แนวทางการดำเนินงาน โครงการตามพระราชดำริฯ ปี 2560 นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กลุ่มงานโครงการตามพระราชดำริฯ โรคหนอนพยาธิ โรคในถิ่นทุรกันดาร
เด็กและเยาวชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา แนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร แนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เด็กและเยาวชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โดยใช้การศึกษาเป็นหลักในการทำงานพัฒนา เป็นการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนอย่างสมดุลกัน ด้านพุทธิศึกษา ด้านจริยศึกษา ด้านหัตถศึกษาและด้านพลศึกษา
โครงการตามพระราชดำริ ควบคุมโรคหนอนพยาธิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป้าหมาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริให้ดำเนินการควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชน โดยกำหนดพื้นที่ในการพัฒนา ๒ แผนการพัฒนา ได้แก่ 1.พื้นที่แผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่น มีพื้นที่ดำเนินการ 55 จังหวัด ทั่วประเทศ จำนวน 844 โรงเรียน กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนและเยาวชน 2.พื้นที่ในแผนภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนและ ประชาชน จำนวน 61 ชุมชน ปัจจุบันเป็นแผนฉบับที่ ๔ เป็นแผนระยะยาว ๑o ปี (ปี ๒๕๕o ถึงปี ๒๕๕๙) ความสำเร็จ การพัฒนาเด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร และพื้นที่ภูฟ้าพัฒนาให้ มีโอกาสที่ดีขึ้น มีสุขภาพแข็งแรงสามารถดูแลตนเองได้อย่างสมดุลทั้งร่างกายและ จิตใจ (ลดอัตราการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิในนักเรียนพื้นที่โครงการ พระราชดำริฯในภาพรวมทั้งประเทศ ให้อยู่ในระดับต่ำกว่าร้อยละ 10)
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ตรวจคัดกรองอุจจาระในนักเรียน จำนวนที่ตรวจคัดกรอง 85,713 ราย จำแนกตามสังกัด ปี 2559 อัตราการตรวจพบ (%) พ.ศ. 26.8 19.3 25.0 23.1 19.5 15.3 14.9 14.0 15.8 15.4 10.4 13.4 6.7 สถานการณ์โรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนและเยาวชน ปี 2545 - 2559 45.7 10.5 10.1 5.4 4.6 9.4 6.6 7.2 0.8 2.3 เชียงใหม่ 36.2% : ไส้เดือน 25.9% จำแนกตามชนิดของหนอนพยาธิ ปี 2559 5.8 ตาก 23.0 % : ไส้เดือน 17.1 % 2.0 0.9 0.4 0.1 0.1 0.2 0.03 0.01 นราธิวาส 9.8% : ไส้เดือน 4.9% แส้ม้า 3.3%
มาตรการดำเนินงาน กิจกรรม ไตรมาศที่ 1 ไตรมาศที่ 2 ไตรมาศที่ 3 ไตรมาศที่ 4 1. การสนับสนุนอุปกรณ์วิทยาศสาตร์ สนับสนุนยาและสื่อความรู้ 2.การค้นหาผู้ติดโรคหนอนพยาธิโดยการคัดกรองอุจจาระในนักเรียน 3. การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียน 4. การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5. การรายงานผล
แนวทางการตรวจค้นหาโรคหนอนพยาธิ แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 การดำเนินงานในปีงบประมาณ 2560 แบ่งพื้นที่เป็น 3 โซน คือพื้นที่ สีแดง สีเหลือง และ สีเขียว และมีการดำเนินการดังนี้ แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 พื้นที่สีเขียว (ความชุก ≤ ร้อยละ 5) (ระดับ A) พื้นที่สีเหลือง (ความชุก ร้อยละ 5 -10) (ระดับ B) พื้นที่สีแดง (ความชุก มากกว่า ร้อยละ 10) (ระดับ C) 1. ตรวจคัดกรองพยาธิด้วยวิธีการตรวจอุจจาระ 3 ปี ต่อ 1 ครั้ง ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายนักเรียนทุกคน (ในทุกปีจะมีการสุ่มตรวจคัดกรองนักเรียน จำนวน ร้อยละ 20) 2. ให้ยาแบบ Mass Treatment 3. ให้สุขศึกษา 4. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3 ปี ต่อ 1 ครั้ง 1. ตรวจคัดกรองพยาธิด้วยวิธีการตรวจอุจจาระ 2 ปี ต่อ 1 ครั้ง ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายนักเรียนทุกคน (ในทุกปีจะมีการสุ่มตรวจคัดกรองนักเรียน จำนวน ร้อยละ 20) 4. การให้ความรู้กับผู้ปกครอง 5. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 2 ปี ต่อ 1 ครั้ง 1. ตรวจคัดกรองพยาธิด้วยวิธีการตรวจอุจจาระทุกปี ปีละ 1 ครั้ง ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายนักเรียนทุกคน 4. การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน 5. การให้ความรู้กับผู้ปกครอง 6. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพทุกปี ที่มา : จากการวิเคราะห์สถานการณ์โรคหนอนพยาธิย้อนหลัง 5 ปี
อัตราการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิ ปี 2558 ปี 2559 อัตราชุก > ร้อยละ 10 อัตราชุกร้อยละ 5-10 อัตราชุก≤ ร้อยละ 5 ไม่ส่งรายงาน ไม่ใช่พื้นที่ดำเนินการ
การรายงานผล ช่วงเดือน หน่วยงาน ธ.ค. – ก.พ. รพ.สต. มี.ค. สสอ. เม.ย. สสจ. มี.ค.- พ.ค. สคร. มิ.ย. – ก.ค สรต. หน่วยงานรวบรวม เอกสาร หมายเหตุ สสอ. พย. 2 สสจ. พย. 3 File รายงานผล Exel สคร. สรต สสท. รพ.สต. (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล) สสอ. (สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ) สสจ. (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) สคร. (สำนักงานป้องกันควบคุมโรค) สรต. (สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค) สสท. (สำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 รร. แผนการดำเนินงาน ปี 2560 พื้นที่เป้าหมาย 55 จังหวัด 844 โรงเรียน ภาคอีสาน 16 จ.ภาคเหนือ 9 จ. ภาคตะวันออก 4 จ. ภาคกลาง 7 จ. ภาคใต้ 14 จ. ภาคตะวันตก 5 จ. โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 รร. 1.ตรวจคัดกรองอุจจาระในนักเรียน : จำนวน 844 โรงเรียน โดย ปี 2560 มีการเพิ่มการดำเนินการตรวจค้นหาโรคหนอนพยาธิในโรงเรียนพื้นที่กรุงเทพมหานคร 25 แห่ง 2.การสนับสนุนอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ : สนับสนุนยารักษาหนอนพยาธิ ชุดตรวจอุจจาระและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ รวมถึงสื่อการเรียนการสอน 3.การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ : ติดตามการดำเนินการ 2 พื้นที่ 1.ชุมชนที่ตั้งศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง บ้านทีซะหน่อ หมู่ 7 ต.แม่วะหลวง อ.ท่าสองยาง จ.ตาก 2.ชุมชนที่ตั้งศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง บ้านห้วยแห้ง หมู่ 9 ต.ขะเนจื้อ อ.แม่ระมาด จ.ตาก 4. การนิเทศติดตามและประเมินผล ลดอัตราการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิในนักเรียนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
เป้าหมายการลดโรคของแผนงาน ปี 2560 กลุ่มตัวอย่าง/ประชากร การประเมินผล ปี 2560 เป้าหมายการลดโรคของแผนงาน ปี 2560 ลดอัตราการติดเชื้อโรคหนอนพยาธิในนักเรียนพื้นที่โครงการพระราชดำริฯให้อยู่ในระดับต่ำกว่าร้อยละ 10 ตัวชี้วัด กลุ่มตัวอย่าง/ประชากร เครื่องมือ/วิธีการ อัตราชุกโรคหนอนพยาธิในนักเรียน และประชาชน นักเรียน 844 โรงเรียน ในโครงการ พระราชดำริฯ/ปชช.พื้นที่ภูฟ้าพัฒนาฯ รายงานผลการตรวจ (พย.3)/ สำรวจ/secondary data collection พฤติกรรมสุขภาพนักเรียน พระราชดำริฯ แบบประเมินพฤติกรรม สุขภาพ/สำรวจ โรงเรียนและชุมชนควบคุมโรค 2 โรงเรียน/ประชาชน,ครู,stake holder แบบสัมภาษณ์/สัมภาษณ์, การสังเกตการณ์/ถอดบทเรียน
ปัญหาและอุปสรรคในปีที่ผ่านมา ส่วนกลาง 1. ไม่สามารถรายงานผลการดำเนินงานที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเสนอให้กับสำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพฯ ได้ทันกำหนดเวลา 2. ความล่าช้าในการสนับสนุนวัสดุวิทยาศาสตร์ เวชภัณฑ์ยา ภูมิภาค 1. ด้านทรัพยากร (ขาดกล้องจุลทรรศน์ ขาดงบประมาณในการดำเนินการ และขาดบุคลากร) 2. การประสานงานกับสถานศึกษา (การคมนาคมเข้าถึงสถานศึกษายากลำบาก) 3. ความร่วมมือในการส่งตัวอย่างตรวจ
แนวทางในการแก้ปัญหา ส่วนกลาง ภูมิภาค 1. กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป อยู่ระหว่างการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับการสนับสนุนกล้องจุลทรรศน์ 2. ดำเนินการตั้งของบประมาณเพื่อขอรับการสนับสนุนค่าดำเนินการ 3. การปรับรูปแบบการรายงานผลการดำเนินงาน ผ่านหน่วยงานระดับเขต (สคร.) ภูมิภาค 1. ด้านงบประมาณ สามารถตั้งแผนงบประมาณโดยใช้งบประมาณกองทุน สุขภาพตำบลหรืองบ PP area based 2. การดำเนินการเป็นทีมหรือเครือข่าย เพื่อลดภาระการดำเนินงาน
ขอบคุณค่ะ/ครับ
โรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริฯ นักเรียน และเยาวชนในพื้นที่โครงการตามพระราชดำริฯ จำนวน 844 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนในสังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) 207 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) 208 โรงเรียน ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง สังกัดสำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ศศช.) 280 โรงเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 69 โรงเรียน โรเงรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในสังกัดสำนังานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 16 โรงเรียน ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาเด็กวัยเตาะแตะ ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 39 โรงเรียน โรงเรียนในสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร 25 โรงเรียน ประชาชนในพื้นที่โครงการภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน จำนวน 61 ชุมชน (62 โรงเรียน)