งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์งบการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์งบการเงิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์งบการเงิน
กระบวนการค้นหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับฐานะการเงิน และ ผลการดำเงินงานของหน่วยงานแห่งหนึ่งจาก งบการเงินของหน่วยงานแห่งนั้น

2 วัตถุประสงค์การวิเคราะห์งบการเงิน
เพื่อใช้แก้ไขข้อบกพร่องทางการเงิน เพื่อใช้ตัดสินใจทางการเงิน เพื่อใช้วางแผนการเงินในอนาคต เพื่อใช้ประเมินผลการดำเนินงานและฐานะ การเงิน เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับการควบคุมภายใน เพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของการปฏิบัติ บัญชี

3 เทคนิคที่จะใช้การวิเคราะห์งบการเงิน
การย่อส่วนตามแนวโน้ม (Trend) การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนตามแนวตั้ง

4 เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังและกิจกรรมบริการ
1. งบทดลอง 2. งบแสดงผลการดำเนินงานรูปแบบการ บริหารจัดการ (Managerial accounting) 3. งบแสดงฐานะทางการเงิน (งบดุล) 4. งบกระแสเงินสดทางตรง 5. รูปแบบการวิเคราะห์ 6. ดัชนีชี้วัดทางการเงิน 7. ข้อมูลกิจกรรมบริการ

5 ขั้นตอนการวิเคราะห์งบการเงิน
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในงบการเงิน กำหนดเทคนิคการวิเคราะห์และดัชนีชี้วัดที่ เหมาะสม คำนวณผลลัพธ์ของดัชนีชี้วัดต่างๆ ที่กำหนดไว้ ประเมินผลจากผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณโดย เปรียบเทียบกับหน่วยงานอื่นและงวดก่อน ๆ ของ หน่วยงานตัวเอง กำหนดมาตรการในการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ทางการเงินที่เกิดขึ้น สรุปผลจากการค้นหาข้อเท็จจริง

6 ประเภทอัตราส่วนทางการเงิน
1. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการ หากำไร 2. อัตราส่วนวิเคราะห์สภาพคล่อง 3. อัตราส่วนวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการ ดำเนินการ 4. อัตราส่วนวิเคราะห์ภาระหนี้สิน

7 1. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการ หากำไร
1. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการ หากำไร 1.1. กำไรขั้นต้นต่อขาย 1.2. กำไรสุทธิต่อขาย 1.3. กำไรสุทธิต่อสินทรัพย์รวม

8 2. อัตราส่วนวิเคราะห์สภาพคล่อง
2.1. อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) 2.2. อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) 2.3. อัตราส่วนเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ต่อ หนี้สินหมุนเวียน Cash Ratio

9 3. อัตราส่วนวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดำเนินการ
3.1. จำนวนวันหมุนเวียนลูกหนี้ค่ารักษาเบิกคลัง/ รัฐวิสาหกิจ 3.2. จำนวนวันหมุนเวียนลูกหนี้ประกันสังคม 3.3. จำนวนวันหมุนเวียนลูกหนี้พรบ ลูกหนี้สิทธิอื่น ๆ 3.5. อัตราการหมุนเวียนสินค้า 3.6. ระยะเวลาการเก็บหนี้

10 4. อัตราส่วนวิเคราะห์ภาระหนี้สิน
4.1. จำนวนวันชำระหนี้สินเจ้าหนี้-ยา 4.2. จำนวนวันชำระหนี้สินเจ้าหนี้-เวชภัณฑ์มิใช่ยา 4.3. จำนวนวันชำระหนี้สินเจ้าหนี้วัสดุการแพทย์ 4.4. จำนวนวันชำระหนี้สินเจ้าหนี้วัสดุวิทยาศาสตร์ การแพทย์ 4.5. จำนวนวันชำระหนี้สินเจ้าหนี้วัสดุทั่วไป

11 สภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity Ratio)
อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) อัตราส่วนทุนหมุนเร็ว (Quick ratio) อัตราส่วนเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ต่อ หนี้สินหมุนเวียน(Cash ratio) อัตราส่วนลูกหนี้ต่อสินทรัพย์หมุนเวียน(AR to Current Asset) เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ(Net Working Capital )

12 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio)
สูตรการคำนวณ สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน แปลผล การบอกความสามารถในการชำระหนี้สินหมุนเวียน ด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน

13 อัตราส่วนทุนหมุนเร็ว (Quick ratio)
สูตรการคำนวณ สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้าคงเหลือ หนี้สินหมุนเวียน แปลผล การบอกความสามารถในการชำระหนี้สิน หมุนเวียนด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนเร็ว

14 อัตราส่วนเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ต่อ หนี้สินหมุนเวียน(Cash ratio)
สูตรการคำนวณ เงินสด/เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ-ออมทรัพย์/ประจำ เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร หนี้สินหมุนเวียน แปลผล การบอกความสามารถในการชำระหนี้สินที่ต้องชำระเป็นตัวเงิน ด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

15 อัตราส่วนลูกหนี้ต่อสินทรัพย์หมุนเวียน (AR to Current Asset) (เท่า)
สูตรการคำนวณ รวมลูกหนี้ค่ารักษาฯ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน แปลผล บอกสัดส่วนลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลกับสินทรัพย์ หมุนเวียน

16 เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net Working Capital ) (บาท)
สูตรการคำนวณ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ลบ หนี้สินหมุนเวียน แปลผล บอกผลต่างระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนและ หนี้สินหมุนเวียน

17 เกณฑ์การพิจารณาวิกฤตทางการเงินของหน่วยบริการ 7 ระดับ
Current Ratio น้อยกว่า 1.50 เสีย 1 คะแนน Quick Ratio น้อยกว่า 1 เสีย 1 คะแนน Cash and Cash equivalence Ratio น้อยกว่า เสีย 1 คะแนน Net Working Capital เป็นลบ เสีย 1 คะแนน Net Income เป็นลบ เสีย 1 คะแนน NWC/ANI น้อยกว่า 3 เดือน เสีย 2 คะแนน NWC/ANI มากกว่า 3 เดือน เสีย 1 คะแนน

18 ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรและการบริหารจัดการ (Efficiency Ratios)

19 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้เบิกต้นสังกัด
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้เบิกต้นสังกัด เฉลี่ย รายได้เบิกต้นสังกัด แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิเบิกต้นสังกัด

20 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ประกันสังคมนอกเครือข่าย
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้ประกันสังคมนอกเครือข่าย เฉลี่ย รายได้ประกันสังคมนอกเครือข่าย แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิประกันสังคมนอก เครือข่าย

21 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ประกันสังคมต่างสังกัด สป
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้ประกันสังคมต่างสังกัด สป เฉลี่ย รายได้ประกันสังคมต่างสังกัด สป แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิประกันสังคมต่างสังกัด สป

22 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ประกันสังคม 72 ชั่วโมงแรก
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้ประกันสังคม 72 ชั่วโมงแรกเฉลี่ย รายได้ประกันสังคม 72 ชั่วโมงแรก แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิประกันสังคม 72 ชั่วโมง แรก

23 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ประกันสังคมกองทุนทดแทน
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้ประกันสังคมกองทุนทดแทน เฉลี่ย รายได้ประกันสังคมกองทุนทดแทน แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิประกันสังคมกองทุน ทดแทน

24 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ UC – OPD นอก CUPในจังหวัด
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้ UC – OPD นอก CUPในจังหวัดเฉลี่ย รายได้ UC – OPD นอก CUPในจังหวัด แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิ UC – OPD นอก CUPใน จังหวัด

25 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้เบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้เบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลางเฉลี่ย รายได้เบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิเบิกจ่ายตรง กรมบัญชีกลาง

26 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้สิทธิ พรบ.รถ
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ลูกหนี้สิทธิ พรบ.รถ เฉลี่ย รายได้เบิกสิทธิ พรบ.รถ แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการเรียกเก็บ เงินจากลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิเบิกสิทธิ พรบ.รถ

27 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุอื่น คงคลัง
สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุอื่น เฉลี่ย ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์ และการแพทย์ วัสดุอื่น ใช้ไป แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุ วิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุอื่นคงเหลือใน คลัง (เกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไม่ควรเกิน 90 วัน)

28 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้เจ้าหนี้ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุอื่น สูตรการคำนวณ จำนวนวัน x เจ้าหนี้ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุอื่น เฉลี่ย ยอดซื้อยารวม แปลผล การบอกความสามารถในการบริหารจัดการชำระหนี้ เจ้าหนี้ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุอื่น (เกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไม่ควรเกิน 90 วัน)

29 การวิเคราะห์สาเหตุของอัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง

30 สาเหตุที่อัตราส่วนทุนหมุนเวียนลดลง
1. สินทรัพย์หมุนเวียนลดลงสุทธิ หรือ 2. หนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้นสุทธิ 3. ข้อ 1 และ ข้อ 2

31 สินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้น/ลดลง
1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2. ลูกหนี้ต่าง ๆ 3. วัสดุคงเหลือ 4. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ๆ

32 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด(เพิ่มขึ้น)
1. รายได้สิทธิชำระเงิน/รายได้อื่น เพิ่มขึ้น 2. ลูกหนี้ลดลง แต่รายได้ไม่ลดลง 3. วัสดุลดลง 4. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นลดลง 5. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ลดลง 6. ระยะเวลาชำระเจ้าหนี้ต่าง ๆ เพิ่มขึ้น

33 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด(ลดลง)
1. รายได้สิทธิชำระเงิน/รายได้อื่น ลดลง 2. ลูกหนี้เพิ่มขึ้น 3. วัสดุเพิ่มขึ้น 4. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 5. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้น 6. ระยะเวลาชำระเจ้าหนี้ต่าง ๆ ลดลง

34 ลูกหนี้ (เพิ่มขึ้น) สาเหตุด้านบริหาร สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี
ระยะเวลาการเก็บหนี้นานขึ้น คุณภาพลูกหนี้ลดลง ลูกหนี้มีปัญหาด้านการเงิน สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี บันทึกบัญชีไม่เป็นไปตามนโยบายบัญชี ไม่ปรับปรุงบัญชีลูกหนี้กับรายได้รับล่วงหน้า ไม่บันทึกส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าฯ/ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญ บันทึกการรับชำระหนี้เป็นรายได้

35 ลูกหนี้ (ลดลง) สาเหตุด้านบริหาร สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี
เก็บหนี้ได้เร็วขึ้น รายได้ค่ารักษาที่เป็นเงินเชื่อลดลง สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี บันทึกบัญชีไม่เป็นไปตามนโยบายบัญชี บันทึกบัญชีการตัดชำระลูกหนี้ทั้งที่ไม่มีการบันทึกลูกหนี้ไว้

36 วัสดุ (เพิ่มขึ้น) สาเหตุด้านบริหาร สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี
ราคาเพิ่มขึ้น เสื่อมสภาพแต่ยังไม่ได้ตัดบัญชี สั่งซื้อมากเกินควรหรือได้รับโอนมาเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยลดลง สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี บันทึกบัญชีไม่เป็นไปตามนโยบายบัญชี ตรวจนับผิดพลาด คำนวณมูลค่าผิดพลาด เมื่อเบิกไปใช้แล้ว ไม่ได้โอนเป็นค่าใช้จ่าย

37 วัสดุ (ลดลง) สาเหตุด้านบริหาร สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี
สั่งซื้อลดลง หรือโอนไปให้ลูกข่าย ผู้ป่วยเพิ่มขึ้น เสื่อมสภาพ หรือสูญหาย และได้ตัดบัญชี สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี บันทึกบัญชีไม่เป็นไปตามนโยบายบัญชี ตรวจนับผิดพลาด คำนวณมูลค่าผิดพลาด

38 เจ้าหนี้การค้า (เพิ่มขึ้น)
สาเหตุด้านบริหาร ราคาซื้อเพิ่มขึ้น ซื้อเชื่อเพิ่มขึ้น จ่ายชำระหนี้ช้า สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี บันทึกบัญชีไม่เป็นไปตามนโยบายบัญชี ปรับปรุงบัญชีเจ้าหนี้เพิ่มกรณีบันทึกบัญชีผิดพลาด

39 เจ้าหนี้การค้า (ลดลง)
สาเหตุด้านบริหาร ซื้อเชื่อลดลง ชำระหนี้เร็วขึ้น สาเหตุด้านการบันทึกบัญชี บันทึกบัญชีไม่เป็นไปตามนโยบายบัญชี ปรับปรุงบัญชีกรณีมีการบันทึกบัญชีผิดพลาด

40

41

42 เครื่องมือด้านการเงินการคลัง
1. วิกฤติ 7 ระดับ (Riskscoring) 2. HGR 3. Planfin 4. Unit Cost (Quick Method) 5. Unit Cost (Modified Full Cost) 6. FAI 7. MOC

43 1. วิกฤติ 7 ระดับ (Riskscoring)
1. อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) 2. อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) 3. อัตราส่วนเงินสดและรายการเทียบเท่าเงิน สด ต่อ หนี้สินหมุนเวียน Cash Ratio 4. ทุนสำรองสุทธิ (Net Working Capital) 5. รายได้สูงกว่า(ต่ำกว่า) ค่าใช้จ่ายสุทธิ (Net Income)

44 2. Hospital Group Ratio การประเมินประสิทธิภาพทางการบริหาร การเงินเปรียบเทียบกับ รพ.ระดับเดียวกัน Benchmarking วิธีการ จัดกลุ่ม รพ. ตามขนาดเตียง/จำนวนประชากร นำงบการเงินของหน่วยบริการที่มีกำไรมาหาค่า กลาง ค่ากลางรายได้ ค่ากลางค่าใช้จ่าย ค่ากลางสินทรัพย์ ค่ากลางหนี้สิน นำงบการเงินของ รพ.ตัวเอง ไปเปรียบเทียบกับค่า กลางเพื่อเทียบประสิทธิภาพการบริหาร

45 3. Planfin การจัดทำแผนการประมาณการรายได้- ค่าใช้จ่ายประจำปี
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้หน่วยบริการได้มีการวางแผน ทางการเงินและใช้แผนเพื่อการบริหารงาน ควบคุมกำกับ และติดตามการดำเนินงาน 2. เพื่อนำไปติดตามสถานะการเงิน และ กำหนดนโยบายการเงินการคลัง 3. เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานราย ไตรมาส

46 4. Quick Method เป็นการประมาณการต้นทุนแบบง่าย โดยใช้สมมติฐานว่าต้นทุนคิดเป็น สัดส่วนคงที่ เมื่อเปรียบเทียบกับราคาที่เรียกเก็บ (Cost to Charge ratio) โดยไม่คำนึงถึงว่าเป็นการให้บริการประเภทใด หรือกองทุนใด หลักการคิดต้นทุน ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในแบบ Quick Method 1. คำนวณ สัดส่วนต้นทุน กับ รายได้ * รายได้ (Charge) คือรายได้จาการให้บริการ(หมวด 4) * ต้นทุน (Cost) คือหมวดค่าใช้จ่าย (หมวด 5) เนื่องจากค่าใช้จ่ายในหมวด 5 ไม่สามารถแยกได้ว่าเป็น OPD หรือ IPD จึงให้นำสัดส่วนของรายได้ในหมวด 4 ไปเป็นเกณฑ์การแบ่ง 2. เมื่อได้ค่าใช้จ่ายแล้ว ให้นำไปคิดต้นทุนโดย ต้นทุน OPD = ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก จำนวน Visit ต้นทุน IPD = ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน Sum AdjRw

47 4. Quick Method รายได้ หรือ ราคา Charge (หมวด 4) มาจากรายได้ จากการให้บริการทุกสิทธิ ทั้ง OPD & IPD (ไม่รวม ส่วนต่างรายได้จากงบประมาณทุกประเภท รายได้ ระหว่างกัน รายได้บริจาค รายได้ที่ไม่เกี่ยวกับการ ให้บริการ ค่าใช้จ่ายหมวด 5 มาจากค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าแรง (LC) งบดำเนินงาน (MC) และงบลงทุน ค่าเสื่อม ราคา ค่าตัดจำหน่าย (CC) (ไม่รวมหนี้สูญ หนี้สงสัย จะสูญ

48 4. Quick Method ตัวอย่างการคำนวณหาต้นทุน OPD & IPD
รวมรายได้ (หมวด4) ,200,000 บาท ค่าใช้จ่าย ค่าแรง LC = 375,000 บาท ค่าใช้จ่าย ดำเนินงานMC = 305,000 บาท ค่าใช้จ่าย ลงทุน CC = 205,000 บาท รวมค่าใช้จ่าย (หมวด 5) ,000 บาท ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก = 3/12 x 885,000 = 221,250 บาท ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน = 9/12 x 885,000 = 663,750 บาท

49 4. Quick Method รพ.มีการให้บริการ OPD จำนวน 312 ครั้ง
การให้บริการ IPD จำนวน Sum AdjRW 43.88 ต้นทุนการให้บริการ OPD = 212,550/312 ต้นทุน OPD บาท ต้นทุนการให้บริการ IPD = 663,750/43.88 ต้นทุน IPD , บาท

50 5. Modified Full Cost คือการจัดทำบัญชีต้นทุนสถานบริการอย่างละเอียด โดยใช้ข้อมูลค่าใช้จ่ายจากบัญชีเกณฑ์คงค้าง กำหนดเกณฑ์การกระจายไปยังศูนย์ต้นทุนตาม โครงสร้างหน่วยงาน ใช้โปรแกรมต้นทุนมาตรฐานของกระทรวง สาธารณสุขที่พัฒนาโดยกลุ่มประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับทีมวิชาการจากพื้นที่

51 5. Modified Full Cost ผลที่ได้ 1. ต้นทุนผู้ป่วยนอก / ใน แยกตามสิทธิ
2. กำไร-ขาดทุนจากการให้บริการแต่ละสิทธิ 3. ต้นทุนจากการให้บริการตามประเภทหรือ แผนก 4. กำไร-ขาดทุนจากการให้บริการตามประเภท หรือแผนก 5. หาค่ากลางเปรียบเทียบต้นทุนการให้บริการ แต่ละกลุ่มระดับบริการ

52 6. FAI เกณฑ์ประเมินการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Administration Index : FAI) หมายถึง เกณฑ์ที่สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขใช้ เป็นเครื่องมือประเมินคุณภาพการบริหารจัดการ การเงินการคลังโรงพยาบาลในสังกัด มีกรอบการ ประเมินผลการดำเนินงาน 4 กิจกรรมได้แก่ 1. การพัฒนาระบบการควบคุมภายใน 2. การพัฒนาคุณภาพทางบัญชี 3. ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง 4. การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ

53 7. MOC ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำในการดำเนินงานรวม (Total Minimum Operation Cost; Total MOC) หมายถึง ค่าใช้จ่ายขั้น ต่ำสุดที่สามารถดำเนินงานได้แยกรายหน่วยบริการ ประกอบด้วย หมวดค่าแรง (labour cost) ได้แก่ค่าจ้างชั่วคราว ค่าจ้าง พนักงานกระทรวง บุคลากร ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่าย บุคลากรอื่น ไม่รวมที่จ่ายจากเงินงบประมาณ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนยา, เวชภัณฑ์มิใช่ยา, Lab, ค่าใช้สอย, ค่าสาธารณูปโภค, วัสดุใช้ไป, ค่าจ้าง ตรวจทางห้องปฏิบัติการ, ค่าใช้จ่ายโครงการ, ค่าใช้จ่าย PP ไม่รวมค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจำหน่าย หนี้สูญทุกประเภท


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์งบการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google