การเขียนผังงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การออกแบบ Design.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
Communication Software
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
การเขียนผังงานเบื้องต้น (Flow chart)
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การออกแบบและเทคโนโลยี
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flow chart)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
สาระการเรียนรู้ ความหมายของอัลกอริทึม วิธีการเขียนผังงานที่ดี
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
การเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนผังงาน

ความหมายของผังงาน ผังงาน คือ รูปภาพหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลำดับ หรือขั้นตอน ในโปรแกรม รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ที่จะใช้เป็นเอกลักษณ์ และ แทนความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง

เกี่ยวกับผังงาน ผังงาน (Flow chart) เป็นเครื่องมือแสดงขั้นตอนหรือกระบวนการ ทำงาน โดยใช้สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งในสัญลักษณ์จะมีข้อความสั้นๆ อธิบายข้อมูลที่ต้องการใช้ ผลลัพธ์ หรือคำสั่งประมวลผลของขั้นตอนนั้น แล้วเชื่อมโยงขั้นตอนเหล่านั้นด้วยเส้นที่มีลูกศรชี้ทิศทางการทำงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการ

งานด้านการเขียนโปรแกรม ไม่ว่าจะภาษาใดก็ตาม ควรจะเขียนขั้นตอนการ ทำงาน (Algorithm) ขึ้นมาก่อน ซึ่งผังงานเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรมมองเห็นภาพลำดับ ขั้นตอนการทำงานได้ชัดเจน เมื่อทำงานไปตามลำดับ ก็จะช่วยให้เราค้นพบปัญหาได้ง่ายขึ้นว่าเกิดข้อผิดพลาด ในขั้นตอนใด แต่หากไม่มีลำดับขั้นตอนแล้ว ก็จะทำแบบคิดไปทำไป ไม่มีลำดับความคิด หาก เกิดข้อผิดพลาดขึ้นก็จะแก้ปัญหาแบบไม่มีทิศทาง อาจจะเกิดความสับสนได้ จน อาจจะต้องมาเริ่มทำใหม่

โดยปรกติผังงานจะใช้เพื่อวางแผนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ก็สามารถ นำไปใช้ในงานอื่นได้เหมือนกัน เพราะมีวัตถุประสงค์เหมือนกัน คือ ชี้ให้เห็น ทิศทางการทำงาน และปฏิบัติตามขั้นตอนนั้นๆ โดยผังงานอาจจะแสดงภาพการ ทำงานโดยรวมของระบบ (System Flowchart) หรือแสดงรายละเอียดขั้นตอน การทำงาน (Program ​Flow chart) ก็ได้ ผังงานระบบ (System Flowchart) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มองเห็นภาพการ ทำงานกว้างๆของระบบหรือองค์กรว่าเริ่มต้นทำงานอย่างไร มีข้อมูลอะไรบ้าง มี กระบวนการทำงานหรือขั้นตอนอย่างไร ผลลัพธ์เป็นอย่างไร จนกระทั่งสิ้นสุด การทำงาน ผังงานโปรแกรม(Program Flowchart) มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงลำดับขั้นตอน การทำงานตั้งแต่เริ่มต้นรับข้อมูลอะไรมาบ้างนำข้อมูลมาทำอะไร ประมวลผล อย่างไร แสดงผลลัพธ์รูปแบบใด

วิธีเขียนผังงานที่ดี ควรเขียนขั้นตอนการทำงาน (Algorithm ก่อน) ทั้งหมดก่อนเขียนผังงาน (Flowchart) จะทำ ให้เพิ่มหรือลดขั้นตอนได้ง่าย และเขียนผังงานได้สะดวกขึ้น ใช้สัญลักษณ์ตามมาตรฐานของสถาบัน ANSI ข้อความที่ใช้ในสัญลักษณ์ควรจะเป็นข้อความสั้นๆ ที่อ่านเข้าใจและชัดเจน ขนาดของสัญลักษณ์ไม่ควรเล็กหรือใหญ่เกินไป ควรเขียนขั้นตอนจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา โดยเส้นที่เชื่อมขั้นตอนต้อง มีลูกศรกำกับทิศทางด้วย ควรเขียนผังงานให้จบภายในหน้าเดียวกัน

สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน ชื่อที่เรียก ความหมาย Terminator จุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุดของการทำงาน Flow line/Direction เส้นแสดงทิศทางการทำงาน ต้องมีหัวลูกศรเดียวเท่านั้น Process การปฏบัติงาน / ประมวลผล หรือกำหนดคค่าข้อมูลให้กับตัวแปร Input/Output รับ/แสดงผลข้อมูล ในกรณีที่ไม่ระบุอุปกรณ์ เช่นจากคีย์บอร์ด หรือแฟ้มข้อมูล หรือแสดงข้อมูลทางจอภาพเครื่องพิมพ์ หรือแฟ้มข้อมูลก็ได้

สัญลักษณ์ ชื่อที่เรียก ความหมาย Keyboard รับ/อ่านข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด Monitor แสดงรายละเอียดข้อมูล หรือผลลัพธ์ทางจอภาพ Printer แสดงรายละเอียดข้อมูล หรือผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์ Decision การเปรียบเทียบเพื่อให้ตัดสินใจเลือก โดยจะมีเส้นออกจากสัญลักษณ์นี้เพื่อขี้ทิศทางไปยังการทำงานตามเงื่อนไขที่เป็นจริง และเส้นที่ชี้ไปยังการทำงานตามเงื่อนไขที่เป็นเท็จ

Between-page connector สัญลักษณ์ ชื่อที่เรียก ความหมาย In-Paper Connector จุดเชื่อมต่อ ภายในหน้าเดียวกัน Between-page connector จุดเชื่อมต่อไปยังหน้าอื่น Manual Operator กระบวนการที่ทำโดยคน

รูปแบบของผังงาน มี 3 รูปแบบหลักๆ คือ แบบเรียงลำดับ (Sequence) แบบมีเงื่อนไข (Decision หรือ Selection) และแบบทำซ้ำ (Repeat หรือ Loop)

แบบเรียงลำดับ (Sequence) เป็นรูปแบบผังงานที่ง่ายสุด ไม่ซับซ้อน และไม่มีการเปรียบเทียบ เงื่อนไขใดๆโดยแสดงขั้นตอนการทำงานไปตามลำดับตั้งแต่ต้นจน สิ้นสุดกระบวนการ ดังตัวอย่าง การอุ่นอาหาร ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm) นำอาหารเข้าเตาไมโครเวฟ ตั้งระดับความร้อนและระยะเวลาที่ต้องการอุ่น เตาไมโครเวฟเริ่มกระบวนการอุ่นอาหาร เตาไมโครเวฟส่งสัญญาณเสียงเตือนอาหารสุก นำอาหารที่อุ่นสุกแล้วออกจากเตาไมโครเวฟ

ตั้งระดับ ความร้อนและเวลา เริ่มต้น นำอาหารเข้าไมโครเวฟ ตั้งระดับ ความร้อนและเวลา เตาไมโครเวฟอุ่นอาหาร เตือนอาหารสุกด้วยสัญญาณเสียง นำอาหารออกจากเตาไมโครเวฟ สิ้นสุด

แบบมีเงื่อนไข (Decision) เป็นรูปแบบของผังงานที่มีเงื่อนไขให้เลือกตัดสินใจ โดยเตรียมขั้นตอนการทำงานไว้รองรับ สำหรับเงื่อนไขนั้นๆดังตัวอ่าง การชำระค่าสินค้าที่ 7-Eleven ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm) นำสินค้าให้พนักงานคิดเงิน แสดงจำนวนเงินที่ต้องชำระบนหน้าจอของเครื่องคิดเงิน ชำระเงิน เงินสด ให้จ่ายเงินสด บัตรสมาชิก ให้แตะบัตรสมาชิกของ 7-Eleven รับสินค้า

เริ่มต้น นำสินค้าให้พนักงานคิดเงิน แสดงจำนวน ที่ต้องชำระ ชำระเงิน บัตรสมาชิก เงินสด แตะบัตรสมาชิก จ่ายเงินสด รับสินค้า สิ้นสุด

แบบทำซ้ำ (Loop) เป็นรูปแบบผังงานที่มีขั้นตอนการทำงานซ้ำๆโดยมีเงื่อนไขเป็นตัวควบคุมเช่นเมื่อ ตรวจสอบแล้วพบว่าเงื่อนไขเป็นจริง จึงทำงานขั้นตอนนั้นๆซ้ำๆ ซึ่งจะทำภายใต้ เงื่อนไขที่เป็นจริงเท่านัน (while..do) หรือให้ทำงานขั้นตอนนั้นซ้ำๆ จนกว่าเงื่อนไขจะ เป็นจริง (do..until) เป็นต้น ดังตัวอย่าง การซื้อบัตรโดยสารรถไฟฟ้า BTS ผ่านเครื่อง จำหน่ายบัตร ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm) 1. ดูหมายเลขสถานทีที่ต้องการ 2. กดหมายเลขสถานีปลายทางที่ต้องการ 3. หน้าจอของเครื่องจำหน่ายจะแสดงจำนวนเงินที่ต้องชำระ 4. หยอดเหรียญ 5,10 บาทลงในช่องรับเหรียญ ตามจำนวนเงินที่แสดงบนหน้าจอ

5. ตรวจสอบว่าเหรียญที่หยอดลงไปนั้นเป็นเหรียญ 5,10 บาทหรือไม่ ถ้าใช่ ให้ทำข้อ 6 ถ้าไม่ใช่ ให้กลับไปทำข้อ 4 6. ตรวจสอบว่าหยอดเหรียญครบตามจำนวนที่ต้องชำระหรือไม่ ถ้าครบให้ทำข้อ 7 ถ้าไม่ครบ ให้กลับไปทำข้อ 4 7. รับบัตรโดยสารรถไฟฟ้า BTS จากช่องรับบัตรโดยสาร

ดูหมายเลข สถานีที่ต้องการ หยอดเหรียญ 5,10 ตามจำนวนเงินที่แสดง เริ่มต้น ดูหมายเลข สถานีที่ต้องการ หยอดเหรียญ 5,10 ตามจำนวนเงินที่แสดง กดหมาย เลขสถานี ไม่ใช่ เหรียญ 5,10 แสดงยอดเงินที่ต้องชำระ ใช่ ชำระเงินครบ ไม่ครบ ครบ รับบัตรโดย สารรถไฟฟ้า BTS สิ้นสุด

ระดับเทคโนโลยี  1. เทคโนโลยีระดับพื้นบ้าน หรือระดับพื้นฐาน เป็นเทคโนโลยี แบบดั้งเดิมที่ไม่ซับซ้อนสำหรับการดำเนินชีวิต ผลิตจากวัสดุ อุปกรณ์และทรัพยากรตลอดจนแรงงานในท้องถิ่น เทคโนโลยี ในระดับพื้นบ้านเกิดจากการลองผิดลองถูกของภูมิปัญญา ชาวบ้านเป็นฐาน มีการทดลองและปรับปรุงแก้ไขด้วยตนเอง เช่น การนวดข้าวด้วยการใช้แรงงานสัตว์หรือคนย่ำบนรวงข้าว การนวดข้าวแบบฟาดข้าวกับวัสดุต่าง ๆ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่าง เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน หรือระดับพื้นบ้าน   2. เทคโนโลยีระดับกลาง เกิดจากการปรับปรุง พัฒนา เทคโนโลยีระดับพื้นบ้านขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการ การ ดำรงชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น เช่น การนวดข้าวโดยใช้ เครื่องยนต์ขนาดเล็ก ซึ่งสามารถนวดข้าวได้เร็วกว่าการใช้ แรงงานจากสัตว์หรือคน 3.เทคโนโลยีระดับสูง เป็นเทคโนโลยีที่นำความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และความรู้สาขาต่าง ๆ ที่มีความซับซ้อนมาก ขึ้นมาใช้เพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ์จนได้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ สูงขึ้น เช่น เครื่องเกี่ยวข้าวพร้อมกับนวดข้าว นอกจากจะทำ การนวดข้าวแล้ว ยังแยกเมล็ดข้าวเปลือกออกจากฟางข้าว นอกจากนี้อาจมีการใส่ระบบนำทางเพื่อช่วยในการคำนวณเวลาที่ ใช้ในการเก็บเกี่ยวอีกด้วย

การถ่ายทอดความคิด การออกแบบทางเทคโนโลยี เป็นการลำดับความคิดหรือจินตนาการเป็นขั้นตอน นำไปสู่การวางแผนแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ     ในขั้นตอนการลำดับความคิดหรือจินตนาการนี้ จะสามารถสื่อสารความคิดให้ผู้อื่นรับทราบได้โดย “การถ่ายทอดความคิด”       เนื่องจากความต้องการ หรือปัญหาของแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันไปตามปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น ลักษณะทางกายภาพของร่างกายมนุษย์ เพศ อายุ อาชีพ ความพึงพอใจ ดังนั้น สิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ จึงต้องออกแบบให้มีหน้าที่ใช้สอยที่เหมาะสมต่างกันออกไป เพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการในแนวคิดของแต่ละคน โดยถ่ายทอดความคิดออกมาในลักษณะของการวาดภาพ ซึ่งเป็นการสื่อสารที่ชัดเจนและเข้าใจตรงกัน เนื่องจากรูปภาพสามารถอธิบายให้รายละเอียดที่เป็นรูปธรรมมากกว่าคำพูด การวาดภาพเพื่อการสื่อสารจำเป็นต้องเรียนรู้ และเข้าใจหลักการวาดภาพ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารความคิดหรือแนวทางการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการอย่างสร้างสรรค์ ภาพร่าง 3 มิติ 1.1ภาพออบลิค 1.2 ภาพไอโซเมตริก 2..ภาพฉาย เป็นภาพที่แสดงรายละเอียดของแนวคิดในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการในแต่ละด้านของสิ่งที่จะสร้าง ตลอดจนมีรายละเอียดของแบบงานครบถ้วนสมบูรณ์ชัดจน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถนำไปสร้างขึ้น ตามแบบได้อย่างถูกต้อง ภาพฉายยังสามารถแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ได้ เช่น รูปร่าง ขนาด และผิวงาน ประกอบด้วยภาพด้านหน้า ด้านข้าง และภาพด้านบน แสดงขนาดด้านกว้าง ด้านยาว และความสูงหรือความลึกของชิ้นงานและหน่วยในการวัดขนาด เพื่อสามารถนำไปสร้างเป็นแบบจำลองหรือชิ้นงานของจริงได้ 3.แบบจำลอง (Model) เป็นการถ่ายทอดความคิดที่ใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการในรูปของชิ้นงาน 3 มิติ โดยจำลองรูปทรง ขนาด สัดส่วน โครงสร้าง และรายละเอียดเพื่อจำลองการทำงานของชิ้นงาน การสร้างแบบจำลองมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ตรวจสอบแนวคิดในด้านความงามของรูปทรง หน้าที่ใช้สอย ความแข็งแรงของโครงสร้าง ความสะดวกสบายในการใช้งาน รวมทั้งเพื่อทดสอบแนวคิดในรูปแบบ 3 มิติ ของสิ่งต่าง ๆ เช่น รถยนต์ เครื่องบิน อาคาร พืช คน สัตว์ สิ่งของ ย่อลงตามมาตราส่วน 4.ต้นแบบ ( Prototype) ต้นแบบ เป็นชิ้นงานจริงที่มีรูปทรง ขนาด สัดส่วน โครงสร้างที่แสดงรายละเอียดและการใช้งานตามที่ได้ออกแบบทุกประการ ซึ่งวัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่นำมาใช้ในการสร้างต้นแบบอาจเป็นวัสดุจริง หรือวัสดุทดแทนที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับที่กำหนดไว้ในภาพร่างก็ได้ ปัจจุบันการทำชิ้นงานต้นแบบ มีเทคโนโลยีให้เลือกใช้มากมายและสะดวกมากยิ่งขึ้น เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับเทคโนโลยีการออกแบบ 3 มิติ เช่น CAD/CAM เพื่อผลิตชิ้นงานต้นแบบขึ้นโดยตรง

ประโยชน์ของผังงาน การนำผังงานมาใช้ในการแสดงขั้นตอนการทำงาน ทำให้ทราบทิศทางการทำงาน ข้อมูล ที่ใช้ รวมถึงผลลัพธ์ ที่ได้จากการทำงานนั้น ซึ่งผังงานมีประโยชน์ต่อการทำงานมาก อาทิเช่น ผังงานอธิบายด้วยภาพสัญลักษณ์ และเส้นชี้ทิศทาง ทำให้มองเห็นลำดับขั้นตอน การทำงานชัดเจนและปฏิบัติตามได้ง่าย เมื่อมีขั้นตอนการทำงานที่ผิดพลาด จะทำให้มองเห็นข้อผิดพลาดได้ง่าย โดยเฉพาะ การเขียนโปรแกรมสามารถตรวจสอบและแก้ไขขั้นตอนที่เกิดปัญหาได้ โดยไม่ต้อง เริ่มไล่หาความผิดพลาดตั้งแต่ต้น สามารถนำผังงานไปใช้ได้กับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ทุกๆภาษา เนื่องจากผังงานเป็นเครื่องมือที่อธิบายขั้นตอนการทำงานซึ่งผู้เขียนโปรแกรม จะต้องสั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามขั้นตอนนั้นๆด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ที่แตกต่าง กันไป เช่น ภาษา C , Java,PHP หรือ ASP เป็นต้น