มิติดังนี้ plot area fill bar ezplot

The plot Function ฟังก์ชั่น plot(x,y) ใช้วาดกราฟ 2 มิติโดยที่เวกเตอร์ x ระบุตำแหน่งของจุดบนแกน x และ เวกเตอร์ y ใช้ระบุตำแหน่งของจุดบนแกน y โดยที่เวกเตอร์ x และ y ต้องมีขนาด (จำนวนสมาชิก) เท่ากัน ยกตัวอย่างเช่นหากเราต้องการวาดกราฟของฟังก์ชั่น y = x2-10x+15 โดยที่ค่า x เริ่มจาก 0 ถึง 10 ก็กระทำได้ดังนี้ >>x = 0:1:10; >>y = x.^2 – 10.*x + 15; >>plot(x,y) คำสั่งแรกสร้างตัวแปร x เป็นเวกเตอร์เริ่มจาก 0 ถึง 10 โดยใช้ colon operator คำสั่งที่สองสร้างตัวแปร y เป็นเวกเตอร์มีค่าตามสมการที่เรากำหนด (ใช้ array operation) คำสั่งที่สามใช้วาดกราฟ

MATLAB จะสร้างหน้าต่างใหม่สำหรับแสดงรูปภาพ (Figure Window) ซึ่งเป็นรูปภาพดังนี้

การเพิ่มชื่อและข้อมูลให้แก่รูปกราฟ การเพิ่มชื่อกราฟ (title) และแกน x และ y ทำได้โดยการใช้ฟังก์ชั่น title, xlabel, และ ylabel ตามลำดับ ฟังก์ชั่นเหล่านี้ต้องใช้กับข้อมูลตัวอักษร (string) เสมอ >>title('Plot of y = x.^2 – 10.*x + 15‘); >>xlabel('x'); >>ylabel('y'); การเพิ่มเส้น grid ให้แก่รูปกราฟ ให้ใช้คำสั่ง grid on และหากต้องการเอาเส้น grid ออกให้ใช้คำสั่ง grid off >>grid on;

การนำแกน x และแกน y ออกจากกราฟก็ทำได้โดยการใช้คำสั่ง axis off และการเติมแกน x และแกน y กลับใส่รูปกราฟ ให้ใช้คำสั่ง axis on ในบางครั้งหากเราต้องการกำหนดขนาดของแกน x และแกน y เพื่อความสวยงามต่อการนำเสนอ เช่นหากเราต้องการแสดงแกน x โดยที่ x มีค่าจาก -5 ถึง 15 และ แกน y จาก y มีค่า -15 ถึง 20 ให้ใช้คำสั่ง >>axis([-5 15 -15 20]) ข้อสังเกตุคือขนาดของแกน x และ y เปลี่ยนไปแต่กราฟยังมีลักษณะเช่นเดิม นั่นคือ เส้นกราฟไม่เปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของแกน x และ y

Multiple Plots การวาดหลายๆฟังก์ชั่นบนกราฟเดียวกันก็สามารถทำได้โดยการเขียนมากกว่า 1 คู่ของเวกเตอร์ในฟังก์ชั่น plot ยกตัวอย่าง หากเราต้องการวาดกราฟ f(x) = sin 2x และf(x) = cos 2x โดยมีจากค่า x จาก 0 ถึง 2*pi ทำได้โดยใช้คำสั่งต่อไปนี้ >>x = 0:0.1:2*pi; >>y1 = sin(2*x); >>y2 = cos(2*x); >>plot(x,y1,x,y2); คำสั่ง legend ใช้เพื่อระบุกราฟแต่ละกราฟบนรูปกราฟ (figure) ซึ่งใช้คำสั่งดังนี้ >>legend('sin 2x', 'cos 2x');

The hold Command ทุกๆครั้งที่คำสั่ง plot ถูกเรียกใช้ รูปกราฟ (figure) ใหม่จะถูกสร้างขึ้นและรูปกราฟจะถูกลบทิ้ง หากเราไม่ต้องการให้รูปกราฟเก่าถูกลบทิ้ง นั่นคือ เราต้องการให้คำสั่ง plot วาดกราฟใหม่ทับบนรูปกราฟเดิมก็ทำได้โดยการใช้คำสั่ง hold ซึ่งมีรูปแบบการใช้คือ >>hold on รูปกราฟใหม่จะถูกวาดทับลงบนรูปกราฟเก่า และ >>hold off รูปกราฟใหม่จะถูกสร้างใหม่ และรูปกราฟเก่าจะถูกลบทิ้ง คำสั่งต่อไปนี้จะแสดงผลเช่นเดียวกับคำสั่งในสไลด์ที่ 21 >>x = 0:0.1:2*pi; >>y1 = sin(2*x); >>y2 = cos(2*x); >>plot(x,y1); >>hold on; >>plot(x,y2); >>hold off;

Line Color, Marker Style, and Line Style ผู้ใช้สามารถกำหนดสี(color)ของเส้นกราฟ ชนิดของมาร์กเกอร์(marker)ของจุดข้อมูลบนเส้นกราฟ และ รูปแบบ(style)ของเส้น ซึ่งผู้ใช้สามารถกำหนดรูปแบบเหล่านี้ได้ในฟังก์ชั่น plot ในรูปแบบของ attribute character string ซึ่งใช้ 3 ตัวอักษร โดยที่ตัวอักษรตัวแรกระบุสีของเส้นกราฟ ตัวอักษรตัวที่สองระบุชนิดของมาร์กเกอร์และตัวอักษรตัวสุดท้ายระบุรูปแบบของเส้น โดยเขียนคำสั่งได้ดังต่อไปนี้ >>x = 0:1:10; >>y = x.^2 – 10.*x + 15; >>plot(x,y,'rx--') โดยที่ r ใน 'rx--' แสดงเส้นสีแดง x แสดงจุดมาร์กเกอร์แบบตัว x และ - - แสดงเส้นแบบประ

Table of Plot Colors, Marker Styles, and Line Styles Symbol Color Symbol Marker Symbol Linestyle b blue g green r red c cyan m magenta y yellow k black w white . point o circle x cross + plus sign * asterisk s square d diamond v triangle (down) ^ triangle (up) < triangle (left) > triangle (right) p pentagram h hexagram - solid line : dotted line -. dash-dot line -- dashed line

The area Function ฟังก์ชั่น area(x,y) ใช้งานเหมือนกับฟังก์ชั่น plot แต่ว่าพื้นที่ใต้กราฟจะถูกระบายสี มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ >> x = 0:.1:5; >>y = exp(x); >>area(x,y)

The fill Function ฟังก์ชั่น ใช้เติมสีให้กับรูปหลายเหลี่ยมซึ่งมีจุดพิกัดระบุโดยคอลัมน์เวกเตอร์ x และ y โดยที่สีจะถูกระบุโดย c ยกตัวอย่างเช่น >> x = [0.4;0.9;0.9;0.4;-0.4;-0.9;-0.9;-0.4]; >>y = [0.9;0.4;-0.4;-0.9;-0.9;-0.4;0.4;0.9]; >>fill(x,y,'r'); >>text(0,0,'STOP','Color',[1 1 1],'FontSize',80,… 'FontWeight','bold','HorizontalAlignment','center')

The bar Function ฟังก์ชั่น bar(x,y) ใช้แสดงค่ากราฟเป็นรูปแท่ง (bar) ยกตัวอย่างเช่น >>x = -2:0.2:2; >>y = exp(-x.*x); >>bar(x,y) ซึ่งMATLAB จะแสดงผล ดังรูปทางขวามือ

The ezplot Function ในกรณีที่ผู้ใช้ไม่ต้องการเสียเวลาระบุตำแหน่งของเวกเตอร์ x และ y ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ฟังก์ชั่น ezplot โดยที่ผู้ใช้จำเป็นต้องระบุสมการตัวเลขในรูปแบบ string expression เช่น >>istr = 'x^2 + y^2 - 4'; >>ezplot(istr, [-3 3 -3 3]); แสดงรูปวงกลมจุดศุนย์กลางที่ (0,0) และมีรัศมีเป็น 2

การเขียน M-file ในเวลาที่โปรแกรมมีขนาดเล็กไม่กี่บรรทัด ผู้เขียนสามารถใส่คำสั่งที่หน้าต่าง command โดยตรง แต่เมื่อขนาดของโปรแกรมใหญ่ขึ้น การใส่คำสั่งทีละบรรทัดจะไม่เป็นการสะดวก เพราะฉะนั้น MATLAB ให้ผู้โปรแกรมเขียนคำสั่งทั้งหมดใน script file หรือที่เรียกว่า M-file แล้วโปรแกรม MATLAB จะอ่านจากไฟล์นี้เหมือนกับคำสั่งในหน้าต่าง command ในการสร้าง M-file ใหม่ สามารถทำได้โดยการเลือกไปที่ File  New  M-file ซึ่งจะสร้างหน้าต่างใหม่ขึ้นมาสำหรับให้ผู้ใช้ใส่คำสั่งในหน้าต่าง text editor ผู้ใช้สามารถ save ไฟล์เหล่านี้ซึ่งจะเป็น .m เพื่อใช้แก้ไขในอนาคตได้ ในเวลาที่จะผู้ใช้ต้องการให้ MATLAB อ่านไฟล์ หรือ run โปรแกรม ให้ผู้ใช้ไปเลือกที่ปุ่ม run หรือกดปุ่ม F5 หรือใส่ชื่อ m file นั้นที่หน้าต่าง command แล้วกด enter

การใส่ comment ใน M-file ในการเขียนโปรแกรมที่ดี ผู้เขียนควรใส่ comment ให้ผู้ที่อ่านโปรแกรมเข้าใจในโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ซึ่งทำได้โดยการใช้เครื่องหมาย % โดยที่ตัวอักษรที่ถูกเขียนหลังเครื่องหมาย % จะไม่ถูกอ่านโดย MATLAB ในหน้าต่าง command ยกตัวอย่างเช่น % example1.m % written by Songyot Nakariyakul disp('Hello, world'); Comment lines