How To กับ 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน
Advertisements

สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
การวิเคราะห์งบการเงิน
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การเงินการคลัง โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2560
หน่วยบริการในเขตสุขภาพที่ 8
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การพัฒนางานเภสัชกรรม
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
PLANFIN 60 เขตสุขภาพที่ 12.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

How To กับ 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ กับ 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ แนวทางและเครื่องมือในการพัฒนา ประสิทธิภาพการเงินการคลัง หน่วยบริการสาธารณสุข ปี 2560 เภสัชกรดนุภพ ศรศิลป์ เลขาฯ คณะทำงานพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง 14 กันยายน 2559

ทำไมต้องมีเครื่องมือในการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการเงินการคลัง ใช้ในการวางแผนทางการเงินการคลัง พัฒนาระบบควบคุมภายใน บัญชีและประเมินประสิทธิภาพได้ 2. เพิ่มความสะดวกและความคล่องตัวให้ CFO และผู้บริหาร ประกอบการตัดสินใจในการบริหารเงินการคลัง 3. ช่วย CFO และผู้บริหาร ในการบริหารความเสี่ยงด้านการเงินการคลัง ได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถนำข้อมูลหน่วยงานมาเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างกันได้ พัฒนาไปสู่ข้อปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการกำกับดูแลกิจการที่ดี

แนวทางและเครื่องมือในการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารจัดการการเงินการคลัง 4 แนวทาง บริหารแผน ปรับประสิทธิภาพ ประเมินขบวนการ การเฝ้าระวัง 10 เครื่องมือ 1. แผนการเงินการคลัง (Planfin) 2. การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการลงทุน (Feasibility study) 3. หนังสือแสดงเจตจำนงปรับปรุงประสิทธิภาพ บริหารจัดการด้านการเงิน (Letter of Intent : LOI) 4. แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ (Performance Plan) 5. เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Administration Index : FAI) 6. เกณฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี (Account Audit Score) 7. ดัชนีวัดผลคุวบคุมภายในและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล (Risk Matrix Score) 8. ดัชนีวัดผลความเสี่ยงด้านการเงินการคลัง 7 ระดับ ( Financial Risk Score + 7 Plus Efficiency Score ) 9. ดัชนีเปรียบเทียบค่ากลางด้านการเงินการคลัง หน่วยบริการ (Financial Benchmarking Hospital Group Ratio : HGR) 10.ดัชนีวัดผลด้านประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร (Unit Cost)

10 เครื่องมือ ในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการเงินการคลัง เป้าหมาย 1. แผนการเงินการคลัง (Planfin) วินัยทางด้านการเงินการคลังการกำกับแผน มีการปรับแผนที่จัดทำและผลรายได้ และรายจ่าย ให้อยู่ในเป้าหมาย รายไตรมาส 2. การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการลงทุน (Feasibility study) การวิเคราะห์หาความคุ้มทุน อัตราผลตอบแทนการลงทุนครุภัณฑ์ การลงทุนอาคาร ตลอดจน การลงทุนร่วมกับภาคเอกชนสอดคล้องกับ Service Plan 3. หนังสือแสดงเจตจำนงปรับปรุงประสิทธิภาพ บริหารจัดการด้านการเงิน (Letter of Intent : LOI) การทำข้อตกลงร่วมกรณี หน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงินและรับเงินช่วยเหลือ มีการกำกับ การดำเนินงาน ผู้บริหารหน่วยบริการ จังหวัดและเขต 4. แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ (Performance Plan) มีแผนพัฒนาด้านรายได้ ลูกหนี้ ควบคุมรายจ่าย แผนลงทุนและแผนชำระหนี้ เพื่อแก้วิกฤติการเงิน การวัดผลการดำเนินการตาม (Letter of Intent : LOI) 5. เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Administration Index : FAI) พัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนทางการเงิน การควบคุมภายในและ ระบบบัญชีที่ดี 6. เกณฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี (Account Audit Score) บัญชีหน่วยบริการมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และพัฒนาไปสู่สารสนเทศทางการเงินให้ผู้บริหาร 7. ดัชนีวัดผลคุวบคุมภายในและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล (Risk Matrix Scoring) วิเคราะห์ประเด็นความเสี่ยงและการควบคุมภายในองค์กรให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 8. ดัชนีวัดผลความเสี่ยงด้านการเงินการคลัง 7 ระดับ ( Financial Risk Scoring ) การเฝ้าระวังผลความเสี่ยงทางการเงินใน 7 ระดับ 9. ดัชนีเปรียบเทียบค่ากลางด้านการเงินการคลังหน่วยบริการ (Financial Benchmarking Hospital Group Ratio: HGR ) เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วยบริการในระดับกลุ่มเดียวกัน โดยใช้ค่ากลางเทียบผลความแตกต่าง 10.ดัชนีวัดผลด้านประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร (Unit Cost) วิเคราะห์ประสิทธิภาพในการการใช้ทรัพยากร ต้นทุน บริหารแผน ปรับประสิทธิภาพ ประเมินขบวนการ การเฝ้าระวัง

หมวดการบริหารแผน เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 1. แผนการเงินการคลัง (Planfin) วินัยทางด้านการเงินการคลัง การกำกับแผน มีการปรับแผนที่ จัดทำและผลรายได้ และ รายจ่าย ให้อยู่ในเป้าหมาย ราย ไตรมาส - จัดทำแผนการเงินการคลัง : ข้อมูลในการจัดทำ : วิธีการประมาณการ : การตรวจสอบแผน - มีการปรับแผนกลางปี : รายได้และรายจ่ายให้สอดคล้อง : ให้เป็นไปตามเป้าหมาย - การกำกับบริหารแผน วัดผล ความแตกต่างรายหมวด ทั้ง รายได้และรายจ่าย : ผล – แผน : ผลงานปีนี้ – ผลงานปีก่อน : รายเดือน รายไตรมาส และสิ้นปี

1.แผนการเงินการคลัง (Planfin) หมายถึง แผนซึ่งแสดงรายละเอียดตัวเลขทางการเงิน ซึ่งเป็นการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าเกี่ยวกับการใช้ และ การได้มา จากดำเนินงานของหน่วยงานนั้น การจัดทำแผนการเงินสามารถทำได้ทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว จัดทำแผน กำกับแผน ปรับแผน ประเมินแผน

1.แผนการเงินการคลัง (Planfin) มี 6 แผน ย่อย คือ แผนประมาณการรายได้-ควบคุมค่าใช้จ่าย แผนจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ แผนบริหารจัดการลูกหนี้ แผนการลงทุนเพิ่ม แผนสนับสนุน รพ.สต.

การตรวจสอบการบริหารแผนการเงินการคลัง (PlanFin) 1.1 การบริหารงบประมาณภายใน CUP (แม่ข่ายและลูกข่าย) อย่างไร 1.2 แนวทางการจัดทำแผน เป้าหมายผลผลิต และแหล่งข้อมูล อย่างไร 1.3 วิธีการประมาณการ รายได้ และรายจ่าย รายหมวด มีเหตุผลการเพิ่มและ ลดอย่างไร เปรียบเทียบกับ CUP ในระดับเดียวกันแล้วเป็นอย่างไร 1.4 แผนจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีเหตุผลการเพิ่มและ ลดอย่างไร 1.5 แผนการลงทุน มีการจัดงบประมาณ ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กรอย่างไร 1.6 แผนการบริหารหนี้สินและการชำระหนี้ อย่างไร 1.7 แผนการบริหารและติดตามลูกหนี้อย่างไร 1.8 แผนบริหารงบลูกข่าย รพสต. อย่างไร 1.9 หน่วยบริการมีกลไกในการบริหาร กำกับ การใช้งบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนอย่างไร 1.10 การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน รายได้-รายจ่าย รายหมวด (ไตรมาสต่อไตรมาส) มีการวิเคราะห์สาเหตุในการเพิ่มขึ้น ลดลง รายหมวด เมื่อทราบ แผน-ผล แล้วหน่วยบริการมีแผนงาน/โครงการพัฒนาในการปรับเพิ่มประสิทธิภาพอย่างไร เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย

PlanFin รายจ่าย : ผลการดำเนินงาน Planfin60 (ผล-แผน) หน่วยบริการ หมวดรายจ่าย แผน รายได้ Planfin59 ผล เกิดขึ้นจริง ผล - แผน จำนวนเงิน % ผลต่าง ผล – แผน วิเคราะห์ เกิน/ต่ำ จากสาเหตุ แบบรายงาน PlanFin หน่วยบริการ สรุป ข้อเสนอ ปัญหา อุปสรรค:

PlanFin รายจ่าย : ผลการดำเนินงาน Planfin60 (ผล-แผน) หน่วยบริการ หมวดรายจ่าย แผน รายได้ Planfin59 ผล เกิดขึ้นจริง ผล - แผน จำนวนเงิน % ผลต่าง ผล – แผน วิเคราะห์ เกิน/ต่ำ จากสาเหตุ แบบรายงาน PlanFin หน่วยบริการ สรุป ข้อเสนอ ปัญหา อุปสรรค:

ความสำคัญของการประเมินความคุ้มค่าการลงทุน หมวดการบริหารแผน เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 2. การวิเคราะห์ความคุ้มค่า การลงทุน (Feasibility study) การวิเคราะห์หาความคุ้มทุน อัตราผลตอบแทนการลงทุน ครุภัณฑ์ การลงทุนอาคาร ตลอดจน การลงทุนร่วมกับ ภาคเอกชนสอดคล้องกับ Service Plan จัดทำการวิเคราะห์ความคุ้มทุน จาก อัตราคืนทุน Pay Back Period (PB) ในการลงทุน ผลตอบแทน - กรณีลงทุนเอง ให้เอกชนลงทุน (Out Sourcing) และลงทุนร่วมกับเอกชน เสนอพิจารณาทางเลือก ความสำคัญของการประเมินความคุ้มค่าการลงทุน การลงทุนต้องใช้เงินทุนจำนวนมาก ผลของการตัดสินใจผูกพันต่อการดำเนินงานเป็นเวลานาน หลายปี การตัดสินใจลงทุนอาจมีผลต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของกิจการ คิดทั้งผลตอบแทนที่มีตัวตนและไม่มีตัวตน ทางเศรษฐศาสตร์

การวิเคราะห์ความคุ้มทุน และ อัตราผลตอบแทน กรณีลงทุนเอง 2. ให้เอกชนลงทุน (Out Sourcing) 3. ลงทุนร่วมกับเอกชน วิธีระยะเวลาคืนทุน (Payback period : PB) ระยะเวลาคืนทุน = กระแสเงินสดจ่ายลงทุน กระแสเงินสดสุทธิรายปี : ประมาณการกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่าย : จุดคุ้มทุนถูกคำนวณมาจากกระแสเงินสดสะสม (Cumulative cash flow) : ประเมินความเสี่ยง : ระเบียบ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น การทำสัญญาร่วมทุน รัฐ-เอกชน (PPP), การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA)

หมวดการปรับประสิทธิภาพ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 3. หนังสือแสดงเจตจำนงปรับปรุง ประสิทธิภาพบริหารจัดการด้าน การเงิน (Letter of Intent : LOI)   การทำข้อตกลงร่วมกรณี หน่วย บริการประสบภาวะวิกฤติทาง การเงินและรับเงินช่วยเหลือ มี การกำกับ การดำเนินงาน ผู้บริหารหน่วยบริการ จังหวัด และเขต ทำหนังสือข้อตกลงร่วม - ผู้บริหารหน่วยบริการ - ผู้บริหารจังหวัดและ - ผู้บริหารเขต ในการปรับปรุงประสิทธิภาพ บริหารจัดการด้านการเงิน ตาม เวลากำหนด โดยมี - แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ และ - ระบบกำกับ ประเมินผล - ระบบรายงาน

หนังสือแสดงเจตจำนงรับเงินช่วยเหลือ (Letter of Intent; LOI) ผู้อำนวยการโรงพยาบาล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ผู้ตรวจราชการกระทรวง

ระบบการกำกับและรายงาน (LOI): 1.หน่วยบริการ: รายงานให้คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังจังหวัด (CFO จังหวัด) ทราบ ภายในวันที่ ๕ หลังทุกสิ้นเดือน 2.จังหวัด: รายงานให้คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตบริการสุขภาพ (CFO เขต) ทราบ ภายในวันที่ ๑๐ หลังทุกสิ้นไตรมาส 3.เขตสุขภาพ: รายงานให้กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รายไตรมาสทราบ ภายในวันที่ ๑๕ หลังทุกสิ้นไตรมาสและ รายปีภายในวันที่ ๓๐ หลังสิ้นปีงบประมาณ

หมวดการปรับประสิทธิภาพ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 4. แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ (Performance Plan)   มีแผนพัฒนาด้านรายได้ ลูกหนี้ ควบคุมรายจ่าย แผนลงทุนและ แผนชำระหนี้ เพื่อแก้วิกฤติ การเงิน การวัดผลการ ดำเนินการตาม (Letter of Intent : LOI) จัดทำ - แผนปรับระบบการบริหาร - แผนพัฒนาด้านรายได้ ลูกหนี้ - แผนควบคุมรายจ่าย - แผนลงทุนและ - แผนชำระหนี้ กำหนดให้มี มาตรการ เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา มีระบบรายงานผล ให้จังหวัด เขต ส่วนกลาง - รายเดือน - รายไตรมาส - สิ้นปี

แผนปรับเพิ่มประสิทธิภาพ (Performance Plan ) 1 แผนพัฒนาและปรับปรุงเชิงระบบ ปรับโครงสร้าง ระบบจัดเก็บรายได้ ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (ปรับระบบ) การปรับปรุงเชิงระบบ/ปรับโครงสร้าง ..................... การปรับปรุงพัฒนาเพิ่มผลผลิต/รายได้ ..................... การปรับปรุงระบบจัดซื้อจัดจ้าง ..................... 2 แผนฟื้นฟูทางการเงินการคลัง (เพิ่มสภาพคล่อง) แผนพัฒนาเพิ่มรายได้ ทุกหมวด : เป้าหมาย ................... บาท / ผลการดำเนินการ ................... บาท แผนควบคุม/ลดค่าใช้จ่าย ทุกหมวด : เป้าหมาย ................... บาท / ผลการดำเนินการ ................... บาท แผนเรียกเก็บลูกหนี้ ทุกหมวด แผนบริหารมูลค่าวัสดุคงคลังทุกประเภท : เป้าหมายลดลง ................... บาท (เป้าหมายสำรองคงคลังจำนวน .... เดือน) : ผลการดำเนินการลดลง ................... บาท (เหลือสำรองคงคลังจำนวน .... เดือน) 3 แผนการลงทุน (รักษาสมดุล) : ตามแผนการลงทุนและได้รับการอนุมัติจากจังหวัดและเขต 4 แผนการชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า (หนี้ลด) : เป้าหมายหนี้สินลดลง ................... บาท : ผลการดำเนินการหนี้สินลดลง ................... บาท 5 การปรับเพิ่ม LOI ตามที่คณะกรรมการ CFO เสนอ (ทำ/ต้องไม่ทำ) : ประเด็นที่ต้องทำ เพิ่ม : ประเด็นที่ต้องไม่ทำ *** ระบบรายงานส่งให้เขต ... ภายใน 15 วัน หลังสิ้นรายไตรมาสและภายใน 30 วันหลังสิ้นปีงบประมาณ ***

แผนปรับเพิ่มประสิทธิภาพ (Performance Plan) 5 แผน : ระบบการกำกับและรายงาน : 1. หน่วยบริการ : รายงานให้คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังจังหวัด (CFO จังหวัด ) ทราบ ภายในวันที่ ๕ หลังทุกสิ้นเดือน 2. จังหวัด : รายงานให้คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตบริการสุขภาพ (CFO เขต) ทราบ ภายในวันที่ ๑๐ หลังทุกสิ้นไตรมาส 3. เขตสุขภาพ : รายงานให้กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รายไตรมาส ทราบ ภายในวันที่ ๑๕ หลังทุกสิ้นไตรมาสและรายปี ภายในวันที่ ๓๐ หลังสิ้นปีงบประมาณ 5 แผน ปรับระบบ : ปรับการทำงาน เพิ่มสภาพคล่อง : เพิ่มรายได้ เพิ่มสภาพคล่อง : ควบคุมรายจ่าย สร้างสมดุล : แผนงบลงทุน หนี้ลด : ชำระหนี้ มาตรการ   มาตรการปรับเพิ่ม ประสิทธิภาพ เป้า หมาย กิจกรรมดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินงาน ผู้รับ ผิดชอบ ผลงานกับ เป้าหมาย ราย วิเคราะห์ ประเมิน ผล รายเดือน/รายไตรมาส รายเดือน/ รายไตรมาส 1 2 3 4

หมวดการประเมินขบวนการ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 5. เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง (Financial Administration Index : FAI) พัฒนาประสิทธิภาพการวางแผน ทางการเงิน การควบคุมภายใน และ ระบบบัญชีที่ดี ใช้แบบประเมินประเมิน ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลัง (FAI) ออกตรวจในหน่วยบริการทุกแห่ง ในเขต การคลัง ระบบข้ามจังหวัด โดยประเมินผลตามเกณฑ์ที่ ส่วนกลางกำหนด : รายไตรมาสและสิ้นปี

เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Administration Index : FAI) เกณฑ์ประเมินการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Administration Index : FAI ) หมายถึง เกณฑ์ที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขใช้เป็นเครื่องมือประเมินคุณภาพการบริหารจัดการการเงินการคลังโรงพยาบาลในสังกัด มีกรอบการประเมินผลการดำเนินงาน ๔ กิจกรรมหลัก ได้แก่ ๑. การพัฒนาระบบควบคุมภายใน (Internal Control :IC) น้ำหนักร้อยละ ๒๐ ๒. การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) น้ำหนักร้อยละ ๒๐ ๓. ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Management: FM) น้ำหนักร้อยละ ๓๐ ๔. การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ (Unit Cost : UC) น้ำหนักร้อยละ ๓๐

Hospital Grouping (2560) : Matrix Method Test โดย สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน (coefficient of variation: C.V.) ค่าส่วนความเบี่ยงเบนมาตรฐานคิดเป็นเปอร์เซนต์ของค่าเฉลี่ย Group Code Service Plan Type Beds Capacities Total Population Note 1 A >1000 2 >700 to <1000 3 <=700 4 S >400 5 <=400 6 M1 >200 7 <=200 8 M2 >100 9 <=100 10 F1 >=100,000 11 50,000-100,000 12 <=50,000 13 F2 >=90,000 14 60,000-90,000 15 30,000-=60,000 16 <=30,000 17 F3 >=25,000 18 15,000-25,000 19 <=15,000 20 Is. any Pop รพ.พื้นที่เกาะ ยกเว้นเกาะสมุย และเกาะภูเก็ต

หมวดการประเมินขบวนการ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 6. เกณฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี (Account Audit Score)   บัญชีหน่วยบริการมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และพัฒนาไปสู่ สารสนเทศทางการเงินให้ ผู้บริหาร ใช้แบบประเมินคุณภาพบัญชี - ของส่วนกลาง (กรณีเขตไม่มี) - แบบประเมินคุณภาพบัญชีเขต ออกตรวจในหน่วยบริการ ทุกแห่งในเขต โดยเฉพาะหน่วยบริการที่ ประสบวิกฤติด้านการเงินการคลัง ประเมินผลตามเกณฑ์ประเมิน คุณภาพบัญชีที่ส่วนกลางกำหนด หรือเกณฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี ของเขต : 1 ครั้งต่อปี

แบบประเมินคะแนนคุณภาพบัญชี จำนวน 899 ข้อ ลำดับ รายการ 1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2 ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล 3 ลูกหนี้อื่น 4 วัสดุคงเหลือ 5 สินทรัพย์หมุนวียนอื่น 6 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 7 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาล 8 เงินกองทุน/เงินรับฝาก/รายได้รับล่วงหน้า/ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 9 หนี้สินหมุนเวียนอื่นและหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 10 ทุน 11 รายได้ 12 ค่าใช้จ่าย เกณฑ์ผ่าน รวม > 80%

หมวดการประเมินขบวนการ เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 7. ดัชนีวัดผลควบคุมภายในและความ เสี่ยง ด้านธรรมาภิบาล (Risk Matrix Scoring) วิเคราะห์ประเด็นความเสี่ยงและ การควบคุมภายในองค์กรให้ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ใช้แบบประเมินคุณภาพควบคุม ภายในและความเสี่ยงด้าน ธรรมาภิบาล ออกตรวจในหน่วย บริการทุกแห่งในเขต โดยเฉพาะ หน่วยบริการที่ประสบวิกฤติด้าน การเงินการคลัง : 1 ครั้งต่อปี แบบประเมินระบบควบคุมภายใน และธรรมาภิบาล 5 หมวด 1,000 คะแนน ลำดับ รายการ คะแนนรวม 1 ด้านการเงิน 200 2 ด้านการจัดเก็บรายได้ 3 ด้านบริหารพัสดุ 4 ด้านบัญชีและงบการเงิน 5 ด้านบริหารความเสี่ยง เกณฑ์ผ่าน ทุกหมวด > 80%

การให้คะแนนที่แสดงความวิกฤติ 7 ระดับ หมวดการเฝ้าระวัง เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 8.ดัชนีวัดผลความเสี่ยงด้านการเงิน การคลัง ( Financial Risk Scoring )   การเฝ้าระวังผลความเสี่ยงทาง การเงินใน 7 ระดับ ประเมินผลความเสี่ยงทางการเงิน จากรายงานงบการเงินที่สอบทาน ถูกต้องแล้ว : รายเดือน รายไตรมาสและสิ้นปี การให้คะแนนที่แสดงความวิกฤติ 7 ระดับ ประเภทดัชนี้ชี้วัด น้ำหนักความรุนแรงของความเสี่ยง(Risk Score) 1.กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์ 1)CR<1.5 1 2)QR<1 3)Cash<0.8 2.กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน 1)แสดงฐานะทางการเงิน (ทุนหมุนเวียน) NWC<0 2)แสดงฐานะจากผลประกอบการ(กำไรสุทธิรวมค่าเสื่อม) NI<0 3.กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง 1)NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด <3 เดือน หรือ 2 2)NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด <6 เดือน

CASH Ratio 5.รายได้สูงกว่า (ต่ำกว่า) ค่าใช้จ่ายสุทธิ Net Income 1.อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน Current Ratio 2.อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนเร็วต่อหนี้สินหมุนเวียน Quick Ratio 3.อัตราส่วนเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต่อหนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงินสด CASH Ratio 4.ทุนสำรองสุทธิ Net Working Capital 5.รายได้สูงกว่า (ต่ำกว่า) ค่าใช้จ่ายสุทธิ Net Income

การวัดสถานะการเงิน 7 Plus Efficiency Score ปี 2560 ประสิทธิภาพการบริหารบริหารรายได้ ค่าใช้จ่าย-สินทรัพย์-เจ้าหนี้-ลูกหนี้-วัสดุคงคลัง 7 Risk Score 7 Plus Efficiency Score ระดับ 0-7 ระดับ 0-7 + Grading A – F ระดับ 7 ระดับ 7 มาก A มาก บอกได้แค่ ระดับ 7 ระดับ 6 A- ระดับ 5 B ระดับ 4 B- ระดับ 3 C ระดับ 2 C- ระดับ 1 D ระดับ 0 น้อย F น้อย เดิม ปรับใหม่ ความเสี่ยง ประสิทธิภาพ พัฒนา ปรับปรุง ประสิทธิภาพ การบริหาร Monitor รายเดือน Monitor รายไตรมาส

หลักเกณฑ์การวัดสถานะการเงิน ระดับ 7 Plus Efficiency Score ในการจัด Grade จำนวนข้อ ผ่าน (ข้อ) การจัด Grade 7 A 6 A- 5 B 4 B- 3 C 2 C- 1 D F เกณฑ์การให้คะแนน ผ่าน ไม่ผ่าน 1. ประสิทธิภาพการทำกำไร 1 2. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ 3. ระยะเวลาถัวเฉลี่ย ในการชำระหนี้การค้า 4.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ สิทธิ UC -OP/IP (AE) 5.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ สิทธิข้าราชการ 6.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ สิทธิประกันสังคม (ในเครือข่าย) 7. การบริหารสินค้าคงคลัง ด้านยา เวชภัณฑ์มิใช่ยาฯ

ตัวอย่าง Dash Board 7 Plus Efficiency Score แสดงผล 0A 1A 2A 3A 4A 5A 6A 7A 0A- 1A- 2A- 3A- 4A- 5A- 6A- 7A- 0B 1B 2B 3B 4B 5B 6B 7B 0B- 1B- 2B- 3B- 4B- 5B- 6B- 7B- 0C 1C 2C 3C 4C 5C 6C 7C 0C- 1C- 2C- 3C- 4C- 5C- 6C- 7C- 0D 1D 2D 3D 4D 5D 6D 7D 0F 1F 2F 3F 4F 5F 6F 7F มาก รพ ก ประสิทธิภาพ รพ ข รพ ค น้อย น้อย ความเสี่ยง มาก

หมวดการเฝ้าระวัง เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 9. ดัชนีเปรียบเทียบค่ากลางด้าน การเงินการคลังหน่วยบริการ ( Financial Benchmarking Hospital Group Ratio : HGR ) เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วย บริการในระดับกลุ่มบริการ เดียวกัน โดยใช้ค่ากลางเทียบ ผลความแตกต่าง ประเมินผลความแตกต่าง เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วย บริการในระดับกลุ่มบริการเดียวกัน : ค่าเฉลี่ย (Mean) : ค่าเฉลี่ย+ส่วนเบี่ยงเบน (Mean+1SD) จากฐานข้อมูลกลาง HGR หรือ โปรแกรมประมวลผล HGR : รายเดือน รายไตรมาสและสิ้นปี

Hospital Group Ratio : HGR version 5.0 สามารถดูจากเวป http://164.115.22.64/hgr/hgrindex.php จาก รหัส ร.พ.

ดัชนีเปรียบเทียบค่ากลางด้านการเงินการคลังหน่วยบริการ ( Financial Benchmarking Hospital Group Ratio : HGR ) การประเมินประสิทธิภาพทางการบริหารการเงินเปรียบเทียบกับ รพ. ระดับเดียวกัน Benchmarking วิธีการ จัดกลุ่ม รพ. ตาม Service Plan /ขนาดเตียง/จำนวนประชากร นำงบการเงินของหน่วยบริการที่มีกำไร มาหาค่ากลาง - ค่ากลางรายได้ - ค่ากลางค่าใช้จ่าย - ค่ากลางสินทรัพย์ - ค่ากลางหนี้สิน นำงบการเงินของ รพ.ตัวเอง ไปเปรียบเทียบกับค่ากลาง เพื่อดูในเชิงประสิทธิภาพการบริหาร

หมวดการเฝ้าระวัง เครื่องมือ เป้าหมาย วิธีการ 10. ดัชนีวัดผลด้านประสิทธิภาพใน การใช้ทรัพยากร (Unit Cost) วิเคราะห์ประสิทธิภาพในการ การใช้ทรัพยากร ต้นทุน OP และ IP เปรียบเทียบด้านรายจ่ายหน่วย บริการในระดับกลุ่มบริการ เดียวกัน โดยใช้ค่ากลางเทียบ ผลความแตกต่าง วิธี Unit Cost Quick Method เป็นอย่างน้อย ประเมินผลความแตกต่าง เปรียบเทียบด้านต้นทุนต่อหน่วย OP IP ในระดับกลุ่มบริการเดียวกัน : ค่าเฉลี่ย (Mean) : ค่าเฉลี่ย+ส่วนเบี่ยงเบน (Mean+1SD) : รายเดือน รายไตรมาสและสิ้นปี

UNIT COST QUICK Method เป็นการประมาณการต้นทุนแบบง่าย โดยใช้สมมติฐานว่าต้นทุนคิดเป็นสัดส่วนคงที่ เมื่อเปรียบเทียบกับราคาที่เรียกเก็บ (Cost to Charge ratio) โดยไม่คำนึงถึงว่าเป็นการให้บริการประเภทใด หรือกองทุนใด หลักการคิดต้นทุน ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน แบบ Quick Method 1. คำนวณ สัดส่วนต้นทุน กับ รายได้ * รายได้ (Charge) คือ รายได้การให้บริการ (หมวด 4) * ต้นทุน (Cost) คือ หมวด ค่าใช้จ่าย (หมวด 5) เนื่องจากค่าใช้จ่ายในหมวด 5 ไม่สามารถแยกได้ว่าเป็น OPD หรือ IPD จึงให้นำสัดส่วนของรายได้ในหมวด 4 ไปเป็นเกณฑ์การแบ่ง 2. เมื่อได้ค่าใช้จ่ายแล้ว ให้นำไปคิดต้นทุนโดย ต้นทุน OPD = ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก จำนวน visit ต้นทุน IPD = ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน SumAdjRw

UNIT COST QUICK Method รายได้ หรือ ราคา Charge (หมวด 4) มาจากรายได้การให้บริการทุกสิทธิ ทั้ง OPD & IPD (ไม่รวม ส่วนต่าง รายได้จากงบประมาณทุกประเภท รายได้ระหว่างกัน รายได้บริจาค รายได้ที่ไม่เกี่ยวกับการให้บริการ ) ค่าใช้จ่าย (หมวด 5) มาจากค่าใช้จ่ายที่เป็น ค่าแรง (LC) งบดำเนินงาน (MC) และ งบลงทุน ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจำหน่าย (CC) ....(ไม่รวมหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ)

UNIT COST QUICK Method ตัวอย่าง : การคำนวณหาต้นทุน OPD & IPD รวมรายได้ (หมวด4) 1,200.000 บาท ค่าใช้จ่าย ค่าแรง LC = 375,000 บาท ค่าใช้จ่าย ดำเนินงาน MC = 305,000 บาท ค่าใช้จ่าย ลงทุน CC = 205,000 บาท รวมค่าใช้จ่าย (หมวด5) 885,000 บาท ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก = 3/12 x 885,000 = 221,250 บาท ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน = 9/12 x 885,000 = 663,750 บาท

UNIT COST QUICK Method รพ.มีการให้บริการ OPD จำนวน 312 ครั้ง การให้บริการ IPD จำนวน SumAdjRW 43.88 ต้นทุนการให้บริการ OPD = 221,250/312 =709.13 บาท ต้นทุนการให้บริการ IPD = 663,750/43.88 =15,126.48 บาท

UNIT COST QUICK Method ค่า Mean+1SD ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอกและต้นทุนป่วยใน (Quick Method) ไตรมาส 2/2558 ลำดับ กลุ่มระดับบริการ Mean STDEV Mean+STDEV Unit Cost OPD Unit Cost RW 1 รพช.10BedsPOP<15000 798.43 19,305.91 264.57 4,442.22 1,062.99 23,748.12 2 รพช.10BedsPOP15000-25000 640.27 15,449.88 118.62 4,941.47 758.89 20,391.35 3 รพช.10BedsPOP>25000 593.61 14,734.62 242.60 4,683.69 836.21 19,418.31 4 รพช.30BedsPOP<20000 731.07 17,017.38 176.16 4,471.91 907.23 21,489.30 5 รพช.30BedsPOP20000-40000 642.00 14,175.77 138.85 3,976.21 780.86 18,151.98 6 รพช.30BedsPOP40000-60000 649.31 13,437.67 144.10 5,434.33 793.41 18,872.00 7 รพช.30BedsPOP60000-80000 681.63 15,853.56 135.55 817.18 21,287.89 8 รพช.60BedsPOP<40000 590.08 13,426.82 128.37 4,813.20 718.46 18,240.03 9 รพช.60BedsPOP40000-60000 595.23 13,071.75 115.13 3,389.53 710.37 16,461.29 10 รพช.60BedsPOP60000-80000 672.38 13,641.19 161.07 4,626.37 833.45 18,267.56 11 รพช.60BedsPOP80000-100000 615.48 13,861.15 83.48 2,600.61 698.96 16,461.77 12 รพช.90BedsPOP<60000 613.47 12,808.46 139.52 2,630.57 752.99 15,439.03 13 รพช.90BedsPOP60000-80000 606.70 11,436.58 150.12 3,811.01 756.82 15,247.60 14 รพช.90BedsPOP80000-100000 573.24 11,787.16 133.36 3,106.21 706.61 14,893.36 15 รพช.90BedsPOP100000-120000 586.45 13,714.62 100.11 4,671.51 686.56 18,386.13 16 รพช.120BedsPOP<100000 603.82 13,854.51 104.89 3,689.58 708.71 17,544.10 17 รพช.120BedsPOP100000-140000 636.68 15,553.52 173.34 6,731.48 810.02 22,285.00 18 รพช.150Beds 675.51 15,261.26 124.60 7,520.57 800.11 22,781.83 19 รพท.=/<200 713.12 18,204.28 213.90 7,580.40 927.02 25,784.68 20 รพท.200to300Beds 728.10 15,395.89 158.57 2,684.90 886.67 18,080.78 21 รพท.300to400Beds 816.22 14,441.57 146.83 2,253.73 963.04 16,695.30 22 รพท.400to500Beds 795.80 14,395.41 80.14 3,773.86 875.93 18,169.27 23 รพท.>500Beds 827.92 12,600.74 270.84 2,543.40 1,098.76 15,144.14 24 รพศ.=/<800Beds 1,021.75 12,795.07 293.35 2,642.99 1,315.10 15,438.07 25 รพศ.>800Beds 1,177.44 12,493.99 331.13 1,593.40 1,508.57 14,087.39

ระบบการกำกับและรายงาน เครื่องมือในการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารจัดการการเงินการคลัง แผน ปรับประสิทธิภาพ ประเมิน ขบวนการ เฝ้าระวัง การ

P D C A 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ PDCA Improve Improve Improve บริหารแผน ปรับประสิทธิภาพ ประเมินขบวนการ การเฝ้าระวัง - PlanFin - Feasibility Study - Letter of Intent (LOI) - Performance Plan - Financial Administration Index (FAI) - Account Audit Score - Risk Matrix Score - Financial Risk Score - Hospital Group Ratio (HGR) - Unit Cost Improve Improve Improve Peer Group Benchmark Best practice

4 แนวทาง 10 เครื่องมือ การดำเนินงานเชิงบูรณาการ พัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารจัดการการเงินการคลัง หน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข บูรณาการ บูรณาการผ่าน กก.7*7 + คทง.(1-5) + กก.5*5 + CFO และAuditor เขต “ความพอเพียง พัฒนาประสิทธิภาพ ข้อมูล บัญชี ควบคุมภายในธรรมาภิบาลและกำกับติดตาม” ขับเคลื่อน บูรณาการทีมงาน กำหนดเป้าหมาย จัดทำแนวทาง พัฒนาเครื่องมือ 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ บริหารแผน ปรับประสิทธิภาพ ประเมินขบวนการ การเฝ้าระวัง - Planfin - Feasibility Study - Letter of Intent (LOI) - Performance Plan - Financial Administration Index (FAI) - Account Audit Score - Risk Matrix Scoring - Financial Risk Score - Hospital Group Ratio (HGR) - Unit Cost พัฒนาเครื่องมือ Peer Group Benchmark Best practice ผลลัพธ์ การเปรียบเทียบตำแหน่ง ตามปัจจัย (ประเภท ขนาด เวลา และสถานการณ์เดียวกัน) เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ การเปรียบเทียบ เพื่อปรับเพิ่มประสิทธิภาพ ข้อปฏิบัติที่ดี การบริหารจัดการกำกับดูแลกิจการทีดี อย่างมีประสิทธิภาพ ยั่งยืนและโปร่งใส

บทวิเคราะห์และข้อเสนอแนะจากที่ประชุม 9 กันยายน 2559 ช่วยกันวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ ของรายงานในครั้งนี้ และพัฒนาระบบนำเสนอ วิเคราะห์ให้มากขึ้น หน่วยบริการหลายแห่งยังสถานะการเงินยังติดลบ จะทำอย่างไร และ หน่วยบริการที่บวก จะมาติดลบ หรือไม่ แนวโน้ม และ Forecast ในอนาคตสถานการณ์การเงิน จะเป็นอย่างไร เพื่อวางแผนบริหารได้ สร้างความยั่งยืน มี Road Map ในการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ที่มีมืออาชีพที่ปรึกษาด้านการเงินจากภายนอก ในการวางระบบ ร่วมกับ ทีม สป สธ. มี Timeline การพัฒนาระบบการเงินการคลังที่ชัดเจน ภายใน 1 เดือน

ขอบคุณและสวัสดี